[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
ด้วงเต่าแตงแดง หรือแมลงเต่าแตง ใช้ยาอะไรกำจัดกันคะ
ด้วงเต่าแตงแดง หรือแมลงเต่าแตง ใช้ยาอะไรกำจัดกันคะ
พอดีทางฟาร์มเกษตร เรายังไม่มียากำจัดแมลงจำพวกปีกแข็งโดยตรง สำหรับใครที่เคยใช้ยาดีๆ กำจัดแมลงปีกแข็ง ด้วงเต่าแตงต่างๆเหล่านี้ได้ แนะนำกันด้วยนะคะ
อ่าน:3654
ปุ๋ยฉีดพ่น มะยงชิด ปุ๋ยทางใบ มะปรางหวาน
ปุ๋ยฉีดพ่น มะยงชิด ปุ๋ยทางใบ มะปรางหวาน
ปุ๋ยฉีดพ่น มะยงชิด ปุ๋ยทางใบ มะปรางหวาน
ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ สำหรับบำรุงมะยงชิด มะปรางหวาน เสริมธาตุหลัก ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรคฟิลล์ ช่วยฟื้นฟู บำรุง เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ส่งเสริมผลผลิต

ไนโตรเจน เสริมความเขียวของใบ เสริมสร้างเนื้อเยื่อ ส่งเสริมการเจริญเติบโต ฟอสฟอรัส ช่วยระบบรากแข็งแรง ดูดกินอาหารได้เดีขึ้น โพแตสเซียม ส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ไปสะสมเป็นผลผลิต ทำให้ผลโต น้ำหนักดี คุณภาพผลผลิตดี นอกจากนั้นยังประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี ที่จะมีส่วนช่วยส่งเสริมให้พืช เจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี และมีความสมบูรณ์แข็งแรง
อ่าน:3654
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
แก้วมังกร จะพบโรคจุดสีน้้าตาลระบาด อาการเริ่มแรกที่กิ่งและผลเป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กๆ สีน้้าตาลคล้ายสีสนิมเหล็ก บางครั้งพบแผลสีเหลืองฉ่้าน้้า เมื่ออาการรุนแรงแผลจะเน่า โดยถ้าเป็นที่กิ่งจะท้าให้เนื้อเยื่อตรงแผลหลุดเห็นเป็นรูหรือเว้าแหว่ง ส้าหรับผลถ้าอาการรุนแรงจะท้าให้กลีบผลไหม้แห้งเป็นสีดำและผลเน่าในที่สุด

สาเหตุหลักเกิดจากดินแปลงที่ท้านามาก่อน หรือดินไม่ได้ยกร่อง หรือดินมีการระบายน้้าไม่ดี และเกษตรกรที่ชอบใช้ปุ๋ยยูเรียจ้านวนมาก หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ท้าให้เกิดโรคได้ง่าย เพราะแก้วมังกรเป็นพืชอวบน้้า

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรค ราสนิมแก้วมังกร โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
อะมิโนแร็ปเตอร์: อะมิโนโปรตีนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช

ในฐานะมนุษย์ เราต้องการสารอาหารหลายชนิดเพื่อให้ทำงานได้อย่างถูกต้อง และเช่นเดียวกันกับพืช องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืชคือกรดอะมิโน ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีน ในบรรดากรดอะมิโนหลายชนิด กรดอะมิโนตัวหนึ่งมีความโดดเด่นในด้านความสามารถพิเศษในการกระตุ้นการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช - อะมิโนแร็ปเตอร์

Amino Raptor เป็นโปรตีนอะมิโนที่จำเป็นซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช 19 ชนิด กรดอะมิโนนี้ส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนพืช นำไปสู่การเติบโตและการขยายตัวของเซลล์เนื้อเยื่อ และพัฒนาส่วนต่าง ๆ ของพืชให้เติบโตเต็มที่ ด้วยคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์ อะมิโนแร็พเตอร์ช่วยให้พืชสามารถบรรลุศักยภาพสูงสุดโดยการออกดอกและติดผลจนสมบูรณ์

เพื่อให้แน่ใจว่าการเจริญเติบโตและการพัฒนาที่เหมาะสม อะมิโน แรปเตอร์ จำเป็นต้องใช้อย่างถูกต้อง ผสมกับน้ำฉีดเป็นวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการใช้ สำหรับพืชผัก แนะนำให้ใช้อะมิโนแร็ปเตอร์ 10-20 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร สำหรับนาข้าว พืชไรย์ และไม้ผล แนะนำให้ใช้อะมิโนแร็พเตอร์ 20-40 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร เมื่อใช้ระบบน้ำหยด ควรฉีด อะมิโนแร็พเตอร์ อัตรา 500 มล. ต่อไร่ เดือนละ 2 ครั้ง

อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่าไม่ควรฉีดพ่นอะมิโนแร็พเตอร์ในช่วงที่พืชออกดอก เนื่องจากอาจส่งผลเสียต่อกระบวนการผสมเกสรและทำให้ผลผลิตพืชลดลงในที่สุด ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามแนวทางการใช้งานที่แนะนำเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

โดยสรุปแล้ว อะมิโนแร็พเตอร์เป็นอะมิโนโปรตีนที่สำคัญซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช ด้วยการใช้ Amino Raptor อย่างถูกต้อง เราสามารถปลดล็อกศักยภาพของพืชได้อย่างเต็มที่ ซึ่งนำไปสู่การเก็บเกี่ยวที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์และแนวทางการใช้งานที่แนะนำ Amino Raptor จึงเป็นทรัพย์สินที่มีค่าสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเพิ่มผลผลิตพืชผลสูงสุดและประสบความสำเร็จในการเกษตร

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
ดอกดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ใบไหม้ รากเน่า เหี่ยวเฉา ราสนิม โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นด้วย ปุ๋ย FKT
ดอกดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ใบไหม้ รากเน่า เหี่ยวเฉา ราสนิม โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นด้วย ปุ๋ย FKT
ดอกดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ใบไหม้ รากเน่า เหี่ยวเฉา ราสนิม โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นด้วย ปุ๋ย FKT
ไอเอส: ยารักษาโรคพืชจากเชื้อรา ปลอดภัยต่อผู้ใช้ ฟื้นฟูต้นดาวเรืองให้กลับมาสวยงาม
ดาวเรืองเป็นไม้ดอกที่ปลูกง่าย สวยงาม และมีประโยชน์หลากหลาย แต่เกษตรกรผู้ปลูกดาวเรืองมักประสบปัญหาระบาดของโรคพืชจากเชื้อรา เช่น โรคใบจุด ใบไหม้ รากเน่า เหี่ยวเฉา ราสนิม และโรคราต่างๆ ส่งผลต่อผลผลิตและคุณภาพของดอกดาวเรือง

ไอเอส นวัตกรรมใหม่จากเทคนิค อีออนคอลโทรล เป็นสารอินทรีย์ที่ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สามารถป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องกังวลเรื่องสารเคมีตกค้าง

กลไกการออกฤทธิ์ของไอเอส

ไอเอสจะเข้าไปยับยั้งการเจริญเติบโตของเส้นใยเชื้อรา
กระตุ้นให้พืชสร้างระบบภูมิคุ้มกัน
ช่วยให้พืชดูดซึมสารอาหารได้ดีขึ้น

ข้อดีของไอเอส

ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สัตว์เลี้ยง และสิ่งแวดล้อม
ไม่ทิ้งสารเคมีตกค้าง
ย่อยสลายง่าย ไม่เป็นพิษต่อดิน
สามารถใช้ร่วมกับสารเคมีอื่นๆ ได้

FK-ธรรมชาตินิยม: ปุ๋ยเร่งฟื้นฟูต้นดาวเรือง

FK-ธรรมชาตินิยม เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ 100% ประกอบด้วยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาจุอาหารเสริม และจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ช่วยให้ต้นดาวเรืองฟื้นฟูจากโรคพืชได้อย่างรวดเร็ว ส่งเสริมการเจริญเติบโตของราก ลำต้น ใบ และดอก

ข้อดีของ FK-ธรรมชาตินิยม

เร่งการเจริญเติบโตของต้นดาวเรือง
เพิ่มผลผลิตและคุณภาพของดอกดาวเรือง
ช่วยให้พืชต้านทานโรคพืช
ปรับปรุงโครงสร้างดิน

การใช้ไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยมร่วมกัน

ผลลัพธ์ที่ได้

ต้นดาวเรืองฟื้นฟูจากโรคพืชได้อย่างรวดเร็ว
ใบดาวเรืองเขียวชอุ่ม ดอกใหญ่ สวยงาม
เพิ่มผลผลิตและคุณภาพของดอกดาวเรือง
ดินมีความอุดมสมบูรณ์

ไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยม เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกดาวเรือง ช่วยให้ปลูกดาวเรืองได้อย่างปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

หมายเหตุ

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพพื้นดิน สภาพอากาศ และสายพันธุ์ของดาวเรือง
ควรอ่านฉลากก่อนใช้ และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับ ที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อราอีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้

💦อัตราผสมใช้ ไอเอส
» ไอเอส 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
» ฉีดพ่นทางใบ
» ระยะรักษา ทุก 2-3 วันต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง
» ระยะป้องกันทุก 15-30 วัน

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3651
การปลูกดอกทานตะวัน ปลูกเป็นไร่ หรือปลูกรอบบ้าน
การปลูกดอกทานตะวัน ปลูกเป็นไร่ หรือปลูกรอบบ้าน
วิธีการปลูกดอกทานตะวัน

ดอกทานตะวัน (ทานตะวัน) เป็นพืชที่มีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายด้วยวิตามินที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ ต้องหยุดเชยชมและแมลงวันที่กินเกสรเป็นอาหารต้องเข้ามาตอมดูดดื่มน้ำหวานจากดอกทานตะวัน

การปลูกดอกทานตะวันมี 3 รูปแบบวิธี
1. วิธีการปลูกแบบจำนวนมากให้เป็นไร่หลายไร่หรือเป็นทุ่งกว้าง
2. วิธีการปลูกต้นไม้รอบบ้านประดับรอบบ้านให้บานสวยงาม
3. วิธีการปลูกใส่กระถางเพื่อจัดเรียงหรือย้ายไปปลูกตามจุดที่ต้องการ

1. วิธีการปลูกแบบจำนวนมาก เป็นไร่หลายไร่หรือเป็นทุ่งกว้าง
ขั้นตอนแรก การเตรียมดิน
เตรียมดิน กำจัดวัชพืช หว่านปุ๋ยคอกอัตรา 1.5 ตัน/ไร่ แล้วไถปรับสภาพพื้นดิน ยกร่องให้กว้าง 150 เซนติเมตร ระยะระหว่างร่อง 75 เซนติเมตร ขุดหลุมบนสันร่อง ระยะระหว่างหลุม 45 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยรองพื้น สูตร 16-20-0 หรือ 25-7-7 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่

ในการขุดดินที่ไม่เคยปลูกอะไรมานานควรเลือกใช้ผานดิน 3 ใบลงหลุมที่ 1 จากนั้นทิ้งดิน 15 นาทีให้ดินกรอบจากนั้นเราจะเปลี่ยนเป็น
หน้าผาพรวนดินเผาพรวนให้ ดินแตกละเอียดอีกครั้งก่อนทำการปลูก พืชใด ๆ ครับ

ขั้นตอนการปลูกโดยการหยอดเมล็ดพันธุ์

1. เตรียมดิน โดยดายหญ้าให้เตียน หว่านปุ๋ยคอกอัตรา 1.5 ตัน/ไร่ แล้วไถปรับสภาพพื้นดิน
2. ยกร่องให้กว้าง 150 เซนติเมตร ระยะระหว่างร่อง 75 เซนติเมตร ขุดหลุมบนสันร่อง ระยะระหว่างหลุม 45 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยรองพื้น สูตร 16-20-0 หรือ 25-7-7 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่
3. ใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 0.8 กิโลกรัม / ไร่ หยอดหลุมละ 2-3 เมล็ด กลบดินหนา ประมาณ 3-5 เซนติเมตร ให้แน่นพอสมควร
4. ใช้ยาคุมหญ้า อัตรา 300-400 ซีซี/ไร่ หรือ 7-8 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 18-20 ลิตร ฉีดพ่นหลังหยอดเมล็ด
5. หลังจากปลูกไปแล้ว 5 – 10 วัน ให้ตรวจดูการงอก และการปลูกซ่อม หลังจากนั้นอีก 5– 8 วัน ถอนแยกให้เหลือ 1 ต้น/หลุม โดยเลือกถอนต้นที่มีขนาดเล็กหรือผิดปกติก่อน

การให้น้ำ
ทานตะวันต้องการน้ำพอสมควรในช่วงระยะแรกของการเจริญเติบโต ถ้าปลูกปลายฤดูฝนอาจไม่จำเป็นต้องให้น้ำ แต่ถ้าปลูกในฤดูแล้งควรรดน้ำช่วงระยะ 1 เดือนแรก และระยะ 50 วัน (ช่วงมีดอก)

การให้ปุ๋ย
ระยะที่ 1 เสริมสร้างการเจริญเติบโตของราก ลำต้นและใบ หลังจากย้ายกล้าแล้วประมาณ 30 วัน ให้ปุ๋ยไนโตรเจนสูง 46-0-0 อัตรา 20-30 กก./ไร่
ระยะที่ 2 ช่วงการเจริญเติบโตถึงระยะสังเกตเห็นตุ่มดอก ให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 20-30 กก/ไร่ ระยะที่ 3 เมื่อดอกเริ่มบาน ให้ปุ๋ยสูตร ให้ปุ๋ยสูตร 8 – 24 – 24 หรือ 13 – 13 – 21 อัตรา 20-30 กก./ไร่ต่อเนื่องตลอดอายุการให้ดอก

การเก็บเกี่ยว
ทานตะวันต้องรอให้ดอกแห้ง ซึ่งจะมีอายุหลังปลูกประมาณ 4 เดือนสำหรับทานตะวันซึ่งเป็นมีผลผลิตเฉลี่ย 350 กก ต่อไร่ แต่ถ้าดูแลดีจะมีผลผลิตสูงถึง 500 กิโลกรัม เมล็ดที่เก็บได้ถ้าอยากให้เก็บได้นาน ๆ ควรเอาไปตากแดดให้แห้งสัก 1-2 แดด แล้วเก็บเข้าห้องเย็น เพราะเมล็ดทานตะวันเป็นพืชน้ำมันอายุการเก็บรักษาจะสั้นถ้าเก็บไว้ในที่อุณหภูมิสูง

ขั้นตอนตอนการปลูกโดย(ด้วยเครื่องและใช้คน)

หลังจากที่เตรียมดินเสร็จแล้วให้เราเอาเมล็ดพันธุ์ทานตะวันเดินสูงส่งลงบนพื้นดินใช้ปริมาณที่เหลือ 1-1.2 กม. ต่อไร่ 1 ไร่ ด้วยความลึกของการวางผานประมาณ 5 ซม. ให้ดินกลบให้ทั้งแปลงหรือถ้าใครที่มีผานพรวนที่มีอุปกรณ์การสะสมเหลืออยู่เราก็สามารถใส่ลงไปในอุปกรณ์และการกระจายพรวนและการชุมนุมในพื้นที่

นำเข้าใส่ขุนนางแล้วก็คร่ำครวญเอาไว้ในรอบเดียวในการเป็นผู้มีเกียรติจะใช้ลงคะแนนเสียงมากกว่า
การสะสม แต่แลกด้วยความสะดวกสะบายรวดเร็วครับ

การใส่

เกลือทานตะวันเป็นพืชที่ให้โปรตีนและแร่ธาตุสูงควรใส่ปุ๋ยในปริมาณที่ต้องการตามสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำปุ๋ยเคมี 15-15-15 หรือ 16-16-8 อัตรา 30 -50 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่รองหนาพร้อมปลูกและใช้ปุ๋ยยูเรีย46-0-0 อัตรา20-30 กิโลกรัมต่อไร่เมื่อทานตะวันมีอายุได้30 วันหรือมีใบจริง6-7 คู่ การตรวจวิเคราะห์ดินก่ อนปลูกจะช่วยให้การใช้ปุ๋ยมีคุณสมบัติมากขึ้นและในกรณีที่เป็นดินทรายและขาดธาตุโบรอนควรใส่ผงโบแรกซ์ประมาณ2กิโลกรัมต่อไร่จะช่วยเพิ่มผลผลิตได้มากและทำให้คุณภาพของเมล็ดทานตะวันดีขึ้น แต่ถ้าคุณมีใครบ้างที่มีปุ๋ยสามารถใช้ได้มาก ๆ ถ้ามีปริมาณมากเราสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีหรือ ไม่ใส่เลยวรรณกรรมครับ

การให้น้ำดอกไม้เป็น

ผลดีต่อการผลิตทานตะวันการลดปริมาณน้ำฝนจะช่วยลดปริมาณการผลิตลงได้ด้วยการให้น้ำที่เหมาะสมแก่การผลิตทานตะวัน
ครั้งที่ 1 ปลูกทันทีทำการหลังที่คุณคุณคุณฝนตกเพื่อใช้ความชื้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนจำกัดที่คุณคุณคุณดินให้เต็มที่โดยไม่ที่คุณคุณคุณต้องรดน้ำ
ครั้งที่ 2 ยระมีคุณใบจริง 2 คู่หรือประมาณ 10-15 หลังงอกการ ธ นา วันรา
ครั้งที่ 3 ระยะเริ่มมีตาดอกหรือประมาณ 30-35 หัวเรื่อง: การงอกหลังธนาคารวัน
ครั้งที่ 4 ระยะดอกเริ่มบานหรือประมาณ 50-55 หัวเรื่อง: การงอกหลังธนาคารวัน
ครั้งที่ 5 ระยะกำลังติดหรือประมาณ 60-70 วัน ที่ได้หลังจากรับหัวเรื่อง: การปฐมพยาบาล แต่อย่างใด แต่ก็ไม่จำเป็นที่จะคุณต้องทำด้วยความสามารถระมัดระวัง แต่อย่างใดยิ่งชวงแรกของหัวเรื่อง: การเจริญเติบโตจนถึงระยะติดยังไม่ได้

การเก็บเกี่ยวทานตะวัน
ในกรณีที่มีการปลูกพืชจำนวนมากในสมัยก่อนฉันจะใช้วิธีการตัดดอกออกมาแดดเมื่อแห้งแล้วจะนำมาใช้ในการแกะหรือแกะออกมาพร้อมกับการกรีด เพื่อให้ได้มาซึ่งความสะอาดและสามารถพัฒนาต่อไปได้อีกเป็นขั้นตอนสุดท้ายแล้วจึงทำการนวดด้วยเครื่องนวดข้าว เมื่อถึงเวลาที่เราจะใช้รถเกี่ยวกับทานตะวันออกมาเป็นสีแดงได้เร็ว ๆ นี้ แต่ในโซนเกษตรกรที่ปลูกมาก ๆ เฉพาะในพื้นที่ห่างไกลก็จะ สามารถใช้วิธีที่ไร่เราใช้สมัยก่อนก็ได้ครับ

ปัญหาในการ ปลูกทานตะวัน
1. ตอนวิกตอเรีย
ตอบ เมื่อวิคตอเรียจากนั้นควรคร่ำครวญเพื่อป้องกันตัวทันที
2. ต้นอายุได้ 7-10 วันมันชอบกินช่วงที่ตัวอ่อนถ้ากินจะยอดของต้นทานตะวันไม่เหลือต้นนั้นก็จะตายในที่สุดครับ
ตอบ สนองต่อการกินก็กินเพียง 5-10% เมื่อต้นบานเต็มท้องทุ่งแล้วเราไม่ได้เห็นความแตกต่างต่างประเทศครับ ขึ้นบางและเราไม่อยากให้มันกินยอดอ่อนในช่วง 7-10 วันแรกที่เราจะต้องพ่ายแพ้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่นการเคาะปี๊บใช้ถุงกระสอบห้อยกับไม้ให้ลมพัด วิธีนี้ก็ช่วยให้นกไม่กล้าม กินได้
3. เมื่อต้นทานตะวันมีอายุ 15 วันขึ้นไปก็จะมีหนอนมากินที่ใบ
การตอบ สนองต่อการทำลายของหนอนกินใบถ้าเราจะหลีกเลี่ยงการใช้ยาเคมีและปล่อยให้มันเป็นไปได้ที่จะใช้เวลานานในการกำจัดแมลงศัตรูพืชที่เหลืออยู่ ดีไม่มีผลกับความสมบูรณ์ของการลงคะแนนในแน่นอน

2. วิธีการปลูกต้นไม้รอบบ้านประดับรอบบ้านให้บานสวยงาม
วิธีการปลูกต้นไม้เพื่อประดับบ้านจะไม่มีขั้นตอนอะไรมากครับขอแสดงความยินดีเลือกสถานที่ที่มีแสงแดดมากที่สุดจากนั้นขุดหลุมลึก 5 ซม. รวบรวมเมล็ดทานตะวันลงไปในหลุมที่ 2 จากนั้นกลบทิ้งด้วยดินที่ขุด ระยะห่างต่อหลุมประมาณ 30 ซม. เมื่อต้นขึ้นแล้วถ้าหลุมไหนมี 2 ต้นให้เราดึงต้นหนึ่งออกให้เหลือเพียงหลุมละ 1 ต้นเท่านั้น

การดูแลรักษา
การให้น้ำ ควรรดน้ำทุกวันในตอนเช้าหรือเย็น หากรดน้ำในเวลาเย็นควรให้น้ำ ที่ค้างอยู่บนใบแห้งก่อนพระอาทิตย์ตกดิน และเมื่อมีดอกบาน อย่ารดน้ำให้ถูกดอกเพราะอาจทำให้ดอกช้ำหรือเน่าได้ การให้น้ำควรให้สภาพดินชุ่มสลับแห้ง ไม่ควรให้ชุ่มตลอดเวลา เพราะอาจเป็นสาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่า และทำให้ระบบรากไม่พัฒนา ส่งผลให้ต้นแคระแกร็น ไม่สมบูรณ์ สามารถสังเกตสีของดินหรือวัสดุเพาะ หากมีสีดำหรือน้ำตาลเข้ม แสดงว่าดินยังชุ่มหรือมีน้ำอยู่ เมื่อดินเปลี่ยนสีเป็นน้ำตาลอ่อน แห้งแข็ง แสดงว่าดินขาดน้ำ

วิธีการปลูกแบบกระถาง
1.เตรียมดินสำหรับการปลูกทานตะวัน
สูตรที่ 1 ส่วนประกอบดินผสมโดยทั่วไป ได้แก่ ดินร่วน ปุ๋ยหมัก แกลบดิบ แกลบเผา ขุยมะพร้าว
อัตราส่วน 1 : 1 : 2 : 2 : 2
สูตรที่ 2 ส่วนประกอบดินผสมโดยทั่วไป ได้แก่ แกลบดิบ ขุยมะพร้าว ดิน อัตราส่วน 3 : 5 : 2

2.หลังจากการเพาะเมล็ดไปแล้วประมาณ 10-15 วัน ให้สังเกต ต้นกล้าเมื่อมีใบจริง 2 คู่ขึ้นไป ต้นกล้าจะโตพอที่จะย้ายได้ รดน้ำดินให้ชื้นก่อนการย้ายปลูก โดยการเจาะหลุมดินให้ลึกและกว้างพอกับดินที่หุ้มรากมา แล้วนำต้นกล้าหยอดลงในหลุมแล้วกลบด้วยดิน

3.รดน้ำให้ชุ่มโดยใช้บัวรดแบบฝอยละเอียด ควรมีการให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ เช้า-เย็น



ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
อ่าน:3650
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
ศัตรูพืช ได้แก่ โรค แมลง และวัชพืช
สร้างความเสียหายให้กับพืช ทั้งก่อนและหลังเก็บเกี่ยวได้มากกว่า 50% การป้องกัน กำจัด โรคพืช แมลงศัตรูพืช และกำจัดวัชพืช จะช่วยเพิ่มผลผลิตได้มาก 80-90 เปอร์เซ็นต์

อ่านต่อที่
http://www.farmkaset..link..
#โรคพืชที่ติดเชื้อ #โรคพืชที่ไม่ติดเชื้อ #โรคพืชจากเชื้อรา #โรคพืชจากแบคทีเรีย #โรคพืชจากไวรัส #โรคพืชจากไวรอยด์ #โรคพืชจากไฟโตพลาสมา
อ่าน:3650
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
ใบหงิกม้วน อาจเกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ โรคไวรัส ธาตุอาหารไม่สมดุล และสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง อาการที่พบ มักพบอาการใบหงิกงอในใบอ่อนหรือส่วนบนใกล้ยอด แต่ใบด้านล่างปกติ ไม่แสดงอาการม้วนงอ

สาเหตุ

1. เกิดจากไวรัส

2. เกิดจากได้พืชรับธาตุอาหารไม่เพียงพอหรือไม่สมดุล

3. เกิดจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง

การสังเกตลักษณะอาการ

1. ให้สำรวจและตรวจสอบประชากรแมลงในแปลง เช่น แมลงหวี่ขาว เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน แมลงศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ เป็นพาหะนำโรคไวรัส แต่หากไม่พบแมลง ไม่มีร่องรอยการทำลาย และต้นมีความสมบูรณ์ดี ก็ไม่น่าจะใช่โรคไวรัส

2. หากตรวจสอบต้นมะเขือเทศเชอรี่แดงทั้งลำต้น โดยสังเกตที่ใบ เช่น หากใบด้านล่างหรือใบชุดแรกมีความสมบูรณ์ แล้วใบด้านบน บริเวณใกล้ยอดมีอาการผิดปกติและหงิกม้วน อาจเกิดจากมะเขือเทศเชอรี่แดงได้รับธาตุอาหารบางชนิดไม่เพียงพอ โดยเฉพาะ โบรอนและแคลเซี่ยม โดยหากได้รับไม่เพียงพอจะทำให้พบอาการบิดม้วนของใบอ่อน

3. ในช่วงฤดูร้อนและอากาศค่อนข้างแห้ง อาจส่งผลให้ต้นมะเขือเทศมีการปรับตัวต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงโดยแสดงอาการใบหงิกม้วน ทั้งนี้ ให้สังเกตว่ามะเขือเทศเชอร์รี่แดงที่แสดงอาการว่าปลูกในทิศใดหรือบริเวณจุดใดของโรงเรือน

แนวทางป้องกัน/แก้ไข

1. คลุมหลังคาด้วยตาข่ายพรางแสง 25-50% ความกว้าง 1 เมตร โดยขึงทิศเหนือใต้ ระยะห่างระหว่างตาข่ายพลางแสงแต่ละผืน 1 เมตร (เว้นช่องเพื่อให้ได้รับแสงโดยตรง)

2. รดน้ำในแปลง ทางเดิน หรือติดหัวพ่นหมอก หรือสปริงเกอร์ฝอยในโรงเรือน เพื่อเพิ่มความชื้น หรือติดสปริงเกอร์บนหลังคาเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือน หากถ้าวางกระถางบนพลาสติก ให้นำท่อพีวีซี 1 นิ้ว วางใต้พลาสติกตามยาวเพื่อทำเป็นขอบไว้กักน้ำที่ซึมออกมาจากกระถาง

3. ติดตั้งพัดลม เปิดหลังคา เพิ่มการระบายอากาศ (ตรวจสอบแบบโรงเรือนดูก่อนว่าสามารถทำได้หรือไม่)

4. ควบคุมการให้น้ำให้ปุ๋ย ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำ โดยยึดหลักการว่า ฤดูร้อน ให้น้ำน้อยแต่บ่อยครั้ง

5. ฉีดพ่นปุ๋ยทางใบด้วยธาตุอาหารแคลเซียม โบรอน และแมกนีเซียม โดยพ่นปุ๋ยทางใบอัตราไม่เกินครึ่งหนึ่งของฉลาก 1 ครั้ง/สัปดาห์ หรือ 1/4 ของฉลากทุกๆ 3 วัน (เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด เวลาพ่นปุ๋ยแคลเซียมและโบรอนทางใบ ควรผสมกรดฟูลวิค Fulvic acid หรือกรดอะมิโน เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนธาตุอาหาร เข้าสู่ใบได้ดีขึ้น) หรือฉีดพ่นปุ๋ยทางใบที่มี หรือปรับสูตรปุ๋ยระบบน้ำโดยเพิ่มธาตุอาหารแคลเซียม โบรอนและแมกนีเซียม เพื่อให้มะเขือเทศได้รับธาตุอาหารที่เหมาะสมและสมดุล

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ฉลาดกิน ฟ้าทะลายโจรสู้โรค ป้องกันโควิด-19
ฉลาดกิน ฟ้าทะลายโจรสู้โรค ป้องกันโควิด-19
โดยแพทย์หญิงศรันยา สาครินทร์ แพทย์แผนปัจจุบัน จบจากโรงพยาบาลรามาธิบดีและศึกษาต่อปริญญาโท ด้านฝังเข็มยาจีน นวดทุยหนา และโภชนาการจากประเทศสหรัฐอเมริกา จึงมีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพและการรักษาโรคจากทั้งศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก

“ฟ้าทะลายโจร” พืชล้มลุกที่มีกำเนิดจากแถบประเทศอินเดียและศรีลังกา สำหรับในไทยฟ้าทะลายโจรเป็นสมุนไพรที่อยู่ในตำรายาไทยโบราณมานาน มีรสขม จัดอยู่ในกลุ่มยาเย็นมีสรรพคุณทางการแพทย์แผนไทยใช้เพื่อบรรเทาอาการไข้หวัด แก้ไอและเจ็บคอ ฟ้าทะลายโจรยังเป็นสมุนไพรที่ถูกบรรจุอยู่ในบียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2542 ของกระทรวงสาธารณสุข

จากผลการศึกษาและวิจัยพบว่า ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของฟ้าทะลายโจรมีสารสำคัญชื่อว่า

“สารแอนโดรกราโฟไลค์” (Andrographolide) ช่วยยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสได้ในทุกระยะและช่วยยับยั้งการอักเสบ และยังมีสารประกอบสาร Lactone 4 ชนิดที่มีฤทธิ์เย็นหนืด ช่วยจับโปรตีนของไวรัสให้อยู่กับที่ ทำให้ฤทธิ์ของฟ้าทะลายโจรต้านไวรัสได้ดียิ่งขึ้น และช่วยป้องกันผลข้างเคียงจากยาปฏิชีวนะได้ ลดการบีบตัวของลำไส้ ต้านเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของอาการท้องเสีย ช่วยรักษาอาการไอ เจ็บคอป้องกันและบรรเทาหวัด

สำหรับแพทย์แผนจีนนั้นระบุว่า ฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์เย็นจัด มีรสขมและแห้ง มีสรรพคุณลดความร้อน ทั้งความร้อนในร่างกายและความร้อนเกินที่เข้ามาในร่างกาย เช่น ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ช่วยดูดความชื้นในร่างกาย ขจัดเสลดของเหลวต่างๆให้แห้ง จึงช่วยลดอุณหภูมิร่างกายได้เวลาเป็นไข้ขึ้นสูง ลดเจ็บคอ ช่วยเรื่องการทำงานของปอดเป็นหลัก สำหรับหมอเองก็ใช้ฟ้าทะลายโจรควบคู่กับสูตรยาจีนเพื่อช่วยลดอุณหภูมิความร้อนให้คนไข้ เพราะสามารถใช้ร่วมกันได้ หมอแนะนำให้กินแบบธรรมชาติ คือ กินเป็นใบทั้งแบบสดหรือแบบตากแห้งบดก็ได้

กินเพื่อป้องกัน (For Prevention)

แบบใบสด ประมาณวันละ 2-3 ใบ เป็นระยะเวลาติดต่อกัน 3 เดือนในช่วงฤดูหนาว จะช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกายได้

แบบตากแห้งแล้วบดใส่แคปซูล กินวันละ 1 แคปซูล (ประมาณ 500 มิลลิกรัม) ติดต่อกันทุกวันเป็นเวลา 3 เดือน ระยะเวลาและขนาดปริมาณประมาณนี้ยังไม่มีผลข้างเคียงเรื่องการทำลายตับ

มีงานวิจัยคำนวณอิงสารแอนโดกราโฟไลค์เพื่อป้องกันหวัดจะใช้ปริมาณ 11.2 มิลลิกรัมต่อวัน กิน 5 วันต่อสัปดาห์ ต่อเนื่อง 3 เดือน มีผลป้องกันหวัดได้

กินเพื่อรักษาอาการ (For Treatment)

สำหรับปริมาณการรักษา หมอแนะนำให้เลือกแบบตากแห้งแล้วบดใส่แคปซูล กินครั้งละ 1_500-3_000 มิลลิกรัม จำนวน 4 ครั้งต่อวัน หรือประมาณ 2-4 แคปซูล วันละ 3 มื้อ ระยะเวลา 7-10 วัน (หรือไม่ควรเกิน 2 สัปดาห์) หากอิงจากสารแอนโดรกราโฟไลด์ระดับในการรักษาคือ ประมาณ 60-120 มิลลิกรัมต่อวันนั่นเองค่ะ

ข้อควรระวังในการรับประทานยาฟ้าทะลายโจร

-ห้ามใช้ยาฟ้าทะลายโจรในผู้ที่มีอาการแพ้

-ห้ามหญิงตั้งครรรภ์หรือให้นมบุตรกินฟ้าทะลายโจร

-สำหรับคนที่ถ่ายเหลว ท้องเสียบ่อย ระบบย่อยไม่ค่อยดี ภาวะธาตุอ่อนไม่ควรกินฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน หากร่างกายเย็นไปจะทำให้ถ่ายท้อง ถ่ายเหลว เพิ่มขึ้นได้

-ไม่ควรรับประทานในขนาดสูงติดต่อกันนานเกินไป เพราะอาจเสี่ยงทำให้แขนขาเป็นเหน็บชาหรืออ่อนแรง ท้องเสีย เนื่องจากยามีฤทธิ์เย็น ทำให้เลือดเดินไปเลี้ยงส่วนแขนขาติดขัด ระบบย่อยลำบาก

-หากรับประทานยาฟ้าทะลายโจรเพื่อลดอาการเจ็บคอ เมื่อครบ 24 ชั่วโมง แล้วอาการยังไม่ดีขึ้นหรือมีอาการรุนแรงกว่าเดิม ควรหยุดรับประทานแล้วพบแพทย์

-ควรระมัดระวังในการรับประทานยาฟ้าทะลายโจรควบคู่ไปกับยาลดความดันเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันให้ความดันโลหิตลดมากกว่าเดิมได้

-ควรระมัดระวังในการรับประทานยาฟ้าทะลายโจรควบคู่ไปกับยาที่มีสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น วาร์ฟาริน แอสไพริน เป็นต้น

เพราะฉะนั้นสำหรับฟ้าทะลายโจร หมอถือว่าเลือกกินตามอาการจะดีกว่า เมื่ออาการดีขึ้นจึงหยุดยา ด้วยความที่ฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์เย็นและมีรสขม เมื่อกินเข้าไปติดต่อกันจะทำให้ร่างกายเย็น สำหรับแผนจีนเมื่อร่างกายเย็นมากจะทำให้เลือดลมไม่หมุนเวียน มักมีอาการอ่อนเพลีย บางคนอาจมีอาการท้องเสีย

ส่วนรูปแบบในการกินฟ้าทะลายโจรนั้น แนะนำให้กินแบบสดหรือตากแห้งแล้วบดหยาบมากกว่า เพราะจะได้สารสกัดแอนโดรกราโฟไลด์เดี่ยวค่ะ เนื่องด้วยในฟ้าทะลายโจรแบบยังไม่ได้สกัดจะมีสาร Lactone ที่จะช่วยจับโปรตีนของไวรัสได้ดีกว่า ทำให้ฤทธิ์ของฟ้าทะลายโจรแบบไม่สกัดทำงานต้านไวรัสได้ดีกว่า แต่จำนวนเม็ดที่กินอาจจะต้องมากกว่าแบบสกัด เพื่อให้ได้ฤทธิ์ถึงในระดับการรักษาอาการป่วยค่ะ

อย่างไรก็ตาม การกินฟ้าทะลายโจรสามารถกินเพื่อการดูแลรักษาตนเองเป็นเบื้องต้น สร้างความแข็งแรง เสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย แต่ควรกินในปริมาณและระยะเวลาที่เหมาะสมเท่านั้นนะคะ

นิตยสารชีวจิต ฉบับที่ 545 ปีที่ 23 16 มิถุนายน 2564

ที่มา http://www.farmkaset..link..
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3649
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 23 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เพลี้ยในถั่วฝักยาว: ปัญหาและวิธีการจัดการ
Update: 2566/11/23 14:23:33 - Views: 3646
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 10802
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
Update: 2564/08/14 23:29:55 - Views: 3456
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
Update: 2564/04/22 11:28:26 - Views: 3565
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในดอกลิลลี่อย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/13 11:18:39 - Views: 3442
กำจัดเชื้อรา ต้นหอม ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/22 11:33:56 - Views: 3438
ทำความรู้จักโรค Anthracnose: ผลกระทบในต้นอินทผาลัมและวิธีการป้องกัน
Update: 2566/11/10 09:20:27 - Views: 3451
เพลี้ย! ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบกัญชา ทำให้ กัญชาใบหงิก ม้วน ใบจุดด่างขาว ใบจุดด่างเหลือง
Update: 2564/08/30 22:29:29 - Views: 3635
การจัดการและควบคุมหนอนในต้นอ้อย: กลยุทธ์การป้องกันและลดความเสียหายในการเกษตร
Update: 2566/11/15 14:51:51 - Views: 3433
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
Update: 2564/03/27 00:40:19 - Views: 3979
ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง แมลงจำพวกปากดูด ใน สับปะรด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/02 10:24:39 - Views: 3407
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/11 12:29:35 - Views: 3499
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
Update: 2566/11/04 09:56:30 - Views: 10172
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3862
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์ และเทคนิคการควบคุมไอออน
Update: 2566/01/11 19:51:02 - Views: 3522
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ย แมลงศัตรู ผักสลัด ผักไฮโดรโปนิกส์ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/09 10:06:10 - Views: 3431
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่า ใน ดอกโป๊ยเซียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/18 10:34:00 - Views: 3600
การให้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับต้นพุทรา: วิธีการและสูตรที่เหมาะสม
Update: 2566/11/18 09:03:29 - Views: 3427
โรคเหี่ยว หรือ แง่งเน่า ใน ขิง ข่า ขมิ้น
Update: 2564/08/29 05:21:11 - Views: 3613
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นหอม
Update: 2566/05/04 11:48:57 - Views: 3440
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022