[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

 
อินทผลัม พืชทางเลือก จะรุ่งหรือจะร่วง กับ ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า - Piyamas Live | ปิยะมาศ บัวแก้ว
อินทผลัม พืชทางเลือก จะรุ่งหรือจะร่วง กับ ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า - Piyamas Live | ปิยะมาศ บัวแก้ว

อินทผลัม พืชทางเลือก จะรุ่งหรือจะร่วง กับ ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า คณะทำงานที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

https://www.youtube.com/watch?v=fwS8qiiDJr4
ปิยะมาศ บัวแก้ว
#ปิยะมาศไลฟ์
#PiyamasLive
อ่าน:3525
โรคราน้ำค้างเมล่อน ราน้ำค้างแคลตาลูป โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้างเมล่อน ราน้ำค้างแคลตาลูป โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้างแคลตาลูป และ โรคราน้ำค้างเมล่อน พบมากในแปล่งเพาะปลูกที่มีความชื้นสูง โรคราน้ำค้าง เป็นโรคพืชที่สร้างความเสียหายให้กับเมล่อน และแคลตาลูปได้เป็นอย่างมาก เกิดได้ทั้งที่ผล และใบ ของเมล่อน และ แคลตาลูป ทำให้เซลล์ตาย ใบร่วง ผลผลิตไม่ดี เมล่อน และ แคลตาลูปอ่อนแอ แคระ แกรน ออกผลน้อย หรือไม่ติดผล และอาจทำให้ถึงตายได้ เมล่อน และ แคลตาลูป อาจได้รับความเสียหายมากกว่า 70% หากระบาดรุนแรง

โรคราน้ำค้าง มีสาเหตุจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis

โรคราน้ำค้าง พบมากในพืชตระกูลแตง และพืชผักต่างๆ เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีน บวบ กะหล่ำปลี กุหลาบ ข้าวโพด ถั่วเหลือง องุ่น

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างองุ่น #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างบวบ #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างซูกินี #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #ข้าวเน่าคอรวง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ทานตะวัน:ไม้ดอกยอดนิยมปลูกได้โดยไม่ต้องใช้สารเคมี
ทานตะวัน:ไม้ดอกยอดนิยมปลูกได้โดยไม่ต้องใช้สารเคมี
ทานตะวันเป็นไม้ล้มลุกอายุ 1 ปี ใบรูปกลมรี โคนใบโค้งเว้าเป็นรูปหัวใจปลายใบแหลมขอบใบหยักแบบฟันปลา หลังและใต้ท้องใบมีขนสาก ดอกออกเป็นช่อหรือกระจก กลีบดอกวงในมีสีเหลือง กลีบดอกวงนอกสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองทอง ล้อมรอบเกสรขนาดใหญ่คล้ายจานเป็นไม้ดอกที่มีลักษณะพิเศษคือ ดอกจะหันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์เสมอ

พันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก เช่น พันธุ์คัลเลอร์ แฟชั่น (Color Fashion) อิตาเลี่ยน ไวท์ (Italian White) ซึ่งเป็นชนิดที่แตกกิ่งก้านสาขา มีลำต้นสูงประมาณ 4-5 ฟุต ขนาดดอกประมาณ 3-4 นิ้ว

การขยายพันธุ์

ทานตะวันขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ซึ่งนิยมเพาะเมล็ดในแปลงปลูกโดยตรง ทานตะวันสามารถปลูกได้ดีในดินทุกชนิด ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี และชอบแสงแดดจัด

การเลือกสถานที่ปลูก

สถานที่ปลูกทานตะวันควรเป็นที่โล่งแจ้ง ได้รับแสงอย่างน้อยไม่ต่ำกว่าวันละ 8-10 ชั่วโมง หากปลูกในที่ที่ได้รับแสงน้อยจะให้ผลผลิตต่ำ ขนาดดอกเล็ก และมักพบว่าต้นอ่อนแอต่อโรคได้ง่าย

การเตรียมแปลงปลูก

ก่อนปลูกควรมีการเตรียมดินหรือปรับปรุงดินให้มีคุณภาพ มีธาตุอาหารเพียงพอต่อการเจริญเติบโต โดยขุดดินให้ลึกประมาณ 1 ฟุต แล้วตากดินเพื่อฆ่าเชื้อโรคและแมลงประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นให้ย่อยดินให้ละเอียดใส่อินทรีย์วัตถุที่สลายตัวแล้วอย่างเช่น เศษฟาง เปลือกถั่วลิสง ขี้เถ้าแกลบ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยพืชสด เพื่อให้ดินมีความร่วนซุย สามารถเก็บความชื้นและมีการระบายน้ำดี

ก่อนเพาะเมล็ดให้นำเมล็ดไปแช่ในน้ำสกัดชีวภาพก่อนนำไปปลูก จะช่วยให้เมล็ดงอกเร็วและมีความแข็งแรงขึ้น การเพาะเมล็ดทานตะวันให้หยอดเมล็ดหลุมละ 2 เมล็ด ฝังลึกประมาณ 2 นิ้ว ระยะห่างระหว่างหลุมประมาณ 25×30 ซม. ระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 70-75 ซม. ก่อนปลูกควรรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยชีวภาพที่ให้ธาตุอาหารหลักได้แก่ ไนโตรเจน โปแตสเซียมและฟอสฟอรัสครบถ้วน หลังจากกลบดินเรียบร้อยแล้วควรคลุมแปลงปลูกและรดน้ำให้ชุ่ม การคลุมแปลงจะช่วยรักษาความชื้นรักษาอุณหภูมิและช่วยป้องกันวัชพืช วัสดุที่ใช้คลุมแปลง เช่น ฟางข้าว เศษหญ้าแห้ง เปลือกถั่ว หรือวัสดุอื่นที่มี หลังจากเมล็ดงอกแล้วประมาณ 10 วัน ให้ถอนต้นกล้าออกเหลือเพียงหลุมละ 1 ต้น เพื่อให้ทานตะวันผลิตดอกที่มีคุณภาพต่อไป

การให้น้ำ

ระยะแรกควรให้น้ำวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น เพื่อรักษาความชื้น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญให้เมล็ดงอก และเจริญเติบโตได้สมบูรณ์ หลังจากต้นตั้งตัวได้แล้วหรือมีความแข็งแรงเพียงพออาจให้น้ำได้ 1-2 วันต่อครั้งก็ได้

การให้ปุ๋ย

หลังจากปลูกประมาณ 30 วัน ให้ใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของลำต้น กิ่ง และใบ ในระยะนี้หากทานตะวันขาดไนโตรเจนจะโตช้า ใบมีสีเหลือง กิ่งก้านยาว เล็ก และอ่อนแอ เมื่อทานตะวันเริ่มเกิดตาดอกจึงใส่ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสสูงเพื่อเร่งดอก หลังใส่ปุ๋ยทุกครั้งควรรดน้ำตามทันที หรือฉีดพ่นด้วยน้ำหวานหมักจากผลไม้ ใช้ฉีดพ่นแบบฮอร์โมนพืช ให้ผลในการบำรุงดีมากโดยเฉพาะในช่วงที่พืชกำลังออกดอก

การตัดดอก

การตัดดอกควรทำเมื่อดอกยังไม่บานเต็มที่หรือบานประมาณ 70%หรือสังเกตว่าส่วนใจกลางของดอกยังมีสีเขียวอยู่ วิธีตัดให้ตัดชิดโคนกิ่งหรือให้มีความยาวของก้านดอกประมาณ 10-12 นิ้ว การตัดดอกควรตัดในช่วงเช้า

โรค-แมลงและการป้องกันกำจัด

โรคทานตะวัน

โรคทานตะวันที่สำคัญได้แก่ โรคโคนเน่าหรือต้นเน่า โรคใบจุด ซึ่งโรคเหล่านี้ผู้ปลูกจะทราบก็ต่อเมื่อเชื้อได้เข้าทำลายต้นแล้ว ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดคือการป้องกันไม่ใช้เชื้อโรคเข้าทำลายต้นได้

1. โรคโคนเน่าหรือต้นเน่า

เกิดจากเชื้อราในดิน ระบาดมากในช่วงฤดูฝนหรือช่วงที่มีน้ำค้าง มีความชื้นสูง ๆ มักเกิดกับต้นแก่มากกว่าต้นอ่อน อาการเริ่มแรกจะพบใบมีสีเหลือง เหี่ยว และแห้งตายทั้งต้น เมื่อถอนต้นขึ้นมาดูจะพบว่าโคนต้นและรากเน่าเป็นสีน้ำตาลหรือดำ พบเส้นใยสีขาอยู่ตามโคนต้นและดิน

การป้องกัน

ไม่ปลูกทานตะวันให้ชิดกันเกินไป เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการบังแสงอันเป็นเหตุให้ต้นมีความชื้นง่ายต่อการเข้าทำลายของโรค เมื่อพบที่เป็นโรคให้ตัดทำลายต้นที่เป็นโรคทิ้งเสีย และอาจใช้วิธีปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนกับทานตะวันเพื่อตัดวงจรของโรคให้หายไป โดยให้ปรับปรุงดินด้วยปูนขาวและปุ๋ยคอก สำหรับต้นที่เป็นโรคให้ถอนและขุดดินในหลุมไปเผา จากนั้นใช้ปูนขาวผสมน้ำราดลงไปในดินอีกครั้ง

2. โรคใบจุด

เกิดจากเชื้อรา เกิดได้ตั้งแต่ระยะต้นอ่อนจนถึงตัดดอก อาการเริ่มแรกจะมีจุดสีน้ำตาลเข้มและมีสีเหลืองล้อมรอบ มักเกิดกับใบแก่มากกว่าใบอ่อน ระบาดมากในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม หรือช่วงที่มีน้ำค้างมาก หากเป็นมากจะทำให้ทานตะวันไม่ให้ผลผลิตเลย

การป้องกัน

ให้หลีกเลี่ยงการเก็บเมล็ดพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูก และตัดทำลายต้นที่เป็นโรคทิ้งเสีย

แมลงศัตรูทานตะวัน

แมลงศัตรูทานตะวันที่สำคัญ ได้แก่ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบส้ม

การป้องกันกำจัด

วิธีที่ดีที่สุดคือดูแลรักษาต้นทานตะวันให้เจริญเติบโตสมบูรณ์แข็งแรง หมั่นกำจัดวัชพืชทำความสะอาดต้นด้วยการ นำใบแก่ที่ร่วงหล่นออกไปให้พ้นบริเวณต้น กำจัดต้นที่เป็นโรคไปเผาทำลาย หรือฉีดพ่นน้ำหมักสะเดาหรือสมุนไพรอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์ในการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น ตะไคร้หอม ข่า ฟ้าทะลายโจร พริกขี้หนู หรือน้ำหมักชีวภาพ เพื่อขับไล่แมลงศัตรูพืชทุก ๆ สัปดาห์ ก่อนที่จะมีโรคแมลงรบกวน โดยควรทำในช่วงเช้าหรือหลังฝนตกหนัก และควรมีการปลูกพืชหมุนเวียนบำรุงดินชนิดอื่น เพื่อตัดวงจรของโรคแมลง และให้มีการใช้ประโยชน์จากดินอย่างเต็มที่ เพราะพืชแต่ละชนิดมีรากลึกและต้องการธาตุอาหารแตกต่างกัน


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ข้อมูลรูปภาพจาก http://ไปที่..link..
อ่าน:3525
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
ประเทศไทยพบโรคใบด่างมันสําปะหลังครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 โดยมีพื้นที่ระบาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมมันสําปะหลังของประเทศ เนื่องจากโรคใบด่างมันสําปะหลังส่งผลให้ผลผลิตมันสําปะหลังลดลง 20 - 80 เปอร์เซ็นต์


โดยการควบคุมโรคใบด่างมันสําปะหลังสามารถทําได้ ดังนี้

1) กําจัดแมลงหวีขาวยาสูบซึ่งเป็นพาหะนําโรค

2) เมื่อพบต้นที่เป็นโรคต้องทําลายทิ้งทันที

3) ไม่ปลูกโดยใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค

ดังนั้นในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคเกษตรกรจึงจําเป็นต้องทําลายต้นที่เป็นโรคและเร่งหาต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคมาปลูกทดแทน ส่งผลให้ต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคไม่เพียงพอต่อความต้องการ การเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่สะอาดปลอดโรค จึงเป็นวิธีการควบคุมโรคใบด่างมันสําปะหลังที่กรมส่งเสริมการเกษตรสนับสนุนและส่งเสริม โดยเฉพาะการให้เกษตรกรขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด เพื่อให้มีท่อนพันธุ์ปลอดโรคที่เพียงพอและลดความเสียหายดังกล่าว

การขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20

หมายถึง การขยายพันธุ์มันสําปะหลังที่ได้ต้นพันธุ์เพิ่มขึ้น 20 เท่า เป็นวิธีการที่สามารถทําได้ง่าย โดยในระยะเวลา 1 เดือน จะได้ต้นพันธุ์มันสําปะหลังถึง 20 ต้น ซึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจากวิธีขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเดิมซึ่งมันสําปะหลัง 1 ลํา จะขยายพันธุ์ได้เพียง 4 - 5 ต้นเท่านั้น

วิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 มีขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกใช้ต้นพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้หรือได้รับการรับรองพันธุ์เป็นท่อนพันธุ์มันสําปะหลังสะอาด

2. ใช้เลื่อยหรือมีดคมตัดให้เป็นท่อนยาวท่อนละ 6-8 เซนติเมตร (โดยให้มีตาประมาณ 2 - 3 ตา)

3. นําสารเคมีป้องกันกําจัดแมลง ไทอะมีโทรแซม 4 กรัม ที่ละลายในน้ำสะอาด 20 ลิตร เติมสารป้องกัน เชื้อราแมนโคเซบ 60 กรัม และเติมฮอร์โมนเร่งราก (B1) 40 มิลลิลิตร แล้วนําท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ลงไปแช่อย่างน้อย 10 นาที

4. จากนั้นนําวางบนตะกร้า ผึ่งลมให้แห้งก่อนนําไปปักชํา

5. นําท่อนพันธุ์ลงปักชําในถุงหรือถาดหลุม ลึก 1 ใน 3 ของท่อนพันธุ์ ให้ตา 1 ตาอยู่ใต้ดินและ 1 ตาอยู่ เหนือดิน โดยวัสดุในการปักชําประกอบด้วย ขี้เถ้าแกลบ ทรายหยาบ ปุ๋ยอินทรีย์ ผสมกันในอัตราส่วน 10: 2: 1 นําใส่ถุงดํา ขนาด 3 x 7 นิ้ว หรือใส่ถาดหลุมขนาด 50 หลุม (ถาดหลุมมีข้อดี คือ ใช้ได้หลายครั้ง ขนย้ายสะดวก)

6. นําถุงหรือถาดที่ปักชําแล้วไปวางในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่าย เพื่อป้องกันแมลงและรดน้ำทุกวัน วันละ 1 ครั้ง

7. ท่อนพันธุ์จะเริ่มแตกตาและออกรากภายใน 1 สัปดาห์ เมื่อครบ 3 สัปดาห์ จะมีรากที่สมบูรณ์เพียงพอที่จะปลูก ให้นําถุงหรือถาดเพาะชําออกวางกลางแดดให้ต้นปรับสภาพอีก 7 วัน ก่อนนําปลูกในแปลงปลูกต่อไป

8. เมื่อปลูกแล้วควรให้น้ำทันที ปลูกในฤดูฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ และหากปลูกในพื้นที่ไม่มีฝน ให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 เดือน

การขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X80

คือการนํายอดที่แตกใหม่จากลําต้นที่ได้จากวิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 มาขยายพันธุ์ ซึ่งวิธีการนี้จะเพิ่มปริมาณต้นพันธุ์จากการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 ได้ถึง 4 เท่า (อย่างน้อย 80 เท่าจากต้นพันธุ์เริ่มต้น)

วิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X80 มีขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกท่อนพันธุ์จากการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 ความยาวท่อน 6 - 8 เซนติเมตร ในการผลิตต้นแม่พันธุ์

2. นําท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ปลูกลงในกระถาง หลังจากท่อนพันธุ์แตกยอดที่อายุ 30 - 45 วัน ให้ตัดยอด โดยมีความยาวยอดประมาณ 10 เซนติเมตร จะได้ยอดอย่างน้อย 1 ยอดต่อท่อนพันธุ์ โดยเก็บท่อนพันธุ์เดิมไว้ในกระถางดูแลตามปกติ

3. นําต้นแม่พันธุ์ที่ได้จากการตัดยอดลงไปปักชำ ในวัสดุปักชําแล้วไปวางในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่าย เพื่อป้องกันแมลง

4. รดน้ำทุกวัน วันละ 1 ครั้ง โดยรากจะเริ่มออกภายใน 2 สัปดาห์ และพร้อมพัฒนาเป็นต้นกล้าใหม่เมื่อครบ 4 สัปดาห์ จากนั้นนําถาดเพาะชําออกวางกลางแดดเพื่อปรับสภาพอีก 7 วัน ก่อนนําไปปลูกในแปลงปลูก

5. เมื่อปลูกแล้วควรให้น้ำทันที ปลูกในฤดูฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ และหากปลูกในพื้นที่ไม่มีฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 เดือน

6. ท่อนพันธุ์ที่ผ่านการตัดยอดในขั้นตอนที่ 2 จะเจริญเติบโตได้ยอดใหม่ ให้ดําเนินการตามขั้นตอนที่ 3 - 5 ซ้ำอีกครั้ง จนกระทั่งท่อนพันธุ์หมดอายุการใช้งาน (ไม่แตกยอดใหม่)

หมายเหตุ : โรงเรือนเพาะชําที่ดีควรปรับความชื้นในอากาศ ให้อยู่ที่ 60 - 70 เปอร์เซ็นต์ และควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้อยู่ที่ 30 - 35 องศาเซลเซียส เพื่อให้ท่อนพันธุ์ที่ปักชํามีอัตราการงอกเกิน 90 เปอร์เซ็นต์

หากเกษตรกรหันมาขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 และ X80 ซึ่งเป็นวิธีการที่สามารถทําได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ นอกจากจะได้ท่อนพันธุ์ปลอดโรคที่เพียงพอแล้วยังปลอดจากโรคใบด่างมันสําปะหลังอีกด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3525
โรคราสนิมขาวเบญจมาศ [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมขาวเบญจมาศ [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
แม้ประเทศไทยตอนบนจะเข้าสู่ฤดูหนาวเต็มตัวแล้วก็ตาม แต่ด้วยสภาพอากาศที่เย็นลงและมีความชื้นสูง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศเฝ้าระวังสังเกตการระบาดของ โรคราสนิมขาว

เพราะเป็นโรคที่มักระบาดรุนแรงมากในฤดูหนาว โดยเฉพาะตามแหล่งปลูกในภาคเหนือ

อาการเริ่มแรก จะพบด้านบนใบมีจุดแผลสีเหลืองขนาดเล็ก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ขึ้น ส่วนบริเวณด้านใต้ใบในตำแหน่งเดียวกันจะพบจุดสีขาวนวลที่เป็นเชื้อราสาเหตุโรค จากนั้น แผลจะขยายใหญ่ขึ้นเป็นจุดนูนกลมสีขาวอมชมพู เมื่อเจริญเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีขาวเกิดกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ

ทำให้เนื้อใบตรงข้ามกลุ่มเชื้อราสาเหตุโรคกลายเป็นสีเหลืองและไหม้ ใบมีลักษณะพอง บิดเบี้ยว กรณีที่โรคระบาดรุนแรง จะทำให้ใบเหลือง ไหม้ แห้ง และร่วง หากพบโรคเกิดกับดอกตูม กลีบเลี้ยง และกลีบดอกจะแห้งไม่คลี่บาน

แนวทางในการป้องกันและกำจัด ให้กำจัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณใกล้เคียง ตัดแต่งใบแก่ออกเพื่อให้ต้นโปร่งมีอากาศถ่ายเทสะดวก และเกษตรกรหมั่นสำรวจตรวจดูแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคให้ตัดส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายนอกแปลงปลูก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมขาวเบญจมาศ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคมันสำปะหลัง: โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดได้ ด้วย ไอเอส
โรคมันสำปะหลัง: โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดได้ ด้วย ไอเอส
สาเหตุของ โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
มีสาเหตุจากเชื้อรา สภาพที่มีความชื้นสูงติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ ในพันธุ์ที่อ่อนแอ เช่นระยอง 72 ระยอง 11 ความเสียหาย 80 % ส่วนพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทาน ยอดจะเหี่ยวแห้งตายลงมาทำให้เกิดมีการเจริญเติบโตของกิ่งหรือยอดใหม่ น้ำหนักผลผลิตจะลดลงหรือเก็บเกี่ยวล่าช้า ผลผลิตจะเสียหาย 30 – 40 %

ลักษณะอาการของ โรคแอนแทรคโนสมันสปะหลัง
ใบจะมีขอบใบไหม้สีน้ำตาลขยายตัวเข้าสู่..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3525
ผักสลัด ใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในผักสลัด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
ผักสลัด ใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในผักสลัด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคใบจุด ใบแห้ง ใบไหม้ ในสลัด เกิดจากเชื้อราสาเหตุ Alternaria sp.
โรคใบจุด ผักสลับ พบมาก ในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง และช่วงที่มีแมลงศัตรูพืชระบาด นำพาโรคใบจุดมาติดในผักสลัด โดยเฉพาะฤดูฝน พบระบาดเป็นอย่างมาก อาการจะเริ่มเป็นจุดสีน้ำตาลเล็กๆ และขยายวงกว้างออกมา

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ปุ๋ยสำหรับทานตะวัน ปุ๋ยฉีด ต้นทานตะวัน FK-1 โตไว ใบเขียว ระบบรากแข็งแรง ดอกสวย ผลผลิตดี
ปุ๋ยสำหรับทานตะวัน ปุ๋ยฉีด ต้นทานตะวัน FK-1 โตไว ใบเขียว ระบบรากแข็งแรง ดอกสวย ผลผลิตดี
ฉีดพ่นด้วย FK-1 ส่งเสริมการเจริญเติบโต แตกยอด ผลิใบดก เขียว สมบูรณ์แข็งแรง แก้ปัญหา ต้นแคระ โตช้า ออกใบน้อย พืชไม่กินปุ๋ยทางราก แก้ปัญหาพืชใบเหลือง จากการขาดธาตุอาหารพืช ส่งเสริมให้พืชสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น ด้วย สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ มีอยู่ใน FK-1

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

FK-1 จาก ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

FK-1 จาก ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
กรมวิชาการเกษตร ปลื้ม มันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ ระยอง 15 อายุ 8 เดือนเก็บผลผลิตได้ดี เปอร์เซ้นแป้งสูง
กรมวิชาการเกษตร ปลื้ม มันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ ระยอง 15 อายุ 8 เดือนเก็บผลผลิตได้ดี เปอร์เซ้นแป้งสูง
กรมวิชาการเกษตร ปลื้ม มันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ ระยอง 15 อายุ 8 เดือนเก็บผลผลิตได้ดี เปอร์เซ้นแป้งสูง
กรมวิชาการเกษตร ปลื้มมันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ระยอง 15 คุณสมบัติสุดปัง เข้าทางความต้องการเกษตรกร สร้างรายได้เร็วขึ้น อายุ 8 เดือนเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ให้ผลผลิตหัวสดสูงถึง 4_632 กก./ไร่ แถมเปอร์เซ็นต์แป้งและผลผลิตแป้งสูงถูกใจโรงงาน ปี 63 มีความพร้อมของท่อนพันธุ์กว่า 2 แสนท่อน ขยายพื้นที่ปลูกได้ถึง 125 ไร่

นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า มันสำปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ผลผลิตส่วนใหญ่นำไปแปรรูปเป็นมันเส้น มันอัดเม็ด เพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ และแป้งมันสำปะหลัง เพื่อใช้ในประเทศและส่งออกต่างประเทศ ปัจจุบันประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังเป็นอันดับ 1 ของโลก มีมูลค่ามากกว่าปีละ 90_000 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม จากปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ราคาปัจจัยการผลิตที่สูงขึ้น สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ปัญหาโรคแมลงที่รุนแรงขึ้น ทำให้ต้นทุนในการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้น

นอกจากนี้ จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ทำให้การผลิตมันสำปะหลังในบางท้องที่เปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกัน เช่น เกษตรกรมีความต้องการรายได้เร็วขึ้น หรือต้องการใช้พื้นที่ในการปลูกพืชหมุนเวียน ดังนั้น การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังพันธุ์ของกรมวิชาการเกษตรจึงตั้งเป้าหมายการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้มันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ที่ให้ผลผลิตสูง เปอร์เซ็นต์แป้งสูง เมื่อเก็บเกี่ยวที่อายุ 8 เดือน ซึ่งโดยปกติมันสำปะหลังจะเก็บเกี่ยวได้ที่อายุ 11-12 เดือน เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังได้เร็วขึ้น และให้ผลตอบแทนต่อไร่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น

อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าวว่า ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง กรมวิชาการเกษตร ได้วิจัยและปรับปรุงมันสำปะหลังเพื่อให้ได้พันธุ์ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้นไม่เกิน 8 เดือน และให้ผลผลิตแป้งสูงกว่าพันธุ์ระยอง 5 ระยอง 7 และระยอง 72 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 โดยเริ่มดำเนินการตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ในปี 2545 จนได้มันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ที่ผ่านการพิจารณารับรองเป็นพันธุ์ล่าสุดจากกรมวิชาการเกษตรเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2562 ใช้ชื่อว่า "มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 15" มีลักษณะเด่น คือ มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น โดยสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ที่อายุ 8 เดือน และเมื่อเก็บเกี่ยวที่อายุ 8 เดือนมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 15 ยังให้ผลผลิตหัวสดสูงถึง 4_632 กก./ไร่ ให้เปอร์เซ็นต์แป้งสูง 29.2 เปอร์เซ็นต์ และให้ผลผลิตแป้งสูง 1_355 กก./ไร่ ซึ่งสูงกว่ามันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ระยอง 7 ระยอง 72 และเกษตรศาสตร์ 50

มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 15 ได้จากการผสมเปิดของพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ซึ่งเป็นพันธุ์แม่ที่ให้ผลผลิตสูงและปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อม ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง หลังจากผ่านการคัดเลือกพันธุ์และเปรียบเทียบพันธุ์เบื้องต้นที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง แล้วได้นำไปปลูกเปรียบเทียบกับพันธุ์มาตรฐานและประเมินผลผลิตที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร ตลอดจนไร่เกษตรกรจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ซึ่งเป็นแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญของประเทศรวม 16 จังหวัด

"ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยองมีความพร้อมของพันธุ์ที่นำไปปลูกขยายต่อในแปลงของเกษตรกรในปี 2562 ได้ท่อนพันธุ์ประมาณ 50_000 ท่อน สามารถปลูกได้ในพื้นที่จำนวน 25 ไร่ และในปี 2563 คาดว่าจะได้ท่อนพันธุ์ประมาณ 250_000 ท่อน เพื่อใช้ปลูกในพื้นที่จำนวน 125 ไร่ เกษตรกรที่สนใจสามารถติดต่อขอรอรับพันธุ์มันสำปะหลังระยอง 15 ได้ ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง กรมวิชาการเกษตร โทรศัพท์ 0-3868-1514 ถือเป็นการมอบของขวัญให้เกษตรกร เนื่องจากที่ผ่านมาเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังจำนวนมากรอพันธุ์ที่สามารถเก็บเกี่ยวได้เร็วมานาน" อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าว

อ้างอิง
kaset1009.com
อ่าน:3525
การจัดการโรคเชื้อราในมะระจีน
การจัดการโรคเชื้อราในมะระจีน
โรคเชื้อราเป็นปัญหาท้าทายที่สำคัญในการปลูกมะระจีน และอาจทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงต่อพืชผล ทำให้ผลผลิตและคุณภาพลดลง ในบทความนี้ เราจะสำรวจการใช้สารประกอบอินทรีย์และการบำบัด IS เพื่อป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในมะระ การรักษาด้วย IS เกี่ยวข้องกับการใช้ส่วนผสมของสารลดแรงตึงผิวและสารฆ่าเชื้อรา ซึ่งสามารถควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขอแนะนำอัตราการผสม 50 ซีซี. ของ IS ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

นอกจากนี้ เรายังแนะนำ FK-1 ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช ผลิตภัณฑ์นี้สามารถใช้บำรุงพืชในขณะเดียวกันก็ป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เราแนะนำให้ผสมอัตราส่วน 50 กรัมของถุงแรก (มีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียม) และ 50 กรัมของถุงที่สอง (มีแมกนีเซียมและสังกะสี) กับน้ำ 20 ลิตร เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

โดยรวมแล้ว การใช้ IS บำบัดและสารประกอบอินทรีย์เช่น FK-1 สามารถให้วิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดการโรคเชื้อราในการปลูกมะระจีน การปฏิบัติตามกลยุทธ์การป้องกันและการกำจัดที่แนะนำซึ่งระบุไว้ในบทความนี้ ผู้ปลูกสามารถปรับปรุงสุขภาพและผลผลิตของพืชผลของตนได้
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 169 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ยากำจัดโรคแอนแทครโนส ใน แตงโม โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/07 11:38:23 - Views: 3459
ทำความรู้จักกับโรคเชื้อราในต้นองุ่น: สาเหตุ อาการ และวิธีป้องกัน
Update: 2566/11/10 08:46:56 - Views: 3717
โรคเชื้อราในอ้อย คู่มือวิธีป้องกันและกำจัด
Update: 2566/05/01 10:34:14 - Views: 3557
ป้องกันกำจัด โรคใบหงิก และ ใบตุ่ม ในยางพารา
Update: 2566/01/10 07:41:58 - Views: 3728
โรคใบไหม้จันผา จันผา ราสนิม ใบแห้ง ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #จันผาใบไหม้ #ปุ๋ยจันผา
Update: 2564/10/31 20:57:43 - Views: 3613
โรคเชื้อราในกัญชา: คู่มือเบื้องต้นการป้องกันและการรักษาโรคกัญชาจากเชื้อราต่างๆ
Update: 2566/05/02 07:44:19 - Views: 3664
ปุ๋ยอ้อย FK-1 และ FK-3S ฉีดพ่นทางใบ ให้อ้อยโตไว ย่างปล้อง เพิ่มผลผลิต ได้ค่า CCS สูง
Update: 2565/12/13 06:02:20 - Views: 3519
ปุ๋ยบำรุงแก้วมังกร ปุ๋ยแก้วมังกร โตไว ระบบรากแข็งแรง ติดดอก ออกผล FK-1 มี N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/12 12:47:31 - Views: 3465
หนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในสวนผักของคุณ
Update: 2566/11/17 14:27:57 - Views: 3507
โรคข้าว โรคดอกกระถิน (False Smut) เกิดจากเชื้อรา Ustilaginoidea virens (Cke.) เข้าทำลายรวงข้าวในระยะเริ่มออกดอก
Update: 2564/02/01 13:32:31 - Views: 3680
เร่งให้ต้นเงาะออกดอกด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
Update: 2567/02/12 14:03:48 - Views: 3766
ปัญหาส้มใบเหลือง แก้ได้ง่ายๆ ด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 14:03:18 - Views: 3599
โรคราใน ฟัก โรคราน้ำค้างในฟัก โรคราในพืชตะกูลฟัก โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/10/02 04:54:52 - Views: 3458
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - ฟื้นระบบรากและปรับปรุงดินในการปลูกกาแฟ
Update: 2567/02/13 09:53:36 - Views: 3704
เชื้อราเข้ากัดกิน มะพร้าว
Update: 2564/08/19 06:08:59 - Views: 3486
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในต้นยางพารา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/29 15:46:35 - Views: 3481
การรับมือกับโรคเชื้อราในดอกกุหลาบ: วิธีป้องกันและการจัดการ
Update: 2566/11/20 09:09:23 - Views: 3551
ยาป้องกันกำจัด รักษา โรคแอนแทรคโนสในกาแฟ
Update: 2564/08/28 21:46:14 - Views: 3544
กำจัด เพลี้ยไฟ ในแตงโม เพลี้ยแตงโม และแมลงศัตรูพืชด้วย มาคา
Update: 2562/08/07 12:01:15 - Views: 4864
การป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในข้าวโพด
Update: 2566/05/17 09:54:42 - Views: 3649
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022