[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.)
โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.)
ชนิดพืชที่อาจเกิดผลกระทบ : พืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีน และบวบ

ระยะการเจริญเติบโตของพืช : ทุกระยะการเจริญเติบโต

ปัญหาที่ควรระวัง : โรคราแป้ง (เชื้อรา Oidium sp.)

ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ

พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

แนวทางป้องกัน/แก้ไข

1. ดูแลและบำรุงรักษาต้นพืชให้มีความแข็งแรง สมบูรณ์

2. หมั่นกำจัดวัชพืช เพื่อให้มีการถ่ายเทอากาศในแปลงได้ดี

3. ตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคเริ่มระบาด พ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรค

4. แปลงที่เป็นโรค หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ควรเก็บซากพืชไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
โรคเชื้อรา Phytophthora botryosa เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับยางพารา หลายๆ ท่านปวดหัวกับเจ้าเชื้อราตัวร้ายนี้เป็นอย่างมาก มาทำความรู้จักโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อรา ไฟทอปโทร่า

ไฟทอปเทอร่า Phytophthora

ลักษณะอาการ
- ใบจะร่วงสดๆ ทั้งก้าน 3 ใบ
- มีรอยช้ำสีดำตรงบริเวณก้านใบ และที่จุด กึ่งกลางของรอยช้ำจะมีหยดน้ำยางสีขาวเกาะติดอยู่
- เมื่อนำใบยางที่เป็นโรคมาสะบัดไปมาเบาๆ ใบย่อยจะหลุดออกจากก้านใบได้โดยง่าย มีผลทำให้ใบร่วงทั้งที่ยังเขียวสดอยู่
- เชื้อราสามารถเข้าทำลายฝักยางได้ทุกระยะ ทำให้ฝักเน่า ถ้าความชื้นในอากาศสูงจะพบเชื้อราสีขาว เจริญปกคลุมฝัก
- ฝักที่ถูกทำลายจะเน่าดำค้างอยู่บนต้น ไม่แตกและร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งเชื้อโรคในปีถัดมา

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3559
หนอนพริก แมลงวันพริก หนอนแมลงวัน ศัตรูพริก ป้องกันและกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หนอนพริก แมลงวันพริก หนอนแมลงวัน ศัตรูพริก ป้องกันและกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
แมลงวันพริก จัดเป็นแมลงวันผลไม้อีกชนิดหนึ่งที่สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตการเกษตรโดยเฉพาะพืชในตระกูลพริก-มะเขือ

ชื่อสามัญ solanum fruit fly

ชื่อวิทยาศาสตร์ Bactrocera latifrons (Hendel)

ตัวเต็มวัยเพศเมียมีอวัยวะวางไข่ (ovipositor) ที่แหลมและแข็งแรง แทงผิวของเนื้อเยื่อพืชลึก 0.5-1.0 มิลลิเมตรเพื่อวางไข่ที่มีลักษณะรูปร่างยาวรี สีขาวขุ่น ผิวเป็นมันสะท้อนแสง เมื่อใกล้ฟักสีของไข่จะเข้มขึ้น ระยะไข่ 2-3 วัน ก็จะฟักเป็นตัวหนอนมีลักษณะหัวแหลมท้ายป้าน มีสีขาว หรือสีใกล้เคียงกับสีของพืชอาหาร ตัวหนอนเคลื่อนที่โดยการยืดหด

ลําตัวซึ่งเป็นปล้องๆ ส่วนหัวมีปากเป็นตะขอแข็งสีดําหนึ่งคู่เรียกว่า “mouth hook” ซึ่งเป็นอวัยวะที่หนอนใช้ชอนไชกินเนื้อเยื่อภายในผลพริกทําให้ผลพริกเน่าและร่วง นอกจากนี้ตัวหนอนยังมีความสามารถพิเศษในการงอตัวและดีดกระเด็นไปได้ไกล (หนอนวัย 3) ซึ่งช่วยให้หนอนหาที่เหมาะสมเพื่อเข้าดักแด้ในดิน ระยะหนอนมี 3 ระยะ (8-10 วัน)

ดักแด้มีรูปร่างกลมรีคล้ายถังเบียร์ ไม่เคลื่อนไหว ระยะแรกจะมีสีขาวและค่อยเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล สีจะเข้มขึ้นเรื่อยๆระยะดักแด้11-14 วัน ก็จะออกเป็นตัวเต็มวัยซึ่งมีปีกบางใสสะท้อนแสงและมีแถบสีเหลืองที่ส่วนอก จึงเรียกว่า “แมลงวันทอง” ในระยะตัวเต็มวัยมีอายุเฉลี่ย 77-183 วัน โดยตลอดวงชีวิตจากไข่ถึงตัวเต็มวัยใช้เวลา 23-25 วัน

ลักษณะการทําลาย

การเข้าทําลายของแมลงวันพริกเกิดจากตัวเต็มวัยเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงลงไปในผลพริกเพื่อวางไข่ตัวหนอนจะชอนไชกินไส้ในผลพริกทําให้พริกเน่าและร่วง ในระยะเริ่มแรกจะสังเกตได้ยากอาจพบอาการช้ําบริเวณใต้ผิวเปลือกเมื่อหนอนโตขึ้นเรื่อย ๆ จะทําให้ผลเน่าเละและมีน้ําไหลเยิ้มออกทางรูที่หนอนเจาะออกมาเพื่อเข้าดักแด้ในดิน นอกจากนี้รอยแผลที่เกิดขึ้นจากการวางไข่ของแมลงยังส่งผลให้เชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืชเข้าทําลายตามทําให้ผลเน่าและร่วงหล่นก่อนระยะเก็บเกี่ยว ในพื้นที่ที่ไม่มีการป้องกันหรือควบคุมแมลงวันพริกความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเข้าทําลายอาจรุนแรงมากถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น จึงจําเป็นที่ต้องป้องกันการเข้ามาทําลายผลผลิตพริกของแมลงวันพริก B. latifrons เพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิดจากการเข้าทําลายของแมลงชนิดนี้

การป้องกันและกําจัด

- ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันและกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค หนอน และแมลง

Reference: main content from trat.doae.go.th
อ่าน:3559
โรคลิ้นจี่ ใบจุดสนิม ใบจุดสาหร่าย โรคราสนิมลิ้นจี่ โรคราดำลิ้นจี่ ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคลิ้นจี่ต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคลิ้นจี่ ใบจุดสนิม ใบจุดสาหร่าย โรคราสนิมลิ้นจี่ โรคราดำลิ้นจี่ ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคลิ้นจี่ต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคลิ้นจี่ ใบจุดสนิม ใบจุดสาหร่าย โรคราสนิมลิ้นจี่ โรคราดำลิ้นจี่ ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคลิ้นจี่ต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคใบจุดสนิม หรือจุดสาหร่าย
สาเหตุ สาหร่ายเซฟาลิวโรส ( Cephaleuros virescens)

ลักษณะอาการ เกิดบนใบแก่ลิ้นจี่ แผลเริ่มแรกเป็นจุดขุยสีเทาอมเขียวฟูเล็กน้อย เกิดกระจัดกระจายบนใบ ต่อมาจุดจะขยายออกและเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้มหรือสีสนิม ลักษณะค่อนข้างกลมขนาด 3-5 มิลลิเมตร ระยะต่อมาจุดจะแห้งและทำให้เนื้อเยื่อใบทั้งด้านบนและใต้ใบบริเวณแผลมีลักษณะสีน้ำตาลดำ ในที่สุดใบที่เป็นโรคจะมีสีซีดเหลืองปนน้ำตาลและใบร่วง

การแพร่ระบาด
สาหร่ายแพร่ระบาดไปกับลมและพายุฝน เข้าทำลายในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง พืชอาศัยของสาหร่ายชนิดนี้มีหลายชนิดเช่น มะม่วง ลำไย เงาะ ฝรั่ง ส้ม ทุเรียน และไม้ผลอื่น ๆ

การป้องกันกำจัด
ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง และพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์

โรคราสนิม
สาเหตุ เชื้อราสเกอกา (Skierka nephelii)

ลักษณะอาการ ใบลิ้นจี่ที่แก่บริเวณใต้ทรงพุ่ม แสดงอาการเป็นจุดนูนขนาดเล็กมากสีเหลือง เกิดกระจัด กระจายทางด้านใต้ใบ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลในระยะต่อมา

การแพร่ระบาด สปอร์ของเชื้อราฟุ้งกระจายแพร่ระบาดไปกับลมและพายุ ในสภาพอากาศทางภาคเหนือ ของประเทศไทย

การป้องกันกำจัด ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง และพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชแมนโคเซบ เป็นโรคที่ยังไม่มี ความสำคัญทางเศรษฐกิจ
โรคลำต้นและกิ่งแห้ง

สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุ

ลักษณะอาการ พบเป็นกับลิ้นจี่หลายพันธุ์ อายุ 3-20 ปี ส่วนใหญ่เมื่อต้นลิ้นจี่มีอายุตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป เริ่มแรกแสดงอาการทรุดโทรมใบร่วงและปลายกิ่งแห้งเป็นบางกิ่งหรือทั้งต้น บริเวณโคน ลำกิ่งหรือลำต้น มีแผลลักษณะเป็นรอยแตก รูปร่างและขนาดไม่แน่นอน เมื่อเฉือนผิวเปลือกออก แผลมีอาการไหม้สีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลดำ การพัฒนาของโรคจะเป็นไปอย่างช้า ๆ กรณีต้นลิ้นจี่ที่มีอายุยังน้อยการพัฒนาการจะเป็นอย่างเฉียบพลัน ใบจะร่วงและกิ่งแห้งอย่างรวดเร็ว ในที่สุดต้นลิ้นจี่มีลักษณะยืนต้นตาย

การแพร่ระบาด พบเป็นกับต้นลิ้นจี่ตลอดทั้งปี

การป้องกันกำจัด ตัดแต่งกิ่งเป็นโรคนำไปเผาทำลาย แล้วบำรุงรักษาต้นให้สมบูรณ์แข็งแรง โดยการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยเคมี และพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างสม่ำเสมอ

โรคราดำ
สาเหตุ เชื้อรา แคบโนเดียม และเมลิโอลา (Copnodium sp. และ Meliola sp.)

ลักษณะอาการ ใบ กิ่ง ช่อดอก และช่อผล มีลักษณะเป็นคราบเขม่าหรือฝุ่นผง มีสีดำ ขึ้นเจริญปกคลุมทำให้ชะงักการเจริญเติบโตและผิวของผลไม่สะอาด เมื่อถูกน้ำฝนชะล้างคราบเขม่าสีดำของเชื้อราจะหลุดไปเอง

การแพร่ระบาด เชื้อราดำแพร่ระบาดภายหลังแมลงพวกดูด เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้งเข้าทำลายต้นลิ้นจี่ แล้วขับถ่ายสารเหนียวเป็นละอองน้ำหวาน (honey dew) ลงบนพืช ซึ่งเป็นอาหารของเชื้อราดำ

การป้องกันกำจัด ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง ควบคุมการแพร่ระบาดของแมลงเพลี้ยหอย และเพลี้ยแป้ง และพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชอย่างสม่ำเสมอ

โรคเปลือกผลไหม้

สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุของโรคที่ชัดเจน

ลักษณะอาการ โรคเปลือกผลไหม้ มี 2 ลักษณะ

- อาการไหม้บริเวณขั้วผล แผลมีลักษณะสีน้ำตาลอ่อนขอบแผลสีน้ำตาล รูปไข่และขนาดไม่แน่นอน ขนานไปตามความยาวผลพบในระยะที่ผลลิ้นจี่กำลังสร้างเนื้อผล (เปลือกสีเขียวปนเหลือง) ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนดำ บางครั้งแผลแตกปริเนื่องจากเนื้อผลขยายขนา

- อาการไหม้ทั่วไปบนผล แผลมีลักษณะสีน้ำตาลอ่อนจนถึง น้ำตาลปนดำบนผล ตำแหน่ง ขนาดและรูปร่างของแผล ไม่แน่นอน พบในระยะที่ผลลิ้นจี่กำลังสร้างเนื้อเป็นต้นไป แผลอาจแตกปริเนื่องจากเนื้อผลขยายขนาด
โรคผลแตก

สาเหตุ ลิ้นจี่ได้รับน้ำหรือธาตุอาหารไม่เพียงพอในระยะระหว่างที่ผลลิ้นจี่กำลังพัฒนา

ลักษณะอาการ เปลือกผลแตกตามความยาวของผลบริเวณก้นผลในระยะที่ผลลิ้นจี่กำลังสร้างเนื้อผลหุ้มเมล็ด และระยะที่เปลือกผลเริ่มเปลี่ยนสี ต่อมาเนื้อผลเน่าเนื่องจากมีจุลินทรีย์เข้าทำลายซ้ำเติม การแพร่ระบาด เป็นโรคที่ไม่ติดเชื้อไม่มีการแพร่ระบาด

การป้องกันกำจัด

1. ให้น้ำลิ้นจี่ทีละน้อยและสม่ำเสมอระหว่างที่ผลลิ้นจี่ กำลังพัฒนา

2. ให้ปุ๋ยธาตุอาหารรองอย่างสม่ำเสมอระหว่างที่ผลลิ้นจี่กำลังพัฒนา เช่น ธาตุแคลเซียม โบรอน สังกะสี ทองแดง และแมกนีเซียม นอกเหนือจากการให้ธาตุอาหารหลักได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียม

3. พ่นสารป้องกันและกำจัดโรคแมลงศัตรูพืชโดยสม่ำเสมอ
โรคผลร่วง
สาเหตุเป็นผลมาจากการตายของคัภพะในระหว่างที่ใบเลี้ยงมีการพัฒนา เกิดในช่วงที่ผลลิ้นจี่มีอายุ ประมาณ30-50 วัน ภายหลังการผสมเกสร และบางครั้งอาจเกิดจากการทำลายของหนอนเจาะขั้วลิ้นจี่

ลักษณะอาการ ผลลิ้นจี่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5-8 มิลลิเมตร ร่วง ผลลิ้นจี่บางส่วนอาจไม่ร่วงและมีการพัฒนาเจริญเติบโตไปจนแก่และสุก แต่ผลจะมีขนาดเล็กกว่าผลที่มีเมล็ดปกติ

การแพร่ระบาด สาเหตุที่เกิดจากการตายของคัภพะ ไม่ทำให้โรคแพร่ระบาด ปัจจัยที่เกิดจากหนอนเจาะขั้ว ลิ้นจี่ ดูรายละเอียดในแมลงศัตรูลิ้นจี่และการป้องกันกำจัด

การป้องกันกำจัด การตายของคัภพะไม่ทราบวิธีการป้องกันกำจัด ส่วนการป้องกันกำจัดหนอนเจาะขั้วลิ้นจี่ ดูในแมลงศัตรูลิ้นจี่และการป้องกันกำจัด
โรคราน้ำค้างเทียม หรือโรคผลไหม้สีน้ำตาล
สาเหตุ เชื้อราเพอร์โรโนไฟโธรา (Peronophythora litchii)

ลักษณะอาการ เกิดแผลสีน้ำตาลดำรูปร่างและขนาดไม่แน่นอน และขอบแผลมีลักษณะไม่ชัดเจนบนก้านผล ผล ใบ และรากลิ้นจี่ เชื้อราสร้างส่วนขยายพันธุ์สีขาวฟูบนแผลในช่วงระยะหลังของการติดเชื้อ เมื่อสภาพแวดล้อมชุ่มชื้นและมีฝนตก

การแพร่ระบาด เชื้อราฟักตัวข้ามฤดูถัดไป หรือเศษซากพืชที่ติดเชื้อ แล้วแพร่ระบาดไปกับน้ำฝน ลมพายุ แมลง และดินที่มีเชื้อในฤดูถัดไป สภาพอุณหภูมิที่ 22-25 0C และมีฝนตกชุกเกือบทุกวัน โรคจะลุกลามและแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง

การป้องกันกำจัด การป้องกันกำจัดโรคราน้ำค้างเทียม จะให้ผลดีถ้าใช้วิธีผสมผสานกันระหว่างวิธีการต่าง ๆ ดังนี้

1. ปลูกลิ้นจี่ให้มีระยะห่างที่พอเหมาะไม่ปลูกชิดเกินไป

2. ตัดแต่งกิ่งให้โปร่งเพื่อให้แสงแดดส่องถึงโคนต้น และกำจัดวัชพืชภายใต้ทรงพุ่ม แล้วขนย้ายกิ่งแห้ง และกิ่งที่ติดเชื้อออกไปจากแปลงแล้วเผาทำลาย

3 บำรุงรักษาต้นลิ้นจี่ให้เจริญเติบโตแข็งแรง โดยการใส่ปุ๋ย ให้น้ำในช่วงที่อากาศแห้งแล้งและพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชและสารฆ่าแมลงอย่างสม่ำเสมอ

4. หมั่นตรวจแปลงในฤดูหนาวเมื่อพบใบลิ้นจี่เป็นโรค ควรพ่นต้นลิ้นจี่และผิวดินบริเวณ โคนต้นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ กรณีที่พบโรคช่วงฤดูฝน ซึ่งสภาพอากาศอบอุ่นและดินมีความชื้นสูง ควรพ่นด้วยสารละลายจุนสีเข้มข้น 0.2-0.3% ผสมโซดาซักผ้า เข้มข้น 0.1% ถ้าพ่นบนผิวดินเพิ่มความเข้มข้นเป็น 2 เท่า จาก นั้นโรยปูนขาวบริเวณโคนต้น
5.การป้องกันกำจัดโรคในระยะแตกตาดอก ระยะเริ่มติดผลไปจนถึงก่อนผลสุกควรพ่นป้องกันด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชแมนโคเซบ เมื่อพบอาการของโรคปรากฏที่ผลเพียง 1 ผล ให้เปลี่ยนไปพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช เมตาแลกซิลผลมแมนโคเซบ ไซม๊อกซานิล และแมนโคเซบ ฯลฯ จำนวน 1-2 ครั้ง แล้วกลับไปพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช แมนโคเซบ เช่นเดิม เว้นระยะให้สารเคมีสลายตัวก่อนการเก็บเกี่ยวอย่างน้อย 7 วัน

6. กรณีที่ผลและใบลิ้นจี่เป็นโรคแล้วร่วงหล่นอยู่บนพื้นดินภายใต้ทรงพุ่ม ควรรีบเก็บแล้วนำไปเผาทำลาย ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้นาน เนื่องจากเชื้อราสามารถมีชีวิตและอาศัยอยู่ในดินข้ามฤดู เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมจะทำให้เกิดการติดเชื้อใหม่ในฤดูต่อไป

สาเหตุ เกิดจากเชื้อราหลายชนิด เช่น เชื้อราคอเลคโตตริคัม (Colletrichum gloeosporioides)
เชื้อราโบทรัยโอดิโพลเดีย (Botryodipia theobromae) เชื้อราโฟมา (Phoma sp.) เชื้อราโฟมอพซิส (Phomopsissp.) เป็นต้น

ลักษณะอาการ ผลลิ้นจี่สุกภายหลังเก็บเกี่ยวที่เก็บรักษาไว้ในสภาพควบคุมความชื้น จะแสดงอาการแผลเน่า สีน้ำตาลเข้มจนถึงสีน้ำตาลดำ ลักษณะแผลค่อนข้างกลมมีขนาดไม่แน่นอน เชื้อราสร้างเส้นใยและมวลสปอร์บนผิวเปลือกที่เป็นโรค ภายใต้สภาพอุณหภูมิห้องโรคผลเน่าจะพัฒนาอย่างรวดเร็วภายในเวลา 2-3 วัน การเก็บรักษาผลลิ้นจีในสภาพอุณหภูมิ 5-6๐C

อาการโรค ผลเน่าจะมีการพัฒนาการไปอย่างช้า ๆ และอาการรุนแรงน้อยกว่าการเก็บรักษา ในสภาพอุณหภูมิห้อง

การแพร่ระบาด เชื้อราแพร่ระบาดไปกับลมและพายุฝน เข้าทำลายผลลิ้นจี่แบบแฝงตั้งแต่ในแปลงปลูก แต่จะปรากฏอาการให้เห็นภายหลังการเก็บเกี่ยว

การป้องกันกำจัด พ่นป้องกันด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชแมนโคเซบ โปรคลอราซ คาร์เบนดาซิม ฯลฯ ชนิดใดชนิดหนึ่ง และหยุดพ่นก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิตอย่างน้อย 14 วัน

อ้างอิง arda.or.th/kasetinfo/north/plant/lychee_disease.html
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
ปุ๋ยทุเรียน ยาทุเรียน มีให้เลือก ครบทุกช่วงอายุ โปรดอ่านรายละเอียด และเลือกซื้อที่

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3559
คู่มือโรคมะพร้าว แนวทางการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อรา ที่เกิดขึ้นกับต้นมะพร้าว
คู่มือโรคมะพร้าว แนวทางการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อรา ที่เกิดขึ้นกับต้นมะพร้าว
มะพร้าวเป็นพืชที่ปลูกกันอย่างแพร่หลายในเขตร้อนชื้น เป็นที่รู้จักในด้านการใช้งานมากมาย ทั้งอาหาร เครื่องสำอาง และวัสดุก่อสร้าง อย่างไรก็ตาม ต้นมะพร้าวยังอ่อนแอต่อโรคเชื้อราต่างๆ ซึ่งทำให้ผลผลิตและคุณภาพลดลงอย่างมาก ในบทความนี้ เราจะพูดถึงโรคเชื้อราในมะพร้าวที่พบบ่อยที่สุด อาการของมัน และมาตรการป้องกันและกำจัดที่แนะนำ

โรคเชื้อราที่มีผลต่อต้นมะพร้าว ได้แก่ โรคมะพร้าวใบไหม้ โรคใบแห้ง มะพร้าวต้นกลวง โรคโคนเน่า หรือ "โคนเน่า" มีสาเหตุมาจากเชื้อรา Phytophthora palmivora ซึ่งเจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินที่ชื้นและอบอุ่น เชื้อราโจมตีฐานของต้นไม้และแพร่กระจายขึ้นไปจนไปถึงมงกุฎซึ่งส่งผลต่อใบอ่อนและดอก

อาการของโรคตาเน่า ได้แก่ ใบเหลืองและเหี่ยว ลำต้นเน่า และมีกลิ่นเหม็น เมื่อโรคลุกลาม ต้นไม้จะออกลูกมะพร้าวน้อยลง และคุณภาพของมะพร้าวที่ผลิตได้ก็จะได้รับผลกระทบไปด้วย

เพื่อป้องกันและกำจัดโรคตาเน่า มาตรการที่แนะนำคือการใช้ IS ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในขณะเดียวกันก็บำรุงพืชด้วย FK-1 เมื่อเปิดกล่อง FK-1 คุณจะพบกับถุงสองใบ ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และถุงที่สองเป็นธาตุเสริม ประกอบด้วย แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว อัตราส่วนผสมให้ใช้ 50 g. ของถุงแรกและ 50 g. ถุงที่ 2 ผสมน้ำ 20 ลิตร

วิธีใช้ IS ผสม 50 ซีซี. ของสารละลายในน้ำ 20 ลิตร แล้วฉีดให้ทั่วโคนต้นมะพร้าว ให้แน่ใจว่าได้คลุมดินรอบ ๆ ต้นมะพร้าวแล้ว ทำซ้ำทุก 2-3 เดือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งเป็นช่วงที่มีเชื้อรามากที่สุด

นอกจากการใช้ระบบ IS แล้ว ยังจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรักษาแนวปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ดี เช่น ดูแลให้มีการระบายน้ำที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงการรดน้ำมากเกินไป และกำจัดวัสดุจากพืชที่ติดเชื้อออกจากรอบโคนต้นไม้

กล่าวโดยสรุป โรคตาเน่าเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราทั่วไปที่ส่งผลต่อต้นมะพร้าวและทำให้ผลผลิตและคุณภาพลดลงอย่างมาก การใช้ IS ร่วมกับการปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ดีเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรค ทำให้ต้นมะพร้าวแข็งแรงและให้ผลผลิต
อ่าน:3559
ผักชีลาว ใบไหม้ ใบจุด ราแป้ง เน่าคอดิน รากเน่า โรคราต่างๆ ในต้นกระเพรา ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
ผักชีลาว ใบไหม้ ใบจุด ราแป้ง เน่าคอดิน รากเน่า โรคราต่างๆ ในต้นกระเพรา ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
ผักชีลาว ใบไหม้ ใบจุด ราแป้ง เน่าคอดิน รากเน่า โรคราต่างๆ ในต้นกระเพรา ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
ไอเอส: ยาป้องกันกำจัดโรคต้นผักชีลาว ที่เกิดจากเชื้อรา
ปัญหาร้ายที่เกษตรกรผักชีลาวต้องเผชิญ

โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา สร้างความเสียหายให้กับพืชผักชีลาวเป็นอย่างมาก โรคเหล่านี้มักพบได้ทั่วไป เช่น โรคใบไหม้ โรคใบจุด โรครากเน่า โรคราแป้ง โรคเน่าคอดิน และโรคราอื่นๆ ส่งผลต่อผลผลิตและคุณภาพของผักชีลาว

ไอเอส: ทางออกใหม่ในการป้องกันกำจัดโรค

ไอเอส เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อป้องกันและกำจัดโรคพืชในผักชีลาวโดยเฉพาะ ด้วยเทคนิค อีออนคอลโทรล ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สิ่งแวดล้อม และสัตว์เลี้ยง

ไอเอส ออกฤทธิ์กำจัดเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ทิ้งสารพิษตกค้างในดินหรือผลิตภัณฑ์

FK-ธรรมชาตินิยม: ปุ๋ยฟื้นฟูและส่งเสริมการเจริญเติบโต

ควบคู่ไปกับการใช้ไอเอส เกษตรกรควรใช้ FK-ธรรมชาตินิยม ร่วมด้วย เพื่อเร่งฟื้นฟูต้นผักชีลาวที่อ่อนแอจากโรคพืช

FK-ธรรมชาตินิยม เป็นปุ๋ยอินทรีย์อเนกประสงค์ ที่อุดมไปด้วยธาตุอาหารครบถ้วน ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของพืช ช่วยให้ผักชีลาวเจริญเติบโตแข็งแรง ออกดอกออกผลดก

ประโยชน์ของไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยม

ป้องกันและกำจัดโรคพืชในผักชีลาวที่เกิดจากเชื้อราอย่างมีประสิทธิภาพ
ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สิ่งแวดล้อม และสัตว์เลี้ยง
ฟื้นฟูต้นผักชีลาวที่อ่อนแอจากโรคพืช
ส่งเสริมการเจริญเติบโตของผักชีลาว
เพิ่มผลผลิตและคุณภาพของผักชีลาว


ผลลัพธ์ที่ได้

ผักชีลาวมีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคพืช
ผลผลิตและคุณภาพของผักชีลาวดีขึ้น
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น

ไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยม

ทางออกใหม่สำหรับเกษตรกรผักชีลาวที่ต้องการปลูกผักชีลาวอย่างปลอดภัยและยั่งยืน

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับ ที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อราอีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้

💦อัตราผสมใช้ ไอเอส
» ไอเอส 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
» ฉีดพ่นทางใบ
» ระยะรักษา ทุก 2-3 วันต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง
» ระยะป้องกันทุก 15-30 วัน

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า:http://ไปที่..link..
อ่าน:3558
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - ฟื้นระบบรากและปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืช สำหรับดอกทานตะวัน
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - ฟื้นระบบรากและปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืช สำหรับดอกทานตะวัน
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - ฟื้นระบบรากและปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืช สำหรับดอกทานตะวัน
การเพิ่มผลผลิตทานตะวันและพืชอื่นๆ ในสวนของคุณไม่จำเป็นต้องใช้สารเคมีที่อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนที่บริโภคผลผลิตเหล่านั้น หากคุณกำลังมองหาทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ คำตอบก็คือ ฮิวมิค แอซิด ยี่ห้อ ฟาร์มิค ที่ถือเป็นทางเลือกที่ยอดเยี่ยมสำหรับการปลดปล่อยธาตุอาหารและฟื้นฟูระบบรากของพืชในทุกฤดูกาล.

1. ฮิวมิค แอซิด: สารสกัดจากธรรมชาติ
ฮิวมิค แอซิด เป็นสารสกัดจากฮิวมิค ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักที่ได้มาจากวัตถุมีชีวิต สารสกัดนี้มีคุณสมบัติที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างมีประสิทธิภาพ. ฮิวมิคช่วยในการเพิ่มปริมาณและความหลากหลายของแร่ธาตุที่พืชต้องการ และช่วยกระตุ้นกระบวนการสร้างอาหารในพืช.

2. ฟาร์มิค: ฟื้นฟูระบบรากและปรับปรุงโครงสร้างดิน
ฟาร์มิค เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพในการฟื้นฟูระบบรากของพืช. ซึ่งช่วยในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของราก_ ปรับปรุงโครงสร้างดิน และสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับรากพืชในการดูดซึมน้ำและธาตุอาหาร.

3. ปลดปล่อยธาตุอาหารและช่วยในกระบวนการสร้างอาหาร
การใช้ ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค ช่วยในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่พืชต้องการ เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ทำให้พืชสามารถนำเข้าใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

นอกจากนี้ ฮิวมิคยังช่วยกระตุ้นกระบวนการสร้างอาหารทานตะวันและพืชอื่นๆ.

4. ระบายน้ำดีและสร้างระบบรากฝอย
การใช้ ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของรากฝอย_ ทำให้ระบบรากของพืชมีความแข็งแรงและสามารถระบายน้ำได้ดี. นอกจากนี้ การเพิ่มความชื้นในดินยังช่วยในการลดการแห้งและปรับปรุงสภาพดิน.

5. ฉีดพ่นต้นดอกทานตะวัน
การใช้ ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการฉีดพ่นต้นดอกทานตะวัน. ฮิวมิคช่วยในการบำรุงต้นดอก เพิ่มการออกดอก และช่วยในกระบวนการผสมเกสรของพืช.

สรุปลงท้าย ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค คือทางเลือกที่มีประสิทธิภาพสำหรับการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยไม่ต้องใช้สารเคมีที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ. ผลิตภัณฑ์นี้ไม่เพียงแค่ช่วยในการฟื้นฟูระบบรากและปลดปล่อยธาตุอาหาร แต่ยังมีประโยชน์ต่อโครงสร้างดิน การระบายน้ำ และการเจริญเติบโตของพืชอย่างครอบคลุม. การใช้ ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค จึงเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าสำหรับการผลิตทานตะวันและพืชอื่นๆ ในสวนของคุณ.

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อฟาร์มิค ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link.. .
» ซื้อฟาร์มิค ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3558
เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์รับรอง สินค้าออแกนิค
เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์รับรอง สินค้าออแกนิค
เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์รับรอง สินค้าออแกนิค
สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายรับรองว่านี่คือออแกนิค จะแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ

ประเภทที่1 ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของประเทศผู้นำเข้าสินค้าอินทรีย์รายใหญ่

1.1ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ IFOAM หรือ IFOAM Accredited

สมาพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements – IFOAM) ได้จัดทำโครงการรับรองระบบงานเกษตรอินทรีย์ IFOAM (IFOAM Accreditation Program) ภายใต้กรอบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกยอมรับเป็นเกณฑ์มาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ขั้นต่ำสินค้าอินทรีย์เพื่อการนำเข้า เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฮ่องกงสิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น

1.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (EU)

การแสดงตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรปที่ถูกต้อง EU_organic_farming_logo_sจะต้องมีเลขรหัสหน่วยงานที่ทำการตรวจรับรองของสหภาพยุโรป ซึ่งระบุประเทศของหน่วยงานผู้ตรวจรับรองกำกับไว้ พร้อมกับระบุประเทศแหล่งที่มาของสินค้าอินทรีย์นั้นๆ ไว้ใต้ตรามาตรฐานด้วย (ดูตัวอย่าง ตรามาตรฐาน EU ของ มกท. ด้านขวามือ) สหภาพยุโรปยังไม่อนุญาตให้ใช้คำว่า 100% Organic หรือ อินทรีย์ 100% บนฉลากสินค้าด้วย ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่สหภาพยุโรปยอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (เฉพาะที่ผลิตในประเทศแคนาดา) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (เฉพาะที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา)

1.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (National Organic Program – NOP)

แผนงานเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (NationalOrganic Program – NOP) ดำเนินงานภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (United States Department of Agriculture – USDA) โดยระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์นี้เริ่มใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศสหรัฐอเมริกายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (เฉพาะที่ผลิตในสหภาพยุโรป) โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของสหรัฐอเมริกาเสมอ

1.4 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์แคนาดา (Canada Organic Regime – COR)

รัฐบาลแคนาดาเริ่มนำาระบบ Canada Organic Regime (COR) ออกบังคับใช้เมื่อปี พ.ศ.2552 ตามระเบียบ Organic Products Regulations_ 2009 โดยมี Canadian Food Inspection Agency (CFIA) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ?การใช้ตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดาที่ถูกต้อง ต้องมีชื่อสินค้า รหัสหน่วยงานที่ทำการตรวจการรับรองที่ออกโดย IOAS พร้อมกับระบุประเทศผู้ผลิต ทั้งภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสกำกับไว้ใกล้ๆ ตรามาตรฐานฯ ให้เห็นได้ชัดเจน ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (เฉพาะที่ผลิตในสหภาพยุโรป) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (เฉพาะที่ผลิตในญี่ปุ่น) เริ่ม 1 ม.ค. พ.ศ. 2558 โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของแคนาดาเสมอ

1.5 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (Japanese Agricultural Standard Organic JAS mark)

กำกับดูแลของกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมง ของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture_ Forestry and Fisheries – MAFF) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่?ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (เฉพาะที่ผลิตในแคนาดา) เริ่ม 1 ม.ค. พ.ศ. 2558 โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของญี่ปุ่นเสมอ

ประภทที่2 ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของหน่วยงานตรวจรับรองเอกชนต่างประเทศที่ได้รับความนิยมและดำเนินการตรวจรับรองอยู่ในประเทศไทย

2.1 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ไบโออะกิเสิร์ช (Bioagricert)

บริษัท ไบโออะกริเสิร์ช (ไทยแลนด์) จำกัด เป็นสาขาย่อยของ Bioagricert S.r.I. จากประเทศอิตาลี ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

2.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์บีเอสซี (BSC KO-GARANTIE GMBH – BSC)

บีเอสซี เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศเยอรมันนี มีตัวแทนในประเทศไทยอยู่ที่ จ.เชียงใหม่ ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

2.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์อีโคเสิร์ช (Ecocert)

อีโคเสิร์ช เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศฝรั่งเศส ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

2.4 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ไอเอ็มโอ-คอนโทรล (IMO-Control)

บริษัทไอเอ็มโอ-คอนโทรล เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศสวิตเซอน์แลนด์ มีตัวแทนอยู่ในประเทศไทย ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

ประภทที่3ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของหน่วยงานไทย

3.1 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มกท. (Organic Agriculture Certification Thailand – ACT)

นอกจากสัญลักษณ์ ACT-IFOAM Accredited แล้ว มกท. ยังมีระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เฉพาะ ที่จัดทำขึ้นสำหรับตรวจรับรองการผลิตเกษตรอินทรีย์บางประเภทที่เพิ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในประเทศและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เหมาะกับผู้ประกอบการในระยะเริ่มต้น ซึ่งรวมถึง การเลี้ยงสัตว์?การเลี้ยงผึ้ง และการประกอบอาหารสำหรับร้านอาหาร ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มกท. จะใช้ตราสัญลักษณ์ของ มกท. เป็นตรารับรองมาตรฐาน

3.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ – มกอช. (National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards – ACFS)

มกอช. ได้ประกาศใช้ตรามาตรฐาน Organic Thailand เมื่อปี พ.ศ. 2555 และถือเป็นตรามาตรฐานของประเทศไทย แต่ไม่ได้บังคับว่าการนำเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์หรือสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในประเทศไทยจะต้องได้รับมาตรฐาน Organic Thailand นี้

3.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ – มอน. (The Northern Organic Standard Organization)

องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ จัดตั้งขึ้นโดยความร่วมมือของเกษตรกร ผู้บริโภค นักวิชาการจากองค์กรของรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน และผู้สนใจทั่วไป โดยมุ่งหวังจะเป็นองค์กรที่ทำการรับรองผลิตผลของ เกษตรกรที่ทำการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกรและผู้บริโภคว่า ผลิตผลที่ได้รับการรับรองจากองค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์นั้น เป็นผลิตผลที่ปลอดจากสารพิษสารเคมีสังเคราะห์ และยังเอื้อต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริงด้วย

3.4 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์

ตามแนวทางการพัฒนางานเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดสุรินทร์ และได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการโครงการเกษตรอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์ในปี พ.ศ. 2547 โดยมีมาตรฐานครอบคลุมเฉพาะในเรื่องการผลิตพืช สัตว์อินทรีย์ สัตว์น้ำอินทรีย์ การจัดการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และปัจจัยการผิลต ทั้งนี้ มก.สร. จะทำกาตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์อินทรีย์ไว้ในทุกขึ้นตอน ตั้งแต่การผลิตในระดับแปลง การนำผลผลิตมาแปรรูป แลจำหน่ายผลิตภัณฑ์

3.5 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ (มก.พช.)

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยของนักวิชาการจากมหาวิทยาลับราบภัฎเพชรบูรณ์ร่วมกับชุมชน เกษตรกร ในปี พ.ศ. 2553-54 เป็นมาตรฐานเฉพาะกลุ่มที่ใช้ตรวจรับรองผู้สมัครเป็นสมาชิกเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ ในสังกัดสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์เท่านั้น โดยทางกลุ่มได้ใช้มาตรฐานนี้เป็นมาตรการพัฒนาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพื่อความพอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร จนเกิดการรวมตัวพัฒนาเป็นเครือข่ายอย่างยั่งยืนเป็นรูปธรรมมาถึงปัจจุบัน

สินค้าที่มีสัญลักษณ์เหล่านี้ปรากฏอยู่ จะมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ไว้ใจได้ ผ่านกระบวนการรับรองว่าไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ถือเป็นเกษตรอินทรีย์ที่มีเกณฑ์การตรวจสอบ ห้ามใช้ GMO_ ห้ามใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช_ ห้ามใช้สารเคมีกำจัดแมลง และห้ามใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์

3.6 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ชมรมเกษตรอินทรีย์เกาะพะงัน

เป็นระบบการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบชุมชนรับรอง (Participatory Guarantee System – PGS) ที่พัฒนาขึ้นโดยมูลนิธิสายใยแผ่นดินร่วมกับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบนเกาะพะงัน เมื่อปี พ.ศ. 2554 ภายใต้โครงการ เกาะพะงัน เกาะเกษตรอินทรีย์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงพาณิชย์



ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
มะนาว ใบไหม้ ใบจุด รากเน่า โคนเน่า โรคแคงเกอร์ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
มะนาว ใบไหม้ ใบจุด รากเน่า โคนเน่า โรคแคงเกอร์ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
มะนาว ใบไหม้ ใบจุด รากเน่า โคนเน่า โรคแคงเกอร์ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
อเอส ยารักษาโรคพืช อินทรีย์ ปลอดภัย ฟื้นฟูต้นมะนาว

ไอเอส เป็นผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่ใช้เทคนิคอีออนคอลโทรล ประกอบด้วยสารอินทรีย์ธรรมชาติ 100% ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สัตว์เลี้ยง และสิ่งแวดล้อม มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งและกำจัดเชื้อราสาเหตุโรคพืชต่างๆ

โรคพืชที่ไอเอสสามารถป้องกันและกำจัดได้

โรคมะนาวใบไหม้
โรคมะนาวใบจุด
โรครากเน่าโคนเน่า
โรคแคงเกอร์
โรคราสนิม
โรคราแป้ง
โรคราต่างๆ

FK-ธรรมชาตินิยม

FK-ธรรมชาตินิยม เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ 100% ประกอบด้วยธาตุอาหารครบถ้วน ช่วยเร่งฟื้นฟูต้นมะนาวจากโรคพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต

ข้อควรระวัง

เก็บไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยมให้พ้นมือเด็ก สัตว์เลี้ยง และอาหาร
สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ หน้ากาก เมื่อใช้
เก็บขวดที่ใช้แล้วให้มิดชิด

ไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยม เป็นทางเลือกใหม่สำหรับเกษตรกรที่ต้องการดูแลต้นมะนาวให้ปลอดภัยจากโรคพืช เพิ่มผลผลิต และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับ ที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อราอีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้

💦อัตราผสมใช้ ไอเอส
» ไอเอส 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
» ฉีดพ่นทางใบ
» ระยะรักษา ทุก 2-3 วันต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง
» ระยะป้องกันทุก 15-30 วัน

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3557
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 51 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
Update: 2564/08/15 03:05:42 - Views: 3703
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรลับผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก สร้างคุณภาพให้สตรอเบอร์รี่ของคุณ
Update: 2567/03/09 13:50:44 - Views: 3440
เทคนิค การปลูกฟักทอง ง่าย ๆ ได้ผลผลิตดีงาม
Update: 2564/08/09 05:04:41 - Views: 3744
โรคมะพร้าว ราสนิมมะพร้าว ราน้ำค้าง มะพร้าวใบไหม้ มะพร้าวยอดแห้ง
Update: 2566/11/07 10:11:40 - Views: 8449
เพิ่มผลผลิตด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 10-40-10+3 MgO: เคล็ดลับสำหรับการเพิ่มการออกดอกและเร่งรากในการปลูกต้นฝรั่ง
Update: 2567/02/12 13:58:33 - Views: 3431
การจัดการหนอนผีเสื้อศัตรูพืช: วิธีแก้ปัญหาและป้องกันความเสียหายในสวนและแปลงปลูก
Update: 2566/11/16 14:22:42 - Views: 3666
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน ต้นมะเขือเทศ และพืช ทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพ
Update: 2566/04/17 11:23:39 - Views: 3465
การปลูกลองกอง และการดูแลรักษา
Update: 2564/09/04 21:50:16 - Views: 3522
อ้อย ลำใหญ่ ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/16 14:22:45 - Views: 3469
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 5105
ปุ๋ยสำหรับผักต่างๆ ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นผัก เร่งโต โตไว แข็งแรง ผลผลิตดี คุณภาพดี FK-1 มี N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/23 09:24:54 - Views: 3415
ป้องกันกำจัด เชื้อราไฟทอปธอร่า ในต้นยางพาราด้วยสารประกอบอินทรีย์
Update: 2566/01/10 12:47:18 - Views: 3564
วิเคราะห์ตลาดทุเรียน แนวโน้มปี 2568
Update: 2567/11/20 09:22:37 - Views: 58
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นพริก
Update: 2566/05/01 14:48:42 - Views: 3547
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) ก้านใบไหม้ ก้านใบเน่า : LEAF BLIGHT DISEASE ในพืชต่างๆ
Update: 2563/11/03 13:06:08 - Views: 3725
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบเพิ่มประสิทธิภาพสำหรับต้นทุเรียน
Update: 2566/11/18 08:52:58 - Views: 3532
ดินในไร่ของเรา ปลูกมันสำปะหลังพันธุ์ไหนดี? การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับดินในพื้นที่ปลูกของเรา
Update: 2563/06/13 20:30:45 - Views: 3545
ยากำจัดโรคแอนแทรคโนส ใน กาแฟ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 14:04:07 - Views: 3431
การจัดการโรคราน้ำค้างในแตงกวา: วิธีป้องกันและการดูแลเพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2566/11/13 12:39:40 - Views: 3516
โรค แครอทใบไหม้
Update: 2564/05/08 08:45:06 - Views: 3474
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022