[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

แครอท ใบไหม้ ใบจุด เน่าเละ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในแครอท ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวย ปุ่ย ศัตรูพืช
แครอท ใบไหม้ ใบจุด เน่าเละ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในแครอท ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวย ปุ่ย ศัตรูพืช
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคต้นและใบไหม้แห้งที่เกิดจากเชื้อรา (fungal blight of carrot)
เชื้อราที่ก่อให้เกิดอาการต้นใบไหม้กับแครรอท ตามรายงานมีอยู่ด้วยกันหลายตัวทั้ง Cercosi Alternaria Phomopsis และ Scptoria โดยแต่ละชนิดจะเข้าทำลายและก่อให้เกิดอาการส่วนใหญ่โดยทั่วไปคล้ายๆ กันจะมีผิดกันก็เพียงข้อปลีกย่อยที่แตกต่างออกไปเท่านั้น

โรคต้นใบไหม้แห้งที่เกิดจาก Cercospora (Cercospora blight)
Cercospora ที่เป็นสาเหตุโรคต้นใบไหม้แห้งของแครอทคือ Cercospora carotae เชื้อนี้จะเข้าทำลายและก่อให้เกิดอาการกับต้นแครอทได้ทุกส่วนที่อยู่เหนือดินไม่ว่าจะเป็น ต้น กิ่ง ใบ ก้านใบ และดอก บนใบ แผลจะมีลักษณะค่อนข้างกลม สีนํ้าตาลเทา หรือดำ เมื่อเป็นมากๆ เนื้อใบจะถูกทำลายทำให้เกิดอาการเหี่ยวแห้งกลายเป็นสีดำทั้งใบ บนกิ่งก้านและก้านใบแผลจะมีลักษณะยาวรี ขอบสีเข้ม ตอนกลางซีดจาง สำหรับดอกหากถูกเชื้อเข้าทำลายในระยะที่ดอกยังอ่อนจะแห้งตายทั้งดอก ถ้าเป็นดอกที่ผสมติดฝักแล้ว เชื้อราก็จะเข้าทำลายฝักต่อไปแต่จะไม่ทำอันตรายเมล็ดที่มี ภายในฝักนั้นแต่อย่างไร เพียงแต่เส้นใยจะไปอาศัยเกาะพักตัวอยู่ตามเปลือกและผิวของเมล็ดดังกล่าวเพื่อข้ามฤดู และใช้เมล็ดนั้นเป็น seed-borne ต่อไป


ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..ด้เช่นกัน
ผักชีใบไหม้ ใบเหลือง ใบจุด กำจัดโรคผักชี จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ผักชีใบไหม้ ใบเหลือง ใบจุด กำจัดโรคผักชี จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคผักชี ผักชีใบเหลือง เชื้อราในผักชี ใบจุด ผักชีใบไหม้ โรคใบเน่าผักชี โรคผักชี ต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ฟางข้าว และตอซัง คือทองคำในผืนนา ไถกลบ ย่อยตอฟาง เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
ฟางข้าว และตอซัง คือทองคำในผืนนา ไถกลบ ย่อยตอฟาง เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
เมื่อเกี่ยวข้าวเสร็จก็ทำการไถกลบฟางข้าว และตอซัง โดยไม่เผา เพราะการเผาฟาง คือการเผาทองคำในดิน เนื่องจากเมื่อเผาฟางอินทรียวัตถุ และปุ๋ยก็ถูกเผาไปด้วย แถมจุลลินทรีย์ แมลง และไส้เดือน ที่เป็นประโยชน์ก็จะตายไป

ไถกลบตอฟาง และฉีดพ่นด้วย ไอซี คิท ชุดย่อยสลายตอซัง ฟางข้าว

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..
🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
โรค แครอทใบไหม้
โรค แครอทใบไหม้
โรคต้นใบไหม้แห้ง ในแครอท เชื้อราสาเหตุ Cercospora (Cercospora blight)_ Alternaria (Alternaria blight)

Cercospora ที่เป็นสาเหตุโรคต้นใบไหม้แห้งของแครอทคือ Cercospora carotae เชื้อนี้จะเข้าทำลายและก่อให้เกิดอาการกับต้นแครอทได้ทุกส่วนที่อยู่เหนือดินไม่ว่าจะเป็น ต้น กิ่ง ใบ ก้านใบ และดอก บนใบ แผลจะมีลักษณะค่อนข้างกลม สีนํ้าตาลเทา หรือดำ เมื่อเป็นมากๆ เนื้อใบจะถูกทำลายทำให้เกิดอาการเหี่ยวแห้งกลายเป็นสีดำทั้งใบ บนกิ่งก้านและก้านใบแผลจะมีลักษณะยาวรี ขอบสีเข้ม ตอนกลางซีดจาง สำหรับดอกหากถูกเชื้อเข้าทำลายในระยะที่ดอกยังอ่อนจะแห้งตายทั้งดอก ถ้าเป็นดอกที่ผสมติดฝักแล้ว เชื้อราก็จะเข้าทำลายฝักต่อไปแต่จะไม่ทำอันตรายเมล็ดที่มี ภายในฝักนั้นแต่อย่างไร เพียงแต่เส้นใยจะไปอาศัยเกาะพักตัวอยู่ตามเปลือกและผิวของเมล็ดดังกล่าวเพื่อข้ามฤดู และใช้เมล็ดนั้นเป็น seed-borne ต่อไป

Alternaria เป็นราอีกชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคต้นและใบไหม้แห้งกับพืชผักต่างๆ ได้แพร่หลาย เช่น เดียวกับเชื้อ Cercospora ชนิดที่ทำลายแครอทนั้น ได้แก่ Alternaria dauci

การแพร่ระบาด

การแพร่ระบาดที่จัดว่าสำคัญและดีที่สุดของโรคนี้ เกิดจากเชื้อที่ติดอยู่กับเมล็ดในลักษณะของ seed-borne ดังกล่าวแล้ว ส่วนราพวกที่เกาะกินอยู่บนต้นพืชเมื่อพืชตายก็จะติดอยู่กับเศษซากที่เป็นโรคและถูกปล่อยทิ้งอยู่ตามดินแปลงปลูก พวกนี้ต่อมาจะรวมตัวกันสร้าง stroma เกิดเป็นจุดสีดำเล็กๆ ขึ้นตามบริเวณแผลที่เป็นอยู่เดิม บน stroma นี้ ก็จะเป็นที่เกิดของสปอร์หรือโคนีเดียอีกทีหนึ่ง สปอร์พวกนี้ทำหน้าที่แพร่ระบาดก่อให้เกิดโรคกับพืชในฤดูปลูกต่อไป โดยปลิวไปตามลม นํ้า หรือติดไปกับสิ่งที่เคลื่อนไหวได้ต่างๆ ที่ไปถูกต้องสัมผัสเข้า เมื่อตกลงบนพืช และสิ่งแวดล้อมเหมาะสม เช่น ได้รับความชื้นพอเพียงอากาศอบอุ่น (19- 28∘ซ.) ก็จะงอกเจริญเติบโตเป็นเส้นใยจากนั้นก็จะเข้าไปใน โดยผ่านทางช่อง stomata ก่อให้เกิดโรคและสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาดต่อไปได้อีกภายใน 2-3 วัน ใบอ่อนของแครอทจะถูกเชื้อทำลายและเสียหายได้ง่ายกว่าใบแก่

การป้องกันกำจัด

1. หลีกเลี่ยงการปลูกแครอทซํ้าลงในดินหรือแปลงที่เคยเกิดโรคมาก่อนหรือปลูกพืชอย่างอื่นสลับเป็นเวลาอย่างน้อย 3 ปี

2. เลือกใช้เมล็ดพันธุ์ที่สะอาดปราศจากเชื้อ หากไม่แน่ใจควรนำเมล็ดมาแช่ในน้ำอุ่น 50°ซ. นาน 15-20 นาที หรือแช่เมล็ดด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตรส่วน 20ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

3. เมื่อเกิดโรคขึ้นกับแครอทในแปลงปลูกให้ทำการ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

4. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3339
ผู้ใหญ่ลี ตีกลองประชุม!! เป็นเพลงที่แต่งจากเรื่องจริง และมีภาพถ่ายผู้ใหญ่ลี ตัวเป็นๆให้ได้ดูกัน
ผู้ใหญ่ลี ตีกลองประชุม!! เป็นเพลงที่แต่งจากเรื่องจริง และมีภาพถ่ายผู้ใหญ่ลี ตัวเป็นๆให้ได้ดูกัน
โฉมหน้า ผู้ใหญ่ลี ตีกลองประชุม!!

มีความสงสัยมาตั้งนานปีแล้วว่า ตัวตนผู้ใหญ่ลี ในเพลงผู้ใหญ่ลีนี่มีตัวตนจริงหรือไม่

ที่สุดวันนี้ก็ได้ภาพมาเฉลยให้กระจ่างใจตน

อาจจะเป็นที่มาแห่งเพลงผู้ใหญ่ลี ที่ร้องกันทั่วบ้าน ทั่วเมือง ร้องกันรุ่นปู่ รุ่นย่า ยันรุ่นปัจจุบัน

ในภาพคือ ผู้ใหญ่ลี นาคะเดช

อดีตผู้ใหญ่บ้านแห่งบ้านหนองหมาว้อ ตำบลนาจิก อำเภออำนาจเจริญ อุบลราชธานี ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้ทำให้เกิดตำนานเพลงอันโด่งดังในอดีต

"ผู้ใหญ่ลี"

เพลงนี้โด่งดังมากๆเมื่อสัก 50 ปีก่อน คือ ปี 2504 เพราะเป็นเพลงลูกทุ่งที่ร้องกันไปทั่วบ้านทั่วเมือง ลูกเล็กเด็กแดง ร้องกันเป็นหมด ด้วยจังหวะเพลงที่จัดว่าสนุกในสมัยนั้น และยังมีเนื้อหาที่เสียดสีสังคมไปในทางขบขันสะท้อนให้เห็นทั้งการสื่อสารระหว่างทางการกับประชาชน เพราะแม้กระทั่งตัวผู้ใหญ่ลีที่เป็นหัวหน้าชุมชน ในระดับตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ยังมีปัญหาในการจับประเด็นเรื่องราวมาถ่ายทอดให้ชาวบ้านฟัง ในยุคที่ มีการประกาศใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับแรกคือ ปี พ.ศ. 2503ในยุคของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เพื่อนำพาให้บ้านเมืองไปสู่ความสมัยใหม่ตามแบบประเทศพัฒนาฝั่งตะวันตก
ในเนื้อหาของเพลงบางวรรค

"แดดฮ้อนฮ้อนใส่แว่นตาดำ... ถอดแว่นตาดำ ฟ้าแจ้งจางปางๆ..."
(แกคงใส่ในที่ร่มแล้ว มันมืดมัวซัวไปหมด)...

กัดหยิกเจ็บนิดๆไปถึงการแต่งตัวผู้ใหญ่ลีที่นำสมัย
ผิดแผลกแตกต่างไปจากยุคนั้น เพราะแว่นตาดำหรือแว่นกันแดดคงเป็นสิ่งโก้หรูมิน้อย

เนื้อเพลงเต็มไปด้วยความสนุกของภาษาถิ่นอีสานอย่างมีอารมณ์ขัน

เพลงนี้ต้นฉบับขับร้องโดย ศักดิ์ศรี ศรีอักษร บันทึกเสียงครั้งแรกในปี 2507
ในส่วนของเนื้อเพลงก็แต่งโดยสามีของนางเอง ชื่อ พิพัฒน์ บริบูรณ์
ซึ่งเนื้อหาของเพลงได้ถูดดัดแปลงมาจาก รำโทน เรื่องราวของชายชาวอีสานชื่อผู้ใหญ่ลี มีตำแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านนั่นเอง

แหล่งที่มาของข้อมูล
ได้มาจากการส่งต่อๆกันทางไลน์ จึงไม่ทราบต้นทางของผู้เรียบเรียง
อ่าน:3339
มันหวานญี่ปุ่น ใบจุด หัวเน่า กำจัดโรคมันหวานญี่ปุ่น จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
มันหวานญี่ปุ่น ใบจุด หัวเน่า กำจัดโรคมันหวานญี่ปุ่น จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคใบจุด เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อรา โรคใบจุดมันหวานญี่ปุ่น ลักษณะอาการ เริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีน้ำตาลแก่ขนาดเล็ก แล้วแผลนี้จะค่อยๆลุกลามขยายใหญ่ออก เมื่อโรครุนแรงมากขึ้น แผลจะชนกันมองดูคล้ายๆกับอาการใบไหม้ แต่ลักษณะใบไหม้ของโรคนี้ เป็นลักษณะของการใบไหม้แบบแห้งกรอบ โรคนี้มักระบาดในสภาพที่มีความชื้นสูง และอากาศไม่เย็นนัก

โรครากเน่าโคนเน่า โรคเชือราเมล็ดผักกาด และโรคหัวมันเน่า สาเหตุ เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โรคหัวมันหวานญี่ปุ่นเน่า ที่เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายทางบาดแผล บาดแผลจะมีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงดำ เมื่อผิวแก่จะแข็งกระด้าง

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
สาเหตุของ โรคราแป้งทุเรียน โรคราแป้งที่เกิดกับทุเรียนนั้น มีสาเหตุมาจาก เชื้อราออยเดียม (Oidium sp.)

ลักษณะอาการของ โรคราแป้งทุเรียน

พบกลุ่มของเชื้อราสีขาวมีลักษณะคล้ายฝุ่นแป้งปกคลุมผิวเปลือกทุเรียน เชื้อสามารถเข้าทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่จำหน่ายได้ ซึ่งการเข้าทำลายของเชื้อในระยะติดผลใหม่ๆก็อาจจะทำให้ผลอ่อนนั้นร่วงหล่นได้ หรือถ้าเป็นกับผลที่กำลังเจริญเติบโตก็จะทำให้สีผิวของทุเรียนผิดปกติไม่เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำให้ราคาผลผลิตตกต่ำลงการแพร่ระบาด เชื้อราแพร่ระบาดทางลมในระยะที่อากาศเย็นและแห้งแล้ง

การป้องกันกำจัด โรคราแป้งทุเรียน

- ในแหล่งปลูกที่สภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการระบาดของโรค เกษตรกรควรตรวจตราผลทุเรียนในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ

- ฉีดพ่นสารอินทรีย์ ไอเอส สำหรับป้องกันกำจัด โรคราแป้ง ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ให้ทั่วบริเวณ ระดับป้องกัน เดือนละครั้ง ระดับการรักษา ทุก 3-7 วัน

- บำรุงต้นทุเรียน ให้เติบโต สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ ด้วยการฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ครบถ้วนตามที่ต้นทุเรียนต้องการ

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน นำไปประกอบอาหาร ต้ม ทอด ตำน้ำพริก การศึกษา พบว่า จากการบริโภคหนอนรถด่วนนี้จะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนจำพวกกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย 8 ชนิด

อันดับ Lepidoptera
วงศ์ Pylalidae
ชื่อวิทยาศาสตร์ Omphisa fuscidentalis
โดย วรวุฒิ วรคุตตานนท์

หนอนรถด่วน หรือ Bamboo Caterpillar เป็นหนอนของผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่ง ซึ่งตัวหนอนกินเยื่อไผ่เป็นอาหาร ชาวจีนฮ่อเรียก จูซุง คนพม่าเรียก ลาโป้ว และชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า คลีเคล๊ะ ส่วนคนไทยเรียกว่าหนอนรถด่วน เพราะ ตัวหนอนมีรูปร่างลักษณะคล้ายโบกี้รถไฟนั่นเอง หนอนรถด่วนเป็นหนอนผีเสื้อที่มีวงจรชีวิตที่ยาวนานถึงหนึ่งปีเต็ม เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ผีเสื้อจะจับคู่ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูฝนจากนั้นเพศเมียก็จะวางไข่บนหน่อไม้เมื่อตัวอ่อนฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปอยู่ในหน่อไม้เพื่อกินเยื่อไผ่เป็นอาหารหนอนจะผ่านการลอกคราบถึง 5 ครั้งใช้เวลา ถึง 10 เดือน จากนั้นจะเข้าสู้ระยะดักแด้เพื่อเปลี่ยนสรีระร่างกายประมาณ 40 – 60 วัน และลอกคราบออกเป็นตัวเต็มวัยในที่สุด ผีเสื้อมีอายุ 1 – 2 สัปดาห์ ไผ่ที่พบหนอนรถด่วน ได้แก่ ไผ่ซาง ไผ่หก ไผ่บง ไผ่ไร่รอ และไผ่สีสุก พบที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 430 – 1300 เมตร ชาวไทยภาคเหนือนิยมบริโภคหนอนรถด่วนมายาวนาน วิธีนำไปประกอบอาหารได้แก่ ต้ม ทอด ตำน้ำพริก การศึกษา พบว่า จากการบริโภคหนอนรถด่วนนี้จะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนจำพวกกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย 8 ชนิด และที่ไม่จำเป็นต่อร่างกายอีก 9 ชนิด ดังนี้

ประเภทกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายเมื่อเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ตามน้ำหนัก ได้แก่ ทรีโอนีน 1.15% ซีสตีน 0.28% วาลีน 1.60% เมธิโอนีน 0.66%ไอโซลิวซีน 0.94% ลิวซีน 2.05% เฟนิวอะลานีน 0.63% และไลซีน 1.66%

ประเภทกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็นต่อร่างกาย ได้แก่ ทรีโอนีน 1.15% เซรีน 1.84% กลูตามิก 2.96% โปรลีน 1.46% ไกลซีน 1.01% อะลานีน 1.24% และอาร์จีนีน 1.22%

การสังเกตต้นไผ่ที่มีหนอนรถด่วนตามภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยดูว่า ต้นไผ่ต้นใดมีขนาดปล้องค่อนข้างสั้น และหากสังเกต จะพบรูเล็กๆ ที่โคนของไผ่ประมาณปล้องที่ หนึ่งหรือ ปล้องที่สอง ซึ่งเป็นรูที่ตัวเต็มวัยจะออกมาเมื่อกลายเป็นผีเสื้อ จึงมั่นใจได้ว่าไผ่ลำนี้มีหนอนรถด่วนอยู่แน่นอน

หนอนรถด่วนยังเป็นแมลงเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับชาวชนบท ทั้งนี้เพราะตัวหนอนสดมีราคาขายส่งกิโลกรัมละ 100 – 250 บาท ทำให้ชาวบ้านมีรายได้มากถึง 500 – 1000 บาทต่อวัน สำหรับพ่อค้าแมลงทอด จะขายหนอนรถด่วนราคากก.ละ1200 – 1500 บาททีเดียว

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราแป้งในถั่วลันเตา
โรคราแป้งในถั่วลันเตา
กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลันเตาให้เฝ้าสังเกตการระบาดของโรคราแป้ง สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต

ระยะนี้จะมีอากาศเย็น และมีน้ำค้างในตอนเช้า กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลันเตาให้เฝ้าสังเกตการระบาดของโรคราแป้ง สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของถั่วลันเตา มักพบอาการของโรคได้กับทุกส่วนของพืช อาการเริ่มแรกจะพบที่ใบล่างติดโคนต้นก่อน โดยมีลักษณะคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดกระจายเป็นหย่อมๆ ทั้งบนใบและใต้ใบ หากอาการรุนแรง จะเห็นต้นถั่วลันเตาขาวโพลนทั้งต้น ทำให้ใบและส่วนต่างๆ บิดเบี้ยวเสียรูปทรง ใบจะเหลือง ไหม้ และร่วงก่อนกำหนด กรณีเกิดโรคในระยะออกดอก จะทำให้ต้นแคระแกร็น ติดฝักน้อย ฝักบิดเบี้ยว หรือฝักและเมล็ดลีบเล็กลง

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูก กำจัดวัชพืชในแปลงปลูก และบริเวณใกล้เคียงนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดแหล่งสะสมเชื้อราสาเหตุโรค ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการระบาดของโรค หากเริ่มพบต้นที่เป็นโรค ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
หนอนฝรั่ง หนอนเจาะผลฝรั่ง หนอนแมลงวันทอง หนอนผีเสื้อ ศัตรูพืชในฝรั่ง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนฝรั่ง หนอนเจาะผลฝรั่ง หนอนแมลงวันทอง หนอนผีเสื้อ ศัตรูพืชในฝรั่ง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
ตัวแมลงวันทอง เข้าทำลายฝรั่งในระยะตัวหนอน มันจะวางไข่ใต้ผิวของลูกฝรั่งสุก หรือระยะที่ฝรั่งมีผิวอ่อน ตัวอ่อนของแมลงวันทอง จะฟักจากไข่ เป็นตัวหนอนและกินเนื้อฝรั่งเป็นอาหาร ฝรั่งจะอ่อนนิ่ว และเละ เป็นหนอน สร้างความเสียหายแก่ผลผลิต ทำให้รายได้น้อยลง

ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 152 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยเพิ่มผลผลิตมะปรางให้ใหญ่ ดก และคุณภาพดี
Update: 2567/03/09 10:20:32 - Views: 3332
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
Update: 2565/07/25 07:21:31 - Views: 3355
วิธีการและเคล็ดลับในการดูแลดาวเรือง : ป้องกันและรักษาโรคดอกเน่าในดอกดาวเรือง
Update: 2566/11/08 09:38:24 - Views: 3325
การป้องกันกำจัด โรคใบไหม้ของต้นยางพารา ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/11 07:30:56 - Views: 3509
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
Update: 2564/08/15 03:05:42 - Views: 3413
ผักกาดขาว ใบไหม้ !! ใบจุด ราน้ำค้าง ใบจุด ราเม็ด โรคเหี่ยว โรคราต่างๆ กำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟูด้วย ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/02 10:23:50 - Views: 3366
การเพิ่มผลผลิตทุเรียนให้สูงสุดในช่วงติดผลด้วยเทคนิคการเพาะปลูกและปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1
Update: 2566/05/19 14:13:30 - Views: 3328
โรคพืช ที่ระบาดหนักในฤดูฝน
Update: 2564/08/13 11:43:50 - Views: 3447
ส่งออกข้าวโพดหวาน อนาคตรุ่ง
Update: 2555/07/27 15:00:57 - Views: 3465
ป้องกัน กำจัด ยาฆ่าหนอน อินทผาลัม หนอนหน้าแมว หนอนเจาะผลอินทผาลัม หนอนอินทผลัม หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/20 21:48:36 - Views: 3342
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: พัฒนาเมล่อนไปด้วยธาตุอาหารที่ครบถ้วนตลอดช่วงการเจริญเติบโต
Update: 2567/02/13 08:51:31 - Views: 3340
โรคราน้ำค้างข้าวโพด
Update: 2564/08/12 00:12:55 - Views: 3373
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
Update: 2564/05/31 08:57:43 - Views: 3351
มะม่วงเจริญเติบโตได้ดี และให้ผลผลิตสูง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม ซิงค์ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
Update: 2566/11/10 07:07:37 - Views: 5077
แนวทางการป้องกันและควบคุมเพลี้ยในต้นกล้วย
Update: 2566/11/20 10:50:46 - Views: 3343
มันสำปะหลังใบเหลืองขอบใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2563/04/17 10:06:13 - Views: 3344
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:41:38 - Views: 3369
โรคมะพร้าว ราสนิมมะพร้าว ราน้ำค้าง มะพร้าวใบไหม้ มะพร้าวยอดแห้ง
Update: 2566/11/07 10:11:40 - Views: 5104
ยาป้องกันกำจัด รักษา โรคแอนแทรคโนสในกาแฟ
Update: 2564/08/28 21:46:14 - Views: 3347
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
Update: 2564/06/17 17:48:13 - Views: 3356
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022