[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

ทุ่มงบประมาณ  34 ล้านบาท ขยายตลาดยางแบบ ข้อตกลงส่งมอบจริง
ทุ่มงบประมาณ  34 ล้านบาท ขยายตลาดยางแบบ ข้อตกลงส่งมอบจริง
ทุ่มงบประมาณ  34 ล้านบาท ขยายตลาดยางแบบ “ข้อตกลงส่งมอบจริง” ภายหลังยอดซื้อขายพุ่งกว่า 700 ล้านบาท คึกคักช่วงราคายางผันผวน ตั้งเป้าเปิดตลาดในเดือนเมษายน 2556 รองรับยางแผ่นรมควัน-ยางแผ่นรมควันอัดก้อน วันละ 60 ตัน
 
นายสุจินต์ แม้นเหมือน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า จากการที่สำนักงานตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช ได้ใช้ระบบตลาดกลางยางพาราดำเนินการทดลองซื้อขายยางแบบมีข้อตกลงส่งมอบจริง (Physical Rubber Forward Market) ตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม 2553 ปัจจุบันการซื้อขายยางด้วยวิธีดังกล่าวประสบความสำเร็จอย่างสูง โดยมีการซื้อขายยางแผ่นรมควันไปแล้วกว่า 1,400 สัญญา คิดเป็นมูลค่าไม่น้อยกว่า 700 ล้านบาท โดยเฉพาะช่วงราคายางผันผวนหรือตกต่ำลง เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรได้นำยางเข้ามาขายในรูปแบบมีข้อตกลงส่งมอบจริงอย่างคึกคัก ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับเกษตรกรที่จะขายยางได้ในราคาที่พึงพอใจ
 
อย่างไรก็ตาม สถาบันวิจัยยางได้จัดสรรงบประมาณ จำนวน 34 ล้านบาท ให้สำนักงานตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราชเร่งพัฒนาและขยายตลาดซื้อขายยางแบบมีข้อตกลงส่งมอบจริงเพื่อรองรับการพัฒนาการผลิตและจำหน่ายทั้งยางแผ่นรมควัน และยางแผ่นรมควันอัดก้อน โดยคาดว่าจะสามารถเปิดตลาดซื้อขายได้ในเดือนเมษายน 2556 เบื้องต้นคาดว่า จะมีปริมาณยางแผ่นรมควันและยางแผ่นรมควันอัดก้อนเข้ามาซื้อขายในตลาดไม่น้อยกว่า 60 ตัน/วัน
 
...เมื่อระบบตลาดเข้าที่แล้ว สถาบัน วิจัยยางมีแผนที่จะส่งเสริมขยายตลาดซื้อยางแบบมีข้อตกลงส่งมอบจริงไปยังตลาดกลางยางพาราสงขลา พร้อมเชื่อมโยงเครือข่ายกับตลาดกลางยางพาราบุรีรัมย์ด้วย...
 
ระบบตลาดซื้อขายยางแบบมีข้อตกลงส่งมอบจริงมีข้อดี คือ มีกระบวนการคัดคุณภาพยางก่อนจำหน่าย ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ประกอบการ ทำให้มีการเสนอซื้อไม่จำกัดปริมาณ ขณะเดียวกันผู้ซื้อและผู้ขายยังสามารถตกลงซื้อขายด้วยความพึงพอใจ ทั้งยังกระตุ้นให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรหันมา สร้างโรงรมยางแผ่นรมควันมากขึ้น มีการพัฒนาการผลิตยางแผ่นรมควันอัดก้อนหรือยางลูกขุนด้วย ซึ่งตลาดรูปแบบนี้ได้รับความสนใจมากในช่วงราคายางตกต่ำ เป็นช่องทางช่วยรักษาเสถียรภาพราคายางและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับยางพาราได้
 
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยางว่า ภายหลังสภามนตรีไตรภาคียางพาราหรือไอทีอาร์ซี (International Tripartite Rubber Council  :ITRC) มีมติเห็นชอบให้จัดตั้ง ตลาดกลางยางพาราระดับภูมิภาค (Regional Rubber Market) ขึ้น เพื่อเชื่อมโยงกิจกรรมการซื้อขายยางธรรมชาติ และช่วยเสริมศักยภาพให้ประเทศสมาชิก ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ไทย มีบทบาทในการกำหนดราคายางธรรมชาติในระดับ  โลก ล่าสุดไทยได้นำเสนอ รูปแบบการซื้อขายยางแบบมีข้อตกลงส่งมอบจริงตามสัญญาที่กำหนด (PhysicalForward Contract Market : PFCM) ซึ่งไทยอยู่ระหว่างพัฒนาระบบและจะเริ่มเปิดตลาดในช่วงต้นปี 2556 ให้ ITRC พิจารณาแล้ว…
 
...ที่ประชุม ITRC สนใจรูปแบบตลาดกลางยางพารา รวมถึงกลไกในการควบคุมการบริหารงานตลาดกลางยางพาราที่ไทยดำเนินการอยู่ ซึ่งจะนำจุดเด่นดังกล่าวมาใช้ในการพัฒนาตลาดยางพาราระดับภูมิภาค โดยให้ประเทศสมาชิกพิจารณารูปแบบการดำเนินการตลาดกลางยางพาราของไทย เพื่อสร้างความพร้อมของทั้ง 3 ประเทศ จากตลาดที่มีการส่งมอบจริงให้สำเร็จในขั้นต้น ก่อนพัฒนาไปสู่ตลาดยางพาราล่วงหน้า ตลาดยางระดับภูมิภาคต่อไป และเชื่อมโยงกับระบบตลาดยางธรรมชาติระดับโลกในอนาคต
 
จาก dailynews.co.th
อ่าน:3324
โรคพืชที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต และ โรคพืช ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต
โรคพืชที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต และ โรคพืช ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต
ปัจจุบันปัญหาด้านเศรษฐกิจนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกที เนื่องจากจำนวนประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่เนื้อที่ทำการเกษตรมีจำกัด หรืออาจน้อยลง เพราะส่วนหนึ่งต้องนำมาใช้เป็นที่อยู่อาศัย เพราะฉะนั้น จึงจำเป็นต้องใช้เนื้อที่ทางด้านการเกษตรที่มีอยู่ ในการเพาะปลูกพืชอย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง ที่ลดผลผลิตของพืช คือ ปัญหาศัตรูพืช ซึ่งหมายถึง โรคพืชและแมลง แมลงและสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้เกิดโรคกับพืช เป็นสิ่งมีชีวิต ได้พยายามปรับตัว เพื่อต่อสู้วิธีการป้องกัน และกำจัดของมนุษย์ตลอดมา เพื่อความอยู่รอด การศึกษาด้านศัตรูพืชจึงต้องกระทำติดต่อตลอดไป เพื่อให้เข้าใจถึงวัฎจักรการเข้าทำลายพืชของแมลงและโรค และใช้วิธีที่เหมาะสมในการป้องกัน และกำจัด เพื่อแก้ปัญหาศัตรูพืชเหล่านี้ให้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งในที่นี้ จะกล่าวถึงเฉพาะด้านโรคพืช ถ้าจะมีใครสักคนถามว่า ความหมายของโรคพืชคืออะไร คงจะให้คำจำกัดความที่แน่นอนลงไปได้ยาก แต่ก็พอจะสรุปว่า เมื่อพืชแสดงอาการผิดปกติไปจากเดิม มีผลทำให้เกิดการสูญเสีย ในแง่การเจริญเติบโต และผลผลิตลดลง ไม่ว่าจะในระยะสั้นหรือยาวก็ตาม ก็ถือว่า พืชเป็นโรคทั้งสิ้น ดังจะได้กล่าวถึง ในรายละเอียดของอาการที่ผิดปกติต่อไป

อาการใบเหลืองซีดของอ้อย เกิดเป็นหย่อมๆ เป็นลักษณะหนึ่งของการขาดธาตุอาหาร อาการใบเหลืองซีดของอ้อย เกิดเป็นหย่อมๆ เป็นลักษณะหนึ่ง ของการขาดธาตุอาหาร
ความเสียหายที่เกิดจากโรคพืช ขึ้นอยู่กับปัจจัยสำคัญ ๓ ประการ คือ ความอ่อนแอของพืชต่อการเกิดโรค ความรุนแรงของเชื้อโรค และสภาพสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมแก่ การเกิดโรค เช่น อุณหภูมิ ความชื้นสภาพ ความเป็นกรด และด่างของดิน ฯลฯ ในกรณีที่พืชอ่อนแอต่อโรคมาก เชื้อโรคมีความรุนแรงมากและสภาพแวดล้อมเหมาะสม ความเสียหาย จะเกิดขึ้นรุนแรง ในอดีต โรคไหม้ (blight) ของมันฝรั่งเคย ระบาดรุนแรง ทำให้ผลผลิตมันฝรั่งในประเทศไอร์แลนด์ลดต่ำลง จนไม่เพียงพอต่อความต้องการในการบริโภคของประชาชน ทำให้ประชาชนอดอาหาร ล้มตายเป็นจำนวนมาก ในประเทศไทย โรคพืชชนิดต่างๆ เช่น โรคใบสีส้มของข้าว โรคราน้ำค้างของ ข้าวโพด โรครากเน่าของทุเรียน ทำให้ผลผลิตของพืชลดลง คิดเป็นมูลค่าปีละหลายพันล้านบาท

โรคพืช แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ

๑. โรคพืชที่เกิดจากสิ่งที่ไม่มีชีวิต

สิ่งไม่มีชีวิตที่สามารถทำให้เกิดอาการผิดปกติแก่พืชได้แก่

๑.๑ ปุ๋ย

พืชที่ขาดธาตุอาหาร หรือได้รับธาตุอาหารมากเกินไป หรือภาษาทางการเกษตร ที่เรามักจะคุ้นเคยเรียกว่า พืชขาดปุ๋ย หรือได้รับปุ๋ยมากเกินไป ปกติธาตุอาหารเหล่านี้ มักมีอยู่ในดิน เพียงพอต่อความต้องการของพืช แต่บางกรณี สภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินที่ไม่เหมาะสม ทำให้ธาตุอาหารต่างๆ เหล่านี้ เปลี่ยนไปอยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถดูดนำมาใช้ได้ หรือบางครั้ง เราปลูกพืชซ้ำที่เดิมเป็นเวลานาน โดยไม่มีการปรับดินให้ปุ๋ย จึงทำให้ดินบริเวณนั้นขาดแคลนธาตุอาหาร และพืชแสดงอาการเป็นโรคขาดธาตุอาหารให้เห็น อาการที่เกิดจากธาตุอาหารนี้ ส่วนใหญ่สังเกตได้ที่ใบอ่อน และใบแก่ โดยจะมีอาการเปลี่ยนสี ใบมีขนาดเล็กลง ม้วนขึ้น หรืองดลง ตลอดจนการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตผิดปกติ ตัวอย่างกรณีให้ปุ๋ยมากเกินไป อาจทำให้ต้นพืชเหี่ยวเฉาตาย หรือใบงามจนเกินไป และไม่ออกรวง เช่น ข้าวเป็นโรคเฝือใบ เนื่องจากได้รับธาตุไนโตรเจนมากเกินไป หรือกล้วยไม้ พวกหวายมาดามตัดดอก มีการบำรุง และเร่งการออกดอก ด้วยปุ๋ยสูตรชนิดต่างๆ โดยมิให้ต้นไม้มีการพักตัว ปรากฏว่า ดอกมาดามที่ตัดจากต้นเหล่านี้มีคุณภาพเลวลง โดยมีระยะการบานไม่ทน เหี่ยวเฉา และหลุดร่วงง่าย ทำให้เสียมาตรฐานคุณภาพไม้ตัดดอก และนำมาซึ่งปัญหาการตลาดระหว่างประเทศต่อไป
อาการก้นเน่าของมะเขือเทศ เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม
อาการก้นเน่าของมะเขือเทศ
เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม ส่วนอาการพืช เนื่องจากขาดธาตุอาหาร พบได้บ่อยครั้ง เช่น โรคอ้อยขาดธาตุเหล็ก ทำให้เกิดอาหารใบเหลืองซีด ส้มที่ขาดธาตุสังกะสี หรือที่เรียกว่า ใบแก้วของส้ม ใบที่ยอดอ่อนจะเรียวเล็ก และชี้ขึ้น หรือโรคก้นเน่าของมะเขือเทศ ซึ่งเกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม เป็นต้น
๑.๒ ดินที่มีสภาพความเป็นกรด เป็นด่างมากเกินไป

โดยปกติสภาพความเป็นกรดด่างของดิน มิใช่ตัวควบคุมการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง แต่มีผลทางอ้อมต่อพืช ในการนำธาตุอาหารในดินมาใช้ หรือในแง่การเจริญเติบโต และอยู่ร่วมกันของเชื้อจุลินทรีย์ในดิน ซึ่งจะมีผลช่วยให้พืชมีการเจริญเติบโตดี หรือผิดปกติไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของดินและพืชแต่ละชนิด เรามักได้ยินคำว่า ดินเปรี้ยว ทำให้พืชมีขนาดเล็ก การเจริญเติบโตช้า อันเนื่องมาจากความเป็นกรดหรือด่างมากเกินไป ทำให้พืชไม่สามารถใช้ธาตุอาหารบางชนิดได้ หรือมีการเสริมให้เชื้อโรคในดินบางชนิดระบาดรุนแรงขึ้น เช่น โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ และพืชบางชนิด ซึ่งเกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม (Fusarium sp.) จะแสดงอาการโรครุนแรงมาก ในดินกรด หรือค่อนข้างไปทางกรด ในทางตรงกันข้าม เชื้อราเวอร์ติซิลเลียม (Verticillium sp.) ซึ่งทำให้เกิดอาการเหี่ยวของมะเขือเทศเช่นเดียวกัน จะทำให้เป็นโรครุนแรงในสภาพดินด่าง เป็นต้น
อาการเหี่ยวของพริก เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม
อาการเหี่ยวของพริก เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม
๑.๓ วิธีการทางเขตกรรม

วิธีการนี้มีหลายกรณี เนื่องจากการเพาะปลูก จำเป็นต้องมีการเตรียมดินฆ่าเชื้อในแปลงปลูกที่เคยเป็นโรคมาก่อน หรืออุปกรณ์ในการเพาะกล้า และย้ายปลูก บางครั้งฤทธิ์ตกค้างของสารเคมีบางชนิดยังคงอยู่ และทำให้เกิดอาการผิดปกติกับพืชได้ การกำจัดวัชพืช หรือการใช้ปุ๋ยซึ่งมีวิธีต่างๆ กันอาจกระทบกระเทือนระบบราก และทำให้เกิดอาการเหี่ยวเฉา การยึดพืชกับเครื่องปลูก หรือสิ่งยึดเกาะ หากไม่แข็งแรงพอจะทำให้ระบบรากสั่นคลอน เนื่องจากกระแสลม หรือแรงกระทำอื่นๆ ทำให้รากไม่ยึดเกาะดิน หรือเครื่องปลูก อาจทำให้พืชเหี่ยวเฉา หรือถึงแห้งตายได้ มักจะเกิดกับกล้วยไม้ และการปลูกพวกกิ่งตอนต่างๆ
อาการใบไหม้ของส้มเกิดจากการใส่ปุ๋ยแล้วขาดการรดน้ำ
อาการใบไหม้ของส้มเกิดจากการใส่ปุ๋ย แล้วขาดการรดน้ำ
๑.๔ แสงแดดหรืออากาศที่ร้อนจัดเกินไป

มีพืชบางชนิด ที่ไม่สามารถทนความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ เช่น พวกพืชอวบน้ำ ใบหนา เมื่อมีหยดน้ำเกาะติดบนใบพืชและถูกแสงอาทิตย์ส่องนานๆ จะทำให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นถูกทำลายเป็นเซลล์ตาย สีน้ำตาลหรือสีดำ และอ่อนแอต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรคอื่นๆ เช่น เชื้อรา เชื้อบัคเตรี ฯลฯ นอกจากนี้ในโรงเรือนที่อบ หรือการขนส่งจำนวนมากๆ ในสภาพอากาศร้อนจัด มักทำให้พืชได้รับการกระทบกระเทือนมีอาการตายนิ่ง สลัดใบทิ้ง ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต หรืออาจถึงแห้งตาย มักเกิดขึ้นกับพืชทุกชนิด
๑.๕ ความชื้นมากหรือน้อยเกินไป

ความชื้นเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่ง ในการเจริญเติบโตของพืช แต่ถ้าความชื้นมากเกินไป ก็มักจะช่วยส่งเสริมการเกิดโรคได้มากขึ้น เช่น การบรรจุไม้ตัดดอกส่งต่างประเทศ จะต้องมีกรรมวิธีการบรรจุที่ถูกต้อง ช่อไม้ดอกจะต้องแห้งปราศจากหยดน้ำบริเวณกลีบดอก ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาดอกเน่า จากการเข้าทำลายของเชื้อบางชนิด ในขณะที่มีการขนส่งไปยังตลาดในระยะทางไกลๆ หรือหากปลูกพืชแช่อยู่ในดิน หรือบริเวณที่ปลูกที่น้ำขัง การระบายน้ำไม่ดี ก็มักจะทำให้ระบบรากเน่า หรือเชื้อโรคในดินเข้าทำลายระบบรากได้ง่าย แต่ถ้าความชื้นน้อยเกินไป ก็จะมีผลโดยตรงกับการเจริญของพืช ต้นพืชจะเหี่ยวเฉา และโตช้า อาการใบไหม้ของไม้ประดับเกิดจากการใส่ปุ๋ยมากและอากาศร้อนจัด
อาการใบไหม้ของไม้ประดับเกิดจากการใส่ปุ๋ยมากและอากาศร้อนจัด
๒. โรคที่เกิดจากสิ่งที่มีชีวิต

มีเชื้อโรคหลายชนิด ที่ทำให้พืชเป็นโรค เชื้อแต่ละชนิดมีคุณสมบัติการเข้าทำลายพืช และการแพร่ระบาดโรคแตกต่างกันไป จึงขอกล่าวถึงเชื้อแต่ละชนิดพอเป็นสังเขป ดังต่อไปนี้

๒.๑ เชื้อรา

เป็นเชื้อที่พบว่า ทำให้เกิดโรคแก่พืชมากที่สุด และทำให้เกิดอาการประเภทต่างๆ บนพืชมากที่สุดด้วย เช่น ใบเป็นแผลจุด ใบไหม้ ใบติด ใบเหี่ยว รากเน่า โคนเน่า ผลเน่า เมล็ดเน่า ต้นกล้าเน่า หรือแห้งตายทั้งต้น เชื้อราส่วนใหญ่มีการแพร่ระบาดโรคด้วยส่วนที่เรียกว่า สปอร์ (spore) โดยมี น้ำ ลม หรือสิ่งมีชีวิตเป็นตัวนำ หรืออาจติดไปกับส่วนของพืชและดินที่เป็นโรค เชื้อราบางชนิดพักตัวอยู่ในส่วนของพืชและดินเป็นเวลานานนับปี มีความสามารถในการเข้าทำลายพืชได้ทั้งทางแผล ช่องเปิดธรรมชาติ หรือเข้าทำลายเนื้อเยื่อพืชโดยตรงทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อรา

อาการใบไหม้เป็นวงซ้อนของใบกล้วยไม้ซึ่งเกิดจากเชื้อรา เข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณที่ถูกแดดเผา อาการใบไหม้เป็นวงซ้อนของใบกล้วยไม้ซึ่งเกิดจากเชื้อรา เข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณที่ถูกแดดเผา
เชื้อราแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ ๔ กลุ่มด้วยกันคือ

๒.๑.๑ ไฟโคไมซิทิส (phycomycets) เรามักเรียก เชื้อราในกลุ่มนี้ว่า ราชั้นต่ำ หรือราน้ำ มีลักษณะที่สำคัญคือ เส้นเชื้อราไม่มีผนังเซลล์กั้นด้านขวาง เรียกว่า โคโนไซติก ไฮฟีหรืออะเซพเทต ไฮฟี (coenocytic hyphae หรือ aseptate hyphae) ขยายพันธุ์ทั้งแบบไม่ใช้เพศโดยสร้างโซโอสปอร์ หรือสปอร์ที่มีหางในถุงหุ้มโซโอสปอร์ (zoosporangium) และแบบใช้เพศโดยผสมระหว่างเส้นใยที่มีลักษณะและเพศต่างกัน ให้สปอร์ผนังหนาผิวเรียบ เรียกว่า โอโอสปอร์ (oospore) หรืออาจเกิดจากการผสมระหว่างเส้นใยที่มีลักษณะและเพศต่างกัน แต่ต่างเพศกันให้สปอร์ผนังหนาขรุขระ เรียกว่า ไซโกสปอร์ (zygospore) สปอร์เหล่านี้จะแพร่ระบาดโดยลมพัดพาไป หรือว่ายน้ำไป เชื้อราในกลุ่มนี้ ทำให้เกิดโรคที่สำคัญกับพืชเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น โรคราน้ำค้างของข้างโพด เกิดจากเชื้อสเคลอโรสปอรา ซอร์ไจ (Scherospora sorghi) โรคราน้ำค้างขององุ่น เกิดจากเชื้อพลาสโมพารา วิทิโคลา (Plasmopara viticola) โรครากเน่าของทุเรียนเกิดจากเชื้อไฟทอฟทอรา (Phytophthora sp.) เป็นต้น

อาการจุดสนิมของดอกกล้วยไม้ที่เกิดจากเชื้อรา มีอาการรุนแรงเมื่อมีความชื้นสูง เข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณที่ถูกแดดเผา อาการจุดสนิมของดอกกล้วยไม้ที่เกิดจากเชื้อรา มีอาการรุนแรงเมื่อมีความชื้นสูง
๒.๑.๒ แอสโคไมซิทิส (ascomycets) เป็นเชื้อราที่เส้นใยมีผนังกั้น (septate hyphae) ขยายพันธุ์ทั้งแบบไม่มีเพศ โดยสร้างสปอร์เรียกว่า โคนิเดีย (conidia) และแบบใช้เพศโดยผสมระหว่างเส้นใยที่มีลักษณะและเพศต่างกัน จะเกิดแอสโคสปอร์ (ascospore) ในถุงหุ้มสปอร์ (ascus) ถุงหุ้มสปอร์นี้อยู่ในกลุ่มเส้นใยซึ่งประสานตัวกัน มีผนังหนาสีดำ เรียกว่า ฟรุตติงบอดี (fruiting) คนโทปากเปิด (perithecium) และรูปถ้วยแชมเปญ (apothecium) ส่วนของฟรุตติงบอดีนี้ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เมื่อเกิดบนพืชเป็นโรคโดยจะเห็นเป็นจุดสีดำๆ เชื้อราในกลุ่มนี้ ทำให้เกิดโรคที่สำคัญ เช่น โรคราแป้งขาวขององุ่น กุหลาบ เป็นต้น
กลุ่มเส้นใยของเชื้อราที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ
กลุ่มเส้นใยของเชื้อรา
ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ ๒.๑.๓ เบสิดิโอไมซิทิส (basidiomycetes) เป็น เชื้อราที่เส้นใยมีผนังกั้น ขยายพันธุ์ทั้งแบบไม่มีเพศโดยสร้าง สปอร์เรียกว่า โคนิเดีย และแบบมีเพศ โดยผสมระหว่างเส้นใยที่ มีลักษณะและเพศต่างกันเกิดสปอร์ เรียกว่า เบสิดิโอสปอร์ (basidiospore) ซึ่งอาจเกิดอยู่ในฟรุตติงบอดี หรือเกาะติดอยู่บน เส้นใยที่มีรูปร่างคล้ายกระบอง เรียกว่า เบสิเดียม (Basidium) เชื้อราในกลุ่มนี้ ทำให้เกิดโรคพืชต่างๆ ที่สำคัญ เช่น โรคสนิม ของพืช โรคเขม่าดำของข้าวโพด เกิดจากเชื้อยูสติลาโก เมย์ดิส (ustilago maydis) โรคเขม่าดำหรือแส้ดำ ของอ้อย เกิดจากเชื้อ ยูสติลาโก ไซตามิเนีย (Ustilago scitaminea) เป็นต้น
๒.๑.๔ ฟังไจอิมเปอร์เฟกไท หรือ ดิวเทอโรไมซิทิส (fungi imperfecti of deuteromycetes) เป็นเชื้อราที่เส้นใยมีผนังกั้น นิยมจัดให้เป็นเชื้อราในกลุ่มชั่วคราว เพราะปกติจะไม่พบการสืบพันธุ์แบบมีเพศ แต่เมื่อใดที่พบการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเชื้อราในกลุ่มนี้ ก็จะจัดย้ายเชื้อรานี้เข้าอยู่ในพวกแอสโคไมซิทิส หรือ เบสิดิโอไมซิทิส (ตามลักษณะของสปอร์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบมีเพศ) ส่วนการสืบพันธุ์แบบไม่ใช้เพศจะมีการสร้างสปอร์ที่เรียกว่า โคนิเดีย เกิดจากก้านสปอร์เรียกว่า โคนิดิโอฟอร์ (conidiophore) หรือบรรจุอยู่ในฟรุตติงบอดี ที่มีรูปร่างหลายแบบ คือ ทรงกลมปิด เรียก พิกนิเดีย (pycnidia) รูปจาน เรียก อาเซอร์วูลัส (acervulus) สปอโรโดเชียม (sporodochium) และซินนีมาตา (synnemata) ฟรุตติงบอดีเหล่านี้สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า และนำมาช่วยในการวินิจฉัยโรคได้บางครั้ง การแพร่ระบาดของราในกลุ่มนี้ มักเกิดขึ้น โดยเชื้อปลิวไปกับลม หรือติดไปกับส่วนของพืชและดินที่มีพืชเป็นโรค เชื้อราในกลุ่มนี้ เป็นสาเหตุของโรคพืช และดินที่มีพืชเป็นโรค เชื้อราในกลุ่มนี้เป็นสาเหตุของโรคพืชที่สำคัญหลายชนิด เช่น โรคใบจุด ใบไหม้ต่างๆ และรากเน่า เกิดจากเชื้อราหลายชนิด เช่น ฟิวราเรียม แอลเทอนาเรีย คอลลีโททริเชียม โกลโอสปอเรียม เซอร์โคสปอรา เซอร์วูาลาเรีย และสเคลอโรเชียม เป็นต้น

๒.๒ บัคเตรี (Bacteria)

จัดเป็นพืชเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กมาก ต้องใช้กล้องขยายอย่างน้อย ๑_๐๐๐ เท่า และถ้าจะให้เห็นชัดจะต้องย้อมสีด้วย มีรูปร่างแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด คือ รูปกลม (spherical or coccus) รูปแท่ง (rod shape or bacillus) และรูปเกลียว (spiral or apirillum) บัคเตรีมีทั้งประโยชน์และโทษ พวกที่เป็นสาเหตุของโรคพืชจะมีรูปร่างเป็นแท่ง (rod shape) ไม่มีการสร้างสปอร์ ส่วนใหญ่เป็นพวกแกรมลบ (gram negative) คือย้อมสีติดสีแดงเป็นแอโรบิคบัคเตรี (Aerobic bacteria) คือ ต้องใช้ออกซิเจนในการเจริญเติบโต ส่วนใหญ่ไม่ทำลายเซลลูโลส และไม่ย่อยแป้ง มักมีชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในดิน เมื่อปลูกพืช มันก็จะเข้าทำลายพืชชอบสภาพเป็นกรดน้อยๆ และความชื้นสูง แพร่ระบาดได้ดีโดยไปกับน้ำ ลม เศษพืชที่เป็นโรค คุณสมบัติดังกล่าวนี้คือ บัคเตรีในสกุลซูโดโมนัส แซนโทโมนัส เออร์วิเนีย อะโกรแบคทีเรียม โคริเนเบคทีเรียม และสเตร็พโทไมซิส

รูปร่างและหางของเชื้อบัคเตรี : หางเดี่ยวที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของเซลล์ (Monotrichous) รูปร่างและหางของเชื้อบัคเตรี : หางเดี่ยวที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของเซลล์ (Monotrichous)
๒.๓ ไวรัส (virus)

เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กที่สุด ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา (light microscope) ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscope) ซึ่งมีกำลังขยายสูงจึงจะสามารถมองเห็นได้ ไวรัสประกอบด้วยโปรตีน (protein) และกรดนิวคลิอิก (nucleic acid) ซึ่งกรดนิวคลิอิกนี้จะต้องเป็นชนิดอาร์เอ็นเอ หรือ ดีเอ็นเอ เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ไวรัสพืชส่วนใหญ่จะประกอบด้วยโปรตีน และกรดนิวคลิอิกชนิดอาร์เอ็นเอไวรัสทวีจำนวนได้เฉพาะในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เช่น เซลล์พืช เป็นต้น และมีคุณสมบัติ ทำให้พืชแสดงอาการผิดปกติ หรือเกิดโรคกับพืชนั่นเอง อาการส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นได้แก่ ใบเปลี่ยนสี เปลี่ยนรูปร่าง พืชแคระแกร็น ไวรัสพืชมีรูปร่างได้หลายแบบ ได้แก่
กลุ่มไวรัสพืช
กลุ่มไวรัสพืช
๒.๓.๑ ท่อนสั้น (short rod) ซึ่งมีทั้งท่อนตรงสั้น หัวท้ายตัด ได้แก่ ไวรัสที่ทำให้เกิดใบด่างกับยาสูบคือ เชื้อโทแบคโค โมเสค หรือทีเอ็มวี (Tobacco mosaic virus_ TMV) หรือเชื้อท่อนสั้น หัวท้ายมน (bacilliform) และไวรัสที่ทำให้เกิดโรคใบสีส้มของข้าง เป็นต้น

๒.๓.๒ รูปกลม (sphaerical) มีตั้งแต่รูปกลมขนาดเล็กลงจนถึงขนาดใหญ่ เป็นสาเหตุของโรคหลายชนิด เช่น โรคใบด่างของแตง ใบด่างของพิทูเนีย เป็นต้น

๒.๓.๓ ท่อนยาวคด (fleaxeous rod) มีขนาดความยาวแตกต่างกัน และเป็นกลุ่มที่มีไวรัสต่างชนิดจำนวนมาก เช่น ไวรัสทำให้เกิดโรคยอดบิด ใบด่างของกล้วยไม้ตระกูลต่างๆ และพวกที่มีความยาวมากที่สุด ได้แก่ ไวรัสทริสเทซา (tristeza) ทำให้เกิดโรคกับส้มซึ่งมีระบาดทั่วไปในเขตที่มีการปลูกส้ม รวมทั้งในประเทศไทยด้วย
โรคจู๋ของข้าว
โรคจู๋ของข้าว การเข้าทำลายพืชของไวรัสต้องอาศัยแผล ซึ่งอาจเกิดจากการเสียดสีกัน ของต้นไม้ ในธรรมชาติหรือคนและสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะแมลงเป็นตัวทำ ไวรัสไม่สามารถเข้าทำลายพืชโดยตรงด้วยตัวเอง เหมือนเชื้อราบางชนิด ด้วยเหตุนี้แมลงจึงเป็นพาหะสำคัญที่ทำให้เกิดโรคไวรัสพืชระบาดได้กว้างขวาง รวดเร็ว และยากลำบากต่อการป้องกัน และกำจัด ตัวอย่างของโรคไวรัสที่สำคัญๆ ในประเทศไทยได้แก่ โรคจู๋ของข้าว โรคใบสีส้มของข้าว โรคใบด่างของพืชหลายชนิด เช่น พริก ยาสูบ แตง ถั่วต่างๆ ฯลฯ
ไวรัสจัดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคพืช และเสียหายมาก ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างของต่างประเทศ ที่มีการศึกษาทางด้านนี้มาก เช่น มันฝรั่งซึ่งเป็นอาหารหลักของชาวยุโรปมีไวรัสหลายชนิดเข้าทำลาย และทำให้ผลผลิตลดลงอย่างต่ำที่สุดประมาณ ๑๐-๑๕ เปอร์เซ็นต์ พืชชนิดอื่นๆ ได้แก่ ผักและผลไม้ เช่น ส้ม ในเมืองเซาเปาโล ประเทศบราซิลมีไวรัสทริสเทซาระบาด โดยมีแมลงเพลี้ยอ่อนเป็นตัวนำโรค ภายในเวลา ๑๒ ปี ทำให้ไร่ส้มเสียหายและตายประมาณ ๖ ล้านต้น (ประมาณ ๗๕ เปอร์เซ็นต์ ของส้มที่ปลูก) ในประเทศกานา (Ghana) จำเป็นต้องโค่นต้นโกโก้จำนวนกว่า ๑๐๐ ล้านต้นทิ้งในปี ค.ศ. ๑๙๔๕ เพื่อหยุดการแพร่ระบาดของโรคยอดบวมของโกโก้ ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสที่แมลงเพลี้ยแป้งเป็นตัวนำ ส่วนองุ่นผลผลิตลดลงประมาณ ๑๐-๑๕ เปอร์เซ็นต์ อันเป็นผลจากการทำลายของไวรัสเกรพไวน์แฟนลีด (grapevine fanleaf) ซึ่งแพร่ระบาด โดยมีไส้เดือนฝอยเป็นตัวนำ และติดไปกับส่วนขยายพันธุ์จากต้นเป็นโรค ตัวอย่างเหล่านี้เป็นข้อเตือนใจ ที่เราควรจะได้ศึกษาถึงปัญหาโรคไวรัสในบ้านเรา เพื่อเตรียมการป้องกันเกิดปัญหารุนแรงแก่พืชผลของเราต่อไป
๔. ไมโคพลาสมา (Mycoplasma)

เชื้อนี้ทำให้เกิดโรคกับพืช โดยอาศัยอยู่ในท่อน้ำท่ออาหารของพืช เชื้อมีขนาดเล็กกว่าบัคเตรี แต่ใหญ่กว่าไวรัส ไม่มีผนังเซลล์จึงมีรูปร่างไม่แน่นอน ไมโคพลาสมาบางชนิดสามารถเลี้ยงได้ในอาหารเลี้ยงเชื้อพิเศษ มีการแพร่ระบาด โดยมีแมลงบางชนิดเป็นพาหะ เช่น เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน และถ่ายทอดโรคได้ โดยต้นฝอยทอง (dodder) หรือการติดตาเทียบกิ่ง ลักษณะอาการส่วนใหญ่ที่พืชแสดง เนื่องจากการเข้าทำลายของเชื้อไมโคพลาสมา ได้แก่ ส่วนของพืชที่มีสีเขียว เปลี่ยนเป็นสีเหลือง (yellows) หรือขาว (white leaf) แตกเป็นพุ่ม (witches broom) บริเวณจุดเจริญต่างๆ เช่น ยอดหรือตา ส่วนที่เจริญเป็นดอกมีลักษณะคล้ายใบเป็นกระจุก (phyllody) ลักษณะอื่นๆ คือ ต้นแคระแกร็นและไม่เจริญเติบโต โรคทีสำคัญที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมาที่พบในประเทศไทย ได้แก่ โรคกรีนนิงของส้ม โรคพุ่มไม้กวาดของลำไย โรคใบขาวของอ้อย เป็นต้น เชื้อไมโคพลาสมา
เชื้อไมโคพลาสมา
๕. ไส้เดือนฝอย (Nematode)

เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลำตัวไม่แบ่งเป็นปล้องมีเพศแยกจากกันซึ่งเป็นลักษณะต่างจากไส้เดือนธรรมดา เรามักพบได้ทั่วไป ทั้งในดิน น้ำจืด น้ำเค็ม หรือแม้แต่ในร่างกายของคนและสัตว์ เช่น พยาธิต่างๆ ไส้เดือนฝอยที่ทำให้เกิดโรคกับพืช มีขนาดค่อนข้างเล็กประมาณ ๐.๒-๒ มิลลิเมตร มักเข้าทำลายรากพืชทำให้เกิดอาการรากปม รากเป็นแผล บางชนิดทำลายดอก เมล็ดต้นหรือหน่อ ไส้เดือนฝอยบางชนิดเป็นพาหะนำโรคไวรัสพืชและเป็นตัวการแพร่ระบาดโรค โรคที่สำคัญ ได้แก่ โรครากปมของมะเขือ พริก พืชตระกูลแตง เป็นต้น ลักษณะการเข้าทำลายพืชของไส้เดือนฝอยรากปม คือ เข้าดูดกินน้ำเลี้ยง บริเวณเซลล์รากพืช และปล่อยเอนไซม์มาละลายผนังเซลล์ ทำให้เกิดเซลล์ขนาดใหญ่ หรือปล่อยฮอร์โมนมากระตุ้นให้เซลล์มีการแบ่งตัวมากผิดปกติ จึงทำให้พืชแสดงอาการรากบวมโต หรือเป็นปุ่มปม บางครั้งทำให้ปลายรากกุด ส่วนอาการที่แสดงบนต้นพืชคือ เหี่ยวเฉา แคระแกร็น ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลผลิตลดน้อย ไส้เดือนฝอยรากปมนี้มีพืชอาศัยเป็นจำนวนมาก ประมาณกว่า ๒_๕๐๐ ชนิด
นอกจากเชื้อต่างๆ ดังกล่าวที่ทำให้เกิดโรคกับพืชแล้วยังมีสิ่งมีชีวิตชั้นสูง คือ พวกมีดอก แต่มีลักษณะบางอย่างไม่สมบูรณ์ เช่น กาฝาก ฝอยทอง ซึ่งนอกจากจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากต้นพืช ทำให้พืชเกิดอาการผิดปกติ และการเจริญเติบโตลดน้อยลงแล้ว บางชนิดยังเป็นตัวถ่ายทอดโรค และทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค เช่น ต้นฝอยทองบางชนิดเป็นตัวถ่ายทอดโรค ที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมา เป็นต้น

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
หญ้าแม่มด
หญ้าแม่มด
หญ้าแม่มด (Witch weed; Striga asiatica) เป็นพืชที่ต้องอิงอาศัยพืชชนิดอื่น (obligate parasite) จัดเป็นวัชพืชใบกว้างฤดูเดียว มีอายุ 90-120 วัน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด มีลำต้นตั้งตรง มีขนสีขาวปกคลุมทั่วลำต้น ขนาดความสูงประมาณ 15-40 เซนติเมตร มีดอกเดี่ยวสีขาว ออกตามซอกใบ ฝักมีสีน้ำตาลแก่ 1 ฝัก มีเมล็ดเฉลี่ย 736 เมล็ด หรือ 1 ต้น สร้างเมล็ดได้ถึง 200_000 เมล็ด เมล็ดมีชีวิตในดินได้นาน 15-20 ปี

พืชอาศัยของหญ้าแม่มดมีหลายชนิด ได้แก่ อ้อย ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ข้าวฟ่างหางกระรอก peal millet ข้าว ฯลฯ หลังเมล็ดงอก จะแทงรากเข้าไปในรากของพืชอาศัย เพื่อดูดกินน้ำเลี้ยง ทำให้พืชอาศัยแคระแกร็น หรือแห้งตาย

การป้องกันกำจัด

ใช้เมล็ดพันธุ์/ท่อนพันธุ์ จากแหล่งที่ไม่มีการระบาด
ระวังการแพร่กระจายของเมล็ด เนื่องจากมีขนาดเล็กคล้ายฝุ่น สามารถปลิวไปกับลม ไหลไปกับน้ำ ติดไปกับเครื่องมือ เครื่องจักรกลการเกษตร รวมทั้งผู้ปฏิบัติงานในแหล่งที่มีหญ้าแม่มด
ปลูกพืชหมุนเวียน ที่ไม่ใช่พืชอาศัย
กำจัดวัชพืชประเภทใบแคบวงศ์หญ้าที่เป็นพืชอาศัย
ไม่ควรใช้มือถอนหรือจอบดาย เพราะจะทำให้หญ้าแม่มดแตกหน่อใหม่จากลำต้นใต้ดิน
พ่นด้วยสารซัลเฟนทราโซน อัตรา 300 มิลลิลิตรต่อไร่ หลังพ่นสารสองเดือน หากยังมีการแตกต้นใหม่ ให้พ่นซ้ำอีกครั้ง
แหล่งข้อมูล :
FB สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย
http://www.farmkaset..link..
ที่มา http://www.farmkaset..link..
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ ใบจุด และโรคพืชจากเชื้อราอื่นๆ ในต้นข้าวโพด ด้วย ไอเอส และ FK-1
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ ใบจุด และโรคพืชจากเชื้อราอื่นๆ ในต้นข้าวโพด ด้วย ไอเอส และ FK-1



โรคจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุด และโรคพืชอื่นๆ สามารถลดผลผลิตและคุณภาพของข้าวโพดได้อย่างมาก.

แนวทางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเชื้อราในข้าวโพดคือการใช้สารประกอบอินทรีย์ ไอเอส ซึ่งได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชโดยใช้เทคนิคการควบคุมด้วยไอออน ไอเอส สามารถควบคุมโรคเชื้อราในข้าวโพดได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

การใช้ ไอเอส ให้ผสม 50 ซีซี กับน้ำ 20 ลิตร แล้วฉีดพ่นให้ทั่วใบข้าวโพด ควรทำอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคเชื้อรา.

นอกจากการใช้สารประกอบอินทรีย์แล้ว การใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมยังมีความสำคัญต่อการเพิ่มผลผลิตของข้าวโพด ปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งคือปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK1 ซึ่งมีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว การผสมผสานสารอาหารที่สมดุลนี้มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาของข้าวโพด เนื่องจากช่วยเพิ่มการพัฒนาของราก เพิ่มการออกดอกและติดผล และเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของข้าวโพด.

ในการใช้ FK1 ให้ผสม 50 กรัมของถุงแรกและ 50 กรัมของถุงที่สอง (ทั้งสองถุงบรรจุในกล่องเดียวกันซึ่งมีน้ำหนัก 2 กก.) กับน้ำ 20 ลิตรแล้วคนให้ละลาย ควรฉีดพ่นที่ใบข้าวโพดเพื่อการดูดซึมและการใช้สารอาหารสูงสุด.

การใช้ทั้ง ไอเอส และ FK1 ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดสามารถลดอุบัติการณ์ของโรคเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุด และโรคพืชอื่นๆ ได้อย่างมาก อีกทั้งยังเพิ่มผลผลิตและคุณภาพสูงสุด ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสำหรับใช้ในไร่ข้าวโพด ซึ่งรับประกันความยั่งยืนและความสำเร็จในระยะยาวของอุตสาหกรรมข้าวโพด

http://ไปที่..link..

เลือกซื้อ ไอเอส และ FK-1 เลื่อนลงล่างอีกนิดนะคะ
ยาอินทรีย์ แก้โรคพืชจากเชื้อรา และกำจัดเพลี้ยแมลงศัตรูพืช
ยาอินทรีย์
แก้โรคพืชใบไหม้ ใบจุด รากเน่า แคงเกอร์ ไฟท็อปฯ เลือก ไอเอส 450 บาท
แก้เพลี้ย และแมลงศัตรูพืชจำพวกปากดูดทุกชนิด เลือกเลย มาคา 470 บาท
ส่งฟรีถึงบ้าน ชำระปลายทาง

สั่งซื้อทักแชทเลยนะคะ (ถ้าเม้นบางทีตามเก็บไม่ทันค่ะ)

ชอบซื้อกับลาซาด้าก็ได้เลย
โทร 090-592-8614 ไลน์ไอดี FarmKaset
ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ
อ่าน:3324
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผักกาดหอม
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผักกาดหอม
โรคเชื้อราในผักกาดหอมสามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อพืชผล ซึ่งนำไปสู่การสูญเสียผลผลิตและการสูญเสียทางเศรษฐกิจสำหรับผู้ปลูก ในบทความนี้ เราจะกล่าวถึงวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในผักกาดหอมโดยใช้สารอินทรีย์และ IS

IS เป็นสารผสมที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเชื้อราต่างๆ ในพืช อัตราการผสมที่แนะนำคือ 50 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร สารประกอบอินทรีย์ยังสามารถใช้ป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถใช้ FK-1 เพื่อบำรุงพืชและเพิ่มความต้านทานต่อโรคเชื้อรา FK-1 ประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี รวมทั้งสารลดแรงตึงผิว

เมื่อใช้วิธีการเหล่านี้ร่วมกัน ผู้ปลูกผักกาดหอมสามารถลดอุบัติการณ์ของโรคเชื้อราในพืชผลและเพิ่มผลผลิตได้อย่างมาก วิธีการนี้ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยต่อการบริโภคของมนุษย์อีกด้วย เราขอแนะนำให้ผู้ปลูกรวมวิธีการเหล่านี้ไว้ในแนวทางปฏิบัติในการจัดการพืชผลตามปกติเพื่อให้แน่ใจว่าพืชผักกาดหอมมีสุขภาพดีและให้ผลผลิต
การจัดการโรคเชื้อราอย่างมีประสิทธิภาพในต้นแครอท
การจัดการโรคเชื้อราอย่างมีประสิทธิภาพในต้นแครอท
โรคเชื้อราเป็นปัญหาหลักสำหรับผู้ปลูกต้นแครอท เนื่องจากอาจทำให้ผลผลิตและคุณภาพของพืชลดลงอย่างมาก ในบทความนี้ เราจะหารือเกี่ยวกับกลยุทธ์การจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับโรคเชื้อราในต้นแครอทโดยใช้ IS และสารประกอบอินทรีย์

IS เป็นสารต้านเชื้อราที่ทรงพลังที่สามารถป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชได้หลากหลายชนิด ใช้งานง่าย อัตราการผสม 50 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร เมื่อใช้เป็นประจำ IS สามารถช่วยป้องกันโรคเชื้อราไม่ให้เข้ายึดและแพร่กระจายไปทั่วพืชผล

นอกจาก IS แล้ว สารประกอบอินทรีย์ยังสามารถใช้ป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้อีกด้วย FK-1 เป็นสารประกอบอินทรีย์สูตรพิเศษที่พร้อมบำรุงพืชพร้อมทั้งปกป้องจากโรคเชื้อรา FK-1 ประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว ซึ่งทำงานร่วมกันเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและป้องกันโรคจากเชื้อรา

ในการใช้ FK-1 เพียงผสม 50 กรัมของถุงแรก (องค์ประกอบหลัก) และ 50 กรัมของถุงที่สอง (องค์ประกอบเสริม) กับน้ำ 20 ลิตร ใช้ส่วนผสมนี้กับพืชอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่ามีการป้องกันสูงสุดจากโรคเชื้อรา

ด้วยการรวมการใช้ IS และสารประกอบอินทรีย์เช่น FK-1 ผู้ปลูกสามารถจัดการกับโรคเชื้อราในต้นแครอทได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้พืชผลแข็งแรงและให้ผลผลิตดี
กำจัดเพลี้ย ใน กระเพรา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดเพลี้ย ใน กระเพรา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Beauveria mix Methharicium จำหน่ายภายใต้ชื่อแบรนด์ Butarex เป็นส่วนผสมของยาฆ่าแมลงที่ใช้สำหรับป้องกันและกำจัดเพลี้ยในต้นกะเพรา ส่วนผสมนี้ประกอบด้วยสารออกฤทธิ์ 2 ชนิด ได้แก่ Beauveria bassiana และ Metharizium anisopliae

Beauveria bassiana เป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งสามารถติดเชื้อและฆ่าแมลงศัตรูพืชต่างๆ รวมถึงเพลี้ย เมื่อฉีดพ่นบนต้นโหระพา สปอร์ของ Beauveria bassiana จะติดกับตัวของเพลี้ยและเจาะทะลุโครงร่างภายนอกของเพลี้ย ซึ่งทำให้พวกมันตายในที่สุด

Metharizium anisopliae เป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งที่สามารถติดเชื้อและฆ่าแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เมื่อรวมกับบิวเวอเรีย บาสเซียนา ส่วนผสมจะยิ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดเพลี้ย

Methharicium ผสม Beauveria ยี่ห้อ Butarex ถือเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแทนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแบบดั้งเดิม ไม่เป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์ และไม่ทิ้งสารตกค้างที่เป็นอันตรายในต้นโหระพา

ในการใช้บิวทาเร็กซ์ ให้เจือจางส่วนผสมด้วยน้ำตามคำแนะนำของผู้ผลิต แล้วฉีดพ่นลงบนต้นโหระพาที่ได้รับผลกระทบ สิ่งสำคัญคือต้องฉีดพ่นพืชให้ทั่วถึง รวมถึงใต้ใบ ซึ่งเพลี้ยมีแนวโน้มที่จะรวมตัวกัน

โดยรวมแล้ว บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียมเป็นวิธีแก้ปัญหาที่มีแนวโน้มดีในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยในต้นกะเพรา โดยไม่ต้องใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เป็นอันตราย สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ผลิตทุกครั้งเมื่อใช้ยาฆ่าแมลง รวมถึงบิวทาเร็กซ์ เพื่อความปลอดภัยและประสิทธิภาพ

อะมิโนโปรตีนจำเป็นต่อพืช 18 ชนิด ช่วนในการส้รางฮอร์โมนพืช โตไว ผลใหญ่ แข็งแรง ทนแล้ง ทนโรค ทำไห้เกิดการสร้างและขยายขนาดของเซลล์เนื้อเยื่อ และพัฒนาส่วนต่างๆของพืชเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบ ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
ปุ๋ยแก้วมังกร FK-1 และ FK-3 เร่งโต และ เพิ่มผลผลิตแก้วมังกร โดยรายละเอียดังต่อไปนี้
ปุ๋ยแก้วมังกร FK-1 และ FK-3 เร่งโต และ เพิ่มผลผลิตแก้วมังกร โดยรายละเอียดังต่อไปนี้
ปุ๋ยแก้วมังกร FK-1 และ FK-3 เร่งโต และ เพิ่มผลผลิตแก้วมังกร โดยรายละเอียดังต่อไปนี้
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่นเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต ของแก้วมังกร หลังจากนั้นฉีดพ่น ปุ๋ย FK-3 เมื่อเริ่มติดผล จะทำให้ผลโต น้ำหนักดี มีคุณภาพ ได้ผลผลิตสูงขึ้น

ทั้งสองประกอบด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นต่อแล้วมังกร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี สารลดแรงตึงผิว ซึ่งแต่ละธาตุ มีบทบาทสำคัญดังต่อไปนี้

แก้วมังกร หรือที่เรียกว่าพิทยา เป็นผลไม้เมืองร้อนที่มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ผลไม้นี้ได้รับการยกย่องในด้านรสชาติที่หวานและชุ่มฉ่ำ รวมถึงสีสันที่สดใสและรูปลักษณ์ที่ไม่เหมือนใคร ในการเติบโตและเจริญเติบโต ต้นแก้วมังกรต้องการสารอาหารหลักหลายชนิด รวมทั้งแมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว

แมกนีเซียมเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช มีบทบาทสำคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงและการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ หากไม่มีแมกนีเซียมในระดับที่เพียงพอ ต้นแก้วมังกรอาจมีการเจริญเติบโตลดลง ใบเหลือง และผลผลิตผลลดลง นอกจากนี้ แมกนีเซียมยังจำเป็นสำหรับการพัฒนาผลไม้อย่างเหมาะสม ช่วยให้มั่นใจได้ถึงความหวานและรสชาติของผลไม้

สังกะสีเป็นสารอาหารที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งสำหรับต้นแก้วมังกร เนื่องจากสังกะสีมีส่วนในปฏิกิริยาของเอนไซม์ต่างๆ และมีบทบาทสำคัญในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช การขาดธาตุสังกะสีสามารถนำไปสู่การเติบโตแคระแกรน ผลผลิตผลไม้ลดลง และปัญหาอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังกะสีมีความจำเป็นต่อการสร้างเมล็ดผลไม้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นแหล่งสารอาหารที่สำคัญสำหรับพืช

สารลดแรงตึงผิว ลดแรงตึงผิวของน้ำ ทำให้กระจายไปทั่วใบและรากของพืชได้ง่ายขึ้น นี่เป็นสิ่งสำคัญสำหรับต้นแก้วมังกรเนื่องจากต้องการน้ำมากในการเจริญเติบโตและเจริญเติบโต สารลดแรงตึงผิวสามารถช่วยให้แน่ใจว่าน้ำกระจายทั่วถึงทั่วทั้งต้น ให้ความชุ่มชื้นแก่ใบและรากอย่างเพียงพอ

โดยสรุปแล้ว แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิวล้วนเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับต้นแก้วมังกร หากไม่มีสารอาหารเหล่านี้ในระดับที่เพียงพอ ต้นแก้วมังกรอาจประสบกับการเจริญเติบโตที่ลดลง ผลผลิตผลที่ลดลง และปัญหาอื่นๆ เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ปลูกแก้วมังกรที่จะต้องให้สารอาหารเหล่านี้แก่พืชเพื่อให้เจริญเติบโตแข็งแรงและได้ผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์

แก้วมังกรต้องการสารอาหารที่หลากหลายในการเจริญเติบโต รวมทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม องค์ประกอบทั้งสามนี้มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการปลูกแก้วมังกร

ไนโตรเจนเป็นสารอาหารที่สำคัญสำหรับพืช เนื่องจากมีบทบาทสำคัญในการผลิตคลอโรฟิลล์ ซึ่งเป็นสารสีที่ช่วยให้พืชสังเคราะห์แสงและผลิตพลังงานได้ ไนโตรเจนยังมีความสำคัญต่อการพัฒนาใบ ลำต้น และรากใหม่ และจำเป็นต่อการเจริญเติบโตและสุขภาพโดยรวมของพืช หากไม่มีธาตุไนโตรเจนเพียงพอ ต้นแก้วมังกรอาจไม่สามารถเติบโตได้เต็มศักยภาพ และอาจทำให้ผลมีขนาดเล็กลงและมีรสชาติน้อยลง

ฟอสฟอรัสเป็นสารอาหารที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งสำหรับพืช และจำเป็นต่อการพัฒนาของรากที่แข็งแรงและผลที่แข็งแรง ฟอสฟอรัสมีส่วนเกี่ยวข้องในการถ่ายโอนพลังงานภายในพืช และมีความสำคัญต่อการผลิตเอนไซม์และฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนา หากไม่มีฟอสฟอรัสที่เพียงพอ ต้นแก้วมังกรอาจชะงักการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตลดลง

โพแทสเซียมเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับต้นแก้วมังกรและมีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ ภายในโรงงาน โพแทสเซียมมีความสำคัญต่อการควบคุมการดูดซึมน้ำและสารอาหาร เช่นเดียวกับการผลิตโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการพัฒนาลำต้นที่แข็งแรงและความต้านทานต่อโรค หากไม่มีโพแทสเซียมที่เพียงพอ ต้นแก้วมังกรอาจอ่อนแอต่อศัตรูพืชและโรคต่างๆ และอาจให้ผลที่เล็กลงและมีรสชาติน้อยลง

โดยสรุปแล้ว ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมล้วนเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของต้นแก้วมังกร การดูแลให้สวนแก้วมังกรสามารถเข้าถึงสารอาหารเหล่านี้ได้เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการผลิตผลไม้ที่ดีต่อสุขภาพและมีรสชาติดี การให้สารอาหารที่จำเป็นแก่พืช เกษตรกรสามารถช่วยให้พืชผลแก้วมังกรประสบความสำเร็จได้

สนใจปุ๋ย FK1 และ FK-3 ช่องทางสั่งซื้อ

ลาซาด้า

FK-1 บนลาซาด้า http://ไปที่..link..

FK-3 บนลาซาด้า http://ไปที่..link..

ช้อปปี้

FK-1 บนช้อปปี้ http://ไปที่..link..

FK-3 บนช้อปปี้ http://ไปที่..link..

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี @FarmKaset
อ่าน:3324
เซ็นทรัลแล็บ ชวนผู้ประกอบการอาหาร ยา เครื่องสำอาง ตรวจรับรองคุณภาพสินค้า เรียกความเชื่อมั่นผู้บริโภค
เซ็นทรัลแล็บ ชวนผู้ประกอบการอาหาร ยา เครื่องสำอาง ตรวจรับรองคุณภาพสินค้า เรียกความเชื่อมั่นผู้บริโภค
บริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด เตรียมเปิดศูนย์บริการรับตัวอย่างแห่งใหม่ เพื่อรอบรับงานบริการของผู้ประกอบการตั้งแต่ระดับ SMEs วิสาหกิจชุมชน และภาคการส่งออกตามหลักมาตรฐานสากล

วันที่ 17 มิ.ย.62 นายนราวิทย์ เปาอินทร์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ เซ็นทรัลแล็บไทย กล่าวใน งานวันคล้ายวันสถาปนาบริษัท ครบรอบปีที่ 16 โดยมีแคมเปญ เซ็นทรัลแล็บไทย 17-17 Delivery ส่งง่าย รับเร็ว ลูกค้าพึงใจ โดยกำหนดทิศทางการดำเนินงานในช่วงที่จะก้าวสู่ปีที่ 17 ที่จะเตรียมการขยายความร่วมมือ กับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐภาคเอกชน โดยที่ผ่านได้ให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพสินค้าให้กับประชาชนในทุกมิติ ทั้งอาหาร ยา เครื่องอำอาง ฯลฯ

โดยจะเริ่มเปิดศูนย์บริการรับตัวอย่างมาตรวจสอบ แห่งใหม่อย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม ที่ จ.สุราษฏร์ธานี เพื่อเป็นศูนย์รองรับการให้บริการในพื้นที่จังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน และให้บริการคำแนะนำ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจทดสอบมาตรฐานสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน การฝึกอบรมทางห้องปฏิบัติการ และการสอบเทียบเครื่องมือ

ด้านนายอารยะ โรจนวณิชชากร ที่ปรึกษาสำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. กล่าวว่า การรับรองมาตรฐานและคุณภาพ ในสินค้ามีความสำคัญมา โดยเฉพาะ อาหาร ยา และเครื่องสำอาง โดยทาง อย. มีข้อกำหนดไว้ว่า ผู้ประกอบการที่จะขอขึ้นทะเบียนกับ อย. ทุกราย จะต้องนำผลิตภัณฑ์ ไปตรวจสอบกับแล็บต่างๆ ที่ได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพื่อตรวจรับรองคุณภาพ โดยเฉพาะการยืดอายุผลิตภัณฑ์ มีความจำเป็นอย่างมาก ที่ต้องผ่านการตรวจวิเคราะห์จากแล็บ ว่าผลิตภัณฑ์มีอายุนายเท่าไหร่ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายและสร้างความน่าเชื่อถือให้กับผลิตภัณฑ์อีกด้วย ซึ่งเซ็นทรัลแล็บไทย ก็เป็นหน่วยงานวิเคราะห์ตรวจสอบผลิตภัณฑ์แห่งหนึ่ง ที่ อย.ให้การรับรอง และมีมาตรฐานสากล


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 260 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้ง ศัตรูพืชสำหรับต้นหม่อน
Update: 2567/02/27 14:02:02 - Views: 3331
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกระทู้ผัก ใน กระเจี๊ยบเขียว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/16 11:34:37 - Views: 3325
โรคกัญชา กัญชาใบไหม้ กัญชาใบเหลือง ดูสาเหตุของโรคและแก้ปัญหา
Update: 2565/09/08 08:36:59 - Views: 3545
อย.เผย อย่ากังวล น้ำดื่มบรรจุขวดไทย มีคุณภาพมาตรฐาน
Update: 2565/11/19 14:16:53 - Views: 3315
ยาอินทรีย์ ยับยั้งโรคสลัด ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผักสลัดใบจุด ผักสลัดใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยสลัด
Update: 2563/06/30 08:05:20 - Views: 3360
โรคมะพร้าวยอดเน่า ใบแห้ง ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 13:56:41 - Views: 3359
ปุ๋ยสำหรับอ้อย เพื่อบำรุงผลผลิต การแก้โรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดเพลี้ย ในไร่อ้อย
Update: 2563/06/18 17:25:32 - Views: 3541
ต้นเงาะ ใบไหม้ ใบจุด ผลเน่า โรคแอนแทรคโนส ราแป้ง ใบแห้ง โรคราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/19 15:58:09 - Views: 3334
กำจัดเชื้อรา แครอท ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/01 09:51:39 - Views: 3322
โรคราน้ำค้างแตงโม แตงโมใบไหม้ โรคเชื้อราในแตงโม ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/26 10:43:05 - Views: 3363
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้าง ใน กวางตุ้ง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/10 10:41:18 - Views: 3320
เคล็ดลับการจัดการกับปัญหาหนอนในต้นดอกบัว: วิธีป้องกันและกำจัด
Update: 2566/11/24 10:30:19 - Views: 3339
มะเขือเทศก้นเน่า อาการก้นเน่าของมะเขือเทศ เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม
Update: 2564/04/17 09:46:11 - Views: 3359
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
Update: 2563/06/16 09:15:50 - Views: 3367
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น สับปะรด ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/02 09:36:47 - Views: 3366
ปุ๋ยสะตอ ปุ๋ยน้ำสะตอ บำรุงกล้าสะตอ โตใบ ใบเขียว ขยายทรงพุ่ม ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/13 22:14:39 - Views: 3390
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดสีเทา ใน ต้นชา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/13 12:29:09 - Views: 3376
ปุ๋ยมังคุด ปุ๋ยน้ำสำหรับมังคุด ปุ๋ยน้ำมังคุด ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม และสารจับใบ ในกล่อง ฉีดพ่น FK-1
Update: 2564/10/09 00:58:37 - Views: 3324
FK ธรรมชาตินิยม (FKT) อาหารเสริมพืช พรีเมี่ยม
Update: 2565/03/10 13:29:37 - Views: 3332
ลองกอง โตไวใบเขียว ผลใหญ่ น้ำหนักดี ฉีดพ่น ปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/23 10:25:07 - Views: 3322
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022