[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

การรู้จักและจัดการกับหนอนในต้นลำไย: วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาในสวนลำไยของคุณ
การรู้จักและจัดการกับหนอนในต้นลำไย: วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาในสวนลำไยของคุณ
การรู้จักและจัดการกับหนอนในต้นลำไย: วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาในสวนลำไยของคุณ
การมีหนอนในต้นลำไยสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และมีหลายชนิดของหนอนที่สามารถทำลายลำไยได้ ต่อไปนี้คือบางประการที่อาจเป็นสาเหตุของหนอนในต้นลำไย:

หนอนผีเสื้อผีเสื้อกลางคืน (Lepidoptera): หนอนเหล่านี้เป็นตัวทำลายในระยะต่าง ๆ ของลำไย ตั้งแต่ระยะตั้งไข่ไปจนถึงระยะหนอน ทำลายในระดับท่อนบนของต้นลำไยได้.

หนอนหลอดลำไย (Curculionidae): หนอนเหล่านี้มักจะเจาะลำไยและทำลายท่อนลำไย ซึ่งอาจทำให้ต้นลำไยมีอาการเน่าเสียหาย.

หนอนเจาะต้น (Scolytidae): หนอนแบบนี้ทำลายต้นลำไยโดยการเจาะท่อนลำไยทำให้เน่าเสียหาย.

หนอนผีเสื้อที่อาศัยในดิน: หนอนเหล่านี้อาจทำลายระบบรากของลำไย ซึ่งอาจส่งผลให้ต้นลำไยดูดน้ำและอาหารไม่เพียงพอ.

การจัดการกับหนอนในต้นลำไยมีหลายวิธี ซึ่งใช้สารเคมีที่เหมาะสม การตัดแต่งท่อนลำไยที่ทำลาย หรือการใช้วิธีชีวภาพ เช่น การใช้ศัตรูธรรมชาติที่จะกำจัดหนอน และการดูแลรักษาต้นลำไยอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันการทำลายจากหนอนต่าง ๆ ในอนาคต.

.
ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ ป้องกัน กำจัด หนอนในต้นลำไย
ไอกี้-บีที สามารถป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอกี้-บีที ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3354
การจัดการและป้องกันโรคเชื้อราในต้นโกโก้: วิธีการแก้ไขและแนวทางป้องกัน
การจัดการและป้องกันโรคเชื้อราในต้นโกโก้: วิธีการแก้ไขและแนวทางป้องกัน
โรคเชื้อราเป็นปัญหาที่พบได้ในต้นโกโก้เช่นกัน โกโก้ถือเป็นพืชที่มีความไวต่อการติดเชื้อราได้มาก
นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมที่อุดมไปด้วยความชื้นและอุณหภูมิที่เหมาะสมยังสามารถส่งเสริมการเจริญของเชื้อราได้มากขึ้น

อาการของโรคเชื้อราที่สามารถพบได้ในต้นโกโก้:

โรคแอนแทรคโนส (Black Pod Disease): เกิดจากเชื้อรา Phytophthora spp. ทำให้ผลโกโก้เป็นสีดำและมีลักษณะเป็นลาย.

โรคแ (Ceratocystis Wilt): เกิดจากเชื้อรา Ceratocystis cacaofunesta ทำให้ใบและลำต้นเหลืองและแห้งตาย.

โรค(Witches' Broom Disease): มีหลายสาเหตุรวมทั้งเชื้อรา Moniliophthora perniciosa และ Crinipellis perniciosa ทำให้ลำต้นและกิ่งเจริญเติบโตมากขึ้นและมีรูปร่างเหมือนพุ่มไม้แบบพิเศษ.

โรคแอนแทรคโนสแบบใหม่ (Frosty Pod Rot): เกิดจากเชื้อรา Moniliophthora roreri ทำให้ผลโกโก้เป็นสีขาวและมีลักษณะหน้าผลเหมือนถูบนผิว.

การควบคุมโรคเชื้อราในต้นโกโก้มักจะเน้นการจัดการสภาพแวดล้อม เช่น การควบคุมความชื้นและการระบายน้ำให้ดี เพื่อลดโอกาสในการเจริญของเชื้อรา การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช (สารเคมีหรือชีวภัณฑ์) ก็เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้เพื่อควบคุมโรคได้บ้าง นอกจากนี้ การเลือกใช้พันธุ์โกโก้ที่มีความต้านทานต่อโรคบางประการ cacao clone 803_ ICS-39_ หรือ CCN-51 ก็เป็นทางเลือกหนึ่งในการป้องกันโรคเชื้อราในต้นโกโก้.


.
ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด โรคต้นโกโก้ จากเชื้อราหลายชนิด
ไอเอส สามารถป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอเอส ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link.. .
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3354
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
ศัตรูที่สำคัญของทุเรียนในระยะต้นเล็กซึ่งมีการเจริญเติบโตทางกิ่งก้านสาขา ได้แก่ โรครากเน่าโคนเน่า โรคราใบติด โรคราสีชมพู เพลี้ยไก้แจ้ และปัญหาสำคัญ คือวัชพืช ควรใช้หลายๆ วิธีประกอบกัน ทั้งการใช้แรงงานถอน ถาก ตัดด้วยเครื่องมือหรือใช้ยาอินทรีย์ โดยต้องระมัดระวังอย่าให้ระบบรากกระทบกระเทือน

1. โรคจากเชื้อราไฟทอฟธอรา
1.1 โรคเข้าทำลายใบ ให้พ่นไอเอส ให้ทั่วทั้งภายในและนอกทรงพุ่ม
1.2 โรคที่ระบบราก ใช้ไอเอสผสมน้ำราดใต้ทรงพุ่มให้ทั่ว พร้อมกับกระตุ้นการเจริญของรากโดยการผสมปุ๋ยน้ำ FK-1 ไปพร้อมกัน
1.3 โรคที่ลำต้นและกิ่ง ถ้าอาการเล็กน้อย ให้ขูดผิวเปลือกส่วนที่เป็นโรคออกนำไปเผาทำลาย แล้วทาด้วยปูนแดง ถ้าพบอาการรุนแรง ใช้กรดฟอสฟอรัส ฉีดเข้าลำต้น หรือกิ่งในบริเวณตรงข้าม หรือส่วนที่เป็นเนื้อไม้ดีใกล้บริเวณที่เป็นโรค

2. โรคใบติด พบอาการเล็กน้อยให้ตัดเผาทำลาย หากอาการรุนแรงให้พ่นด้วยไอเอส

3. เพลี้ยไก่แจ้ เมื่อพบยอดทุเรียนถูกทำลายมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ของยอดหรือพบไข่บนยอดมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ให้พ่นด้วยมาคา ทุก 3 ถึง 7 วันจนใบแก่

4. หนอนเจาะผล พ่นด้วยไอกี้-บีที

ขอบคุณข้อมูลก่อนปรับแต่งจาก arda.or.th/kasetinfo/south/durian/controller/01-08.php
อ่าน:3354
โรคบั่วปมมะม่วง การป้องกัน และการกำจัดโรคบั่วปมมะม่วง
โรคบั่วปมมะม่วง มีสาเหตุจากแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยไก่ฟ้า แมลงบั่ว ลักษณะที่สังเกตุได้คือ ใบมะม่วงจะมีอาการเป็นจุด เป็นปุ่มปม เป็นเม็ดกลมๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-4 มิลลิเมตร

อาการดังกล่าว เกิดจากการวางไข่ของแมลง ส่งผลให้เนื้อเยื้อใบรอบๆนูนขึ้น มองเห็นได้ชัด ซึ่งหากปล่อยไว้ อาจจะส่งผลเสียหายต่อผลผลิตของมะม่วง

การป้องกันกำจัด

1. เด็ดใบที่พบโรค หรือตัดทิ้ง และนำไปเผาทำลายนอกแปลง

2. ควรป้องกันกำจัดแมลงพาหะ โดยการฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้ง เพลี้ย แมลงศัตรูพืช ปลอดสารพิษ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

3. ป้องกันโรคแทรกซ้อน ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

4. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส และ มาคา
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด
อ่าน:3354
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

ที่พบอยู่เสมอคือ หนอนไชลำต้น โดยเฉพาะในสวนที่ไม่ค่อยดูแลรักษา ปล่อยให้รกรุงรังจะพบมาก และยังพบมากในต้นขนุนที่มี
อายุมาก ๆ ตัวหนอนจะ เจาะไชอยู่ตามกิ่ง ต้น สังเกตได้ดือรูที่หนอนไชจะมียางขนุนไหลออกมา เมือพบว่า หนอนเจาะไชเข้าไปในกิ่งหรือต้นแล้ว การกำจัดจะทำได้ลำบาก ที่ทำได้คือเปิดปากรูแล้วใช้สำลีชุบยาฆ่าแมลงเช่น ดีลดรีน ดีดีที อุดเข้าไปในรู แล้วใช้ดินเหนียว อุดปากรูไว้ หรือใช้ยาฉีดยุงฉีดเข้าไปในรูแล้วอุดด้วยดินเหนียว ยาจะระเหยเข้า ไปฆ่าหนอนได้ ส่วนกิ่งที่พบว่ามีหนอนไชมากให้ตัดเอาไปเผาทิ้งเสีย นอกจากนี้อาจมีตัวหนอนหรือแมลงไชผล ทำให้บริเวณนั้นเน่าเป็นสีดำ ผลแป้วหรือเบี้ยวขายไม่ได้ราคา


ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3354
โรครา โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไฟทอปธอร่า บวกด้วย ฟึ้นฟู ให้แตกยอด แตกใบใหม่
โรครา โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไฟทอปธอร่า บวกด้วย ฟึ้นฟู ให้แตกยอด แตกใบใหม่
แก้ปัญหาโรคพืช ที่ีมีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างเช่น โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ โรคใบติดทุเรียน โรคราน้ำค้างองุ่น เกิดจากเชื้อรา Plasmopara viticola ในแคนตาลูป เกิดจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis ในข้าวเกิดจาก เชื้อรา Peronosclerospora sorghi โรคใบไหม้มันฝรั่ง โรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว โรคเน่าคอรวงในข้าว หรือข้าวขาดคอรวง โรคแอนแทรคโนส พริก และพืชอื่นๆ ที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp โรคราแป้ง เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. โรคใบจุด โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคราดำ โรคราเขม่าดำ และโรคเชิื้อราในอีกหลายพืช

โรคที่ใช้ไอเอสไม่ได้ คือโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุจากเชื้อรา แต่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส เช่น โรคใบด่าง โรคใบด่างในอ้อย โรคไวรัสวงแหวนมะละกอ หรือโรคที่มีสาเหตุจากแบคทีเรียต่างๆ เช่น โรคแคงเกอร์ในพืชตระกูลส้ม มะนาว ก็ใช้ไอเอสไม่ได้เช่นกัน

🍂ไอเอส ราคา 450บาท บรรจุ 1ลิตร ส่วนผสม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
🌾FK ธรรมชาตินิยม ราคา 490บาท บรรจุ 250ซีซี ส่วนผสม 25-50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกที่นี่เพื่อแอดไลน์

🎖 คลิกที่นี่เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ

🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🎗คุณประโยชน์
- ป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุโรคในพืชต่างๆ
- ลดการแพร่กระจายของเชื้อราที่เกิดกับพืช
- ป้องกันการลุกลามของแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา
- มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เป็นประจำ
อ่าน:3354
แก้พืชไม่กินปุ๋ย พืชแคระ โตช้า ไม่เขียว ใบเหลือง ด้วย FK-1
แก้พืชไม่กินปุ๋ย พืชแคระ โตช้า ไม่เขียว ใบเหลือง ด้วย FK-1

FK-1 ฉีดพ่นเพื่อแก้ปัญหาพืชแคระ โตช้า พืชไม่กินปุ๋ย อาการพืชขาดธาตุต่างๆ ครบ จบในกล่องเดียว

https://www.youtube.com/watch?v=KQtGTCD3J8M
สั่งซื้อได้ 3 ช่องทาง
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกเพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset เฟสบุ๊คแชทสั่งซื้อ https://www.facebook.com/farmkaset มีเจ้าหน้าที่คอยตอบตลอดเวลา
อ่าน:3354
กวางตุ้ง ใบจุด ใบแห้ง เน่าดำ กำจัดโรคกวางตุ้ง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กวางตุ้ง ใบจุด ใบแห้ง เน่าดำ กำจัดโรคกวางตุ้ง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคใบจุดผักกวางตุ้ง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการ จะปรากฎที่ใบล่างของลำต้น โดยเริ่มแรกพบเป็นจุดสีเหลืองซีดขนาดเล็ก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ขึ้น และแห้งเป็นสีน้ำตาลอ่อน มีลักษณะค่อนข้างกลม ที่บริเวณแผลจะพบเชื้อขึ้นเป็นวงสีดำซ้อนกันอยู่ แผลเหล่านี้เมื่อรวมกันก่อให้เกิดอาการใบไหม้

โรคใบแห้งหรือโรคเน่าดำ สาเหตุเกิดจากแบคทีเรีย ลักษณะอาการอาการเริ่มแรกส่วนใหญ่จะเกิดที่ขอบใบ โดยเนื้อใบตรงส่วนที่เชื้อทำลายจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง และลุกลามเข้าใบยังส่วนกลางของใบ และ ยอด บางครั้งอาการอาจเริ่มแสดงที่ปากใบพืชทำให้เกิดอาการใบเหลือง

โรคเน่าคอดิน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคเน่าคอดิน ลักษณะอาการ เป็นแผลช้ำที่โคนต้นระดับดินเนื้อเยื่อตรงแผลจะเน่าและแห้งไปอย่างรวดเร็ว ถ้าถูกแสงแดดทำให้ต้นกล้าหักหรือพับ เพราะมีแผลช้ำที่โคนต้นระดับดิน ต้นจะเหี่ยวตายในเวลารวดเร็วบริเวณที่เป็นโรคจะค่อยๆ ขยายวงกว้างออกไปเป็นวงกลมกว้างขึ้น ภายในวงกลมที่ขยายออกไปจะไม่มีต้นกล้าเหลืออยู่เลย ส่วนต้นที่โตแล้วจะค่อยๆ เหี่ยวตายไป

โรคกล้าเน่า ผักกวางตุ้ง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา อาการเน่าระยะก่อนงอก เมล็ดเน่าก่อนงอก หรืองอกออกมาเล็กน้อยแล้วเน่าตายไปก่อนที่จะโผล่พ้นดินขึ้นมา อาการเน่าระยะหลังงอก ต้นกล้าที่งอกพ้นดินขึ้นมาแล้ว มีแผลที่โคนต้นต้นหักพับที่ระดับผิวดิน หรือเกิดการเหี่ยวเฉาตาย

โรคราน้ำค้างผักกวางตุ้ง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคราน้ำค้างของผักกวางตุ้ง ลักษณะอาการ จะปรากฏเป็นจัดสีขาวซีดบนใบ ต่อมาแผลขนาดใหญ่ขึ้นแผลซีดสีฟางข้าว ยุบตัวลง แผลมีขนาดรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อพลิกดูใต้ใบ ในตอนเช้าที่มีอากาศชื้นจะพบส่วนของเชื้อเจริญเป็นขุยสีขาวฟูขึ้นบริเวณใต้แผลอาการมักเริ่มแสดงที่ใบล่างๆ ก่อนแล้วจึงลุกลามสู่ใบที่อยู่ถัดขึ้นมา หากเป็นรุนแรงใบจะแห้งตายไป

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย การควบคุมประจุไฟฟ้า สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
IS for preventive and antifungal in plants - highly popular in Thailand
IS for preventive and antifungal in plants - highly popular in Thailand
IS is used to prevent and eliminate plant diseases. Caused by mold

Interested in ordering
Tel. +6690-592-8614.
Or can be ordered via the FarmKaset Page at https://www.facebook.com/farmkaset
อ่าน:3354
อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ ยาดมสมุนไพร ไม่ยากอย่างที่คิด
อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ ยาดมสมุนไพร ไม่ยากอย่างที่คิด
ยาดมสมุนไพรจัดอยู่ในประเภท ยาสมุนไพรประจำบ้าน ใช้สูดดมบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เป็นหวัด คัดจมูก อ่อนเพลีย มีวิธีทำที่ง่าย หาสมุนไพรได้สะดวก สามารถทำเป็นรายได้เสริมได้ ยาดมสมุนไพรจะแตกต่างจากยาดมทั่วไป โดยเพิ่มเติมสมุนไพร เช่น กระวาน กานพลู พริกไทยดำ

ยาดมสมุนไพรมีแพร่หลายมาก มีผู้ประกอบการผลิตยาดมสมุนไพรมากขึ้นทั้งในรูปแบบของอุตสาหกรรม และธุรกิจ SME รายย่อย จากการที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีขั้นตอนการผลิตไม่ยุ่งยาก และมีต้นทุนที่ไม่สูง ประกอบกับความนิยมการใช้สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่สูงขึ้นด้วย ซึ่งการใช้สมุนไพรเพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคเป็น

ความรู้ดั้งเดิมที่สืบทอดกันมานานจากรุ่นสู่รุ่น แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามาในประเทศไทย การใช้ยาสมุนไพร และการแพทย์แผนไทยเริ่มลดน้อยลง แต่ในปัจจุบันแนวโน้มการใช้สมุนไพรเริ่มกลับมามีบทบาท เนื่องจากผู้คนเริ่มหันกลับมาสนใจสุขภาพกันมากขึ้น การใช้สมุนไพรมีผลข้างเคียงที่น้อยกว่ายาปฏิชีวนะ ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย มีความปลอดภัยสูง สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องกังวลกับโอกาสที่จะเกิดความเป็นพิษ อาการ ไม่พึงประสงค์ หรือผลข้างเคียงต่าง ๆ โดยการใช้สมุนไพรยังมีข้อมูลพื้นฐาน อ้างอิงตามหลังข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ จึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับโรค อาการอย่างถูกต้อง และยังคงมีความเสี่ยงที่เกิดจากการใช้สมุนไพรที่ผิดประเภท ผิดอาการ ผิดขนาด และผิดวิธี ทำให้รักษาหรือบรรเทาอาการได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ และอาจนำไปสู่อาการไม่พึงประสงค์ และการแพ้ยา แต่ทั้งนี้ สมุนไพรก็ยังคงมีความน่าเชื่อถือและมั่นใจต่อการใช้มากกว่ายาแผนปัจจุบัน สมุนไพรมีความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยสรรพคุณมากมายที่ช่วยในการดูแลสุขภาพ

ธุรกิจยาดมสมุนไพร เป็นธุรกิจที่ต้องการเจาะตลาดกลุ่มผู้รักสุขภาพทางเลือก ด้วยสมุนไพร การเข้าถึง
กลุ่มผู้บริโภค ผู้ผลิตต้องสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับผลิตภัณฑ์ในทุก ๆ ด้าน เป็นธุรกิจที่กระบวนการทำงาน ไม่ซับซ้อน เริ่มต้นธุรกิจด้วยทุนที่น้อยและสามารถประกอบการเพียงคนเดียวได้ แต่ผู้ที่จะประกอบธุรกิจนี้
จำเป็นจะต้องมีความรู้เรื่องสมุนไพรและต้องใส่ใจทุกรายละเอียดในกระบวนการผลิต หนึ่งในปัญหาด้านการตลาดในการทำธุรกิจยาดมสมุนไพร คือ การปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้หลากหลายและเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคให้หลายกลุ่ม

สมุนไพรเป็นทั้งอาหารและยารักษาโรค สมุนไพรมีทั้งจากพืช สัตว์ และแร่ธาตุจากธรรมชาติ ที่ไม่มี
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสภาพภายใน ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นยารักษาโรคหรือบำรุงร่างกายได้ สมุนไพรที่ได้จากส่วนของพืชโดยตรง (พืชวัตถุ) โดยส่วนต่าง ๆ ที่นำมานั้นมีสารที่สามารถใช้เป็นยาได้ ได้แก่ ใบ ดอก ผลเปลือกผล เมล็ด เปลือกเมล็ด รากหรือหัว ต้น แก่น กระพี้ เนื้อไม้ เปลือกไม้ สมุนไพรที่ได้จากอวัยวะของสัตว์(สัตว์วัตถุ) ได้แก่ ตับ ดี นอ เขา เอ็น เลือด น้ำมัน มูล เป็นต้น เช่น ขี้ผึ้ง รังนก น้ำมันตับปลา
สมุนไพรที่ได้จากแร่โดยธรรมชาติหรือสิ่งที่ประกอบขึ้นจากแร่ธาตุต่าง ๆ ตามกรรมวิธี (ธาตุวัตถุ) นำมาใช้เป็นยา เช่น เกลือกำมะถัน น้ำประสานทอง ดีเกลือ สารส้ม เป็นต้น

“สมุนไพรไทย” เป็นเอกลักษณ์ที่สะท้อนวัฒนธรรมความเป็นชาติไทย มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอัน
ยาวนานควบคู่สังคมไทยนับตั้งแต่ สมัยกรุงสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ดังจะเห็นเป็นส่วนประกอบในอาหาร คาว-หวาน เป็นยารักษาโรค ใช้ในการดูแลสุขภาพและยาอายุวัฒนะ กระทั่งการเสริมความงาม ภูมิปัญญา เหล่านี้ได้รับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนาต่อเนื่อง สร้างคุณค่า และมูลค่าให้แก่สมุนไพรไทยจนถึงปัจจุบัน

ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย คือ ที่สุดแห่งภูมิปัญญาไทย กลายเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ส่งออกสำคัญของประเทศ
โดยในต้นปี 2556 มีมูลค่าส่งออกสมุนไพรส่งไปประเทศญี่ปุ่นกว่า 80 ล้านบาท (Department of the
Permanent Secretary_ Ministry of Commerce._ 2014) ด้วยความพร้อมทางด้านต้นทุนการผลิต อัน

ได้แก่ ภูมิประเทศ วัตถุดิบ กระบวนการผลิต รวมถึงความหลากหลายของรูปแบบผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยและช่องทางการตลาดทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีของไทยปีพุทธศักราช 2558 เสนอให้กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาพืชสมุนไพรไทยให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาสมุนไพร

ปัจจุบันความต้องการใช้สมุนไพรในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะความสนใจในการดูแลรักษาสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และ สมุนไพรสามารถเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยอุตสาหกรรมสมุนไพรได้รับการคาดการณ์ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และสามารถสร้างความยั่งยืนในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมเป้าหมาย ทั้งอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต นอกจากนี้ ยังเกิดจากการเปลี่ยนแปลงบริบทที่คาดการณ์ว่าจะส่งผลต่อความยั่งยืนของระบบเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต

ทั้งในส่วนของผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติของผู้บริโภค และแนวโน้มในการดูแลสุขภาพและความงามที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์
สมุนไพรเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตลาดสมุนไพรทั้งเวชสำอาง อาหารเสริม

ขั้นตอนการทำยาดมสมุนไพร
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมพิมเสนน้ํา
1. นําส่วนผสมทั้ง 3 ชนิด คือ เมนทอล 3 ส่วน พิมเสน 1 ส่วน การบูร 1 ส่วน
เทผสมรวมกันในภาชนะสําหรับผสมสาร
2. ใช้ไม้พายเล็กคนให้ส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นของเหลว
3. นําพิมเสนที่ได้บรรจุขวดปากกว้างปิดฝาพักไว้
ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมสมุนไพร
1. นําสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด ในที่นี้ประกอบด้วย กานพลู ดอกจันทน์เทศ พริกไทยดํา โกศหัวบัว กระวาน ใส่ภาชนะรวมกัน้สมคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน
2. น้ําสมุนไพรที่ได้ใส่ในขวดปากกว้างที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 ปิดฝาขวดให้สนิท
3. แช่สมุนไพรในพิมเสนน้ํา 1 คืน
4. นําส่วนผสมที่ได้บรรจุในขวดมีฝาปิดเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ต่อไป
ขั้นที่ 3 ขั้นตอนบรรจุภัณฑ์
1. บรรจุสมุนไพรที่ได้นําใส่ขวด
2. ติดตราโลโก้บรรจุภัณฑ์

การสร้างตลาดและการหาแหล่งตลาดใหม่
ปัจจุบันการหาตลาดเพื่อรองรับสินค้า 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ผู้บริโภคทั่วไป จนเกิดเป็น
ผลิตภัณฑ์ยอดนิยมระดับประเทศนั้น สามารถหาช่องทางขายใหม่ได้13 ลักษณะ โดยแต่ละลักษณะมีความเหมาะสมแตกต่างกันไปตามประเภทผลิตภัณฑ์ ก่อนจะกําหนดลักษณะการขายต้องทราบสัดส่วนของตลาดหรือธรรมชาติขององค์ ประกอบภายในตลาดเสียก่อน ซึ่งโดยทั่วไประบบการซื้อขายจะแยกได้เป็น 3 ส่วนดังนี้
- ตลาดขายส่ง เน้นการขายผ่านตัวแทนค้าส่ง โดยตลาดนี้จะมีมูลค่าประมาณ 60-80% ของกําลังซื้อตลาดทั่ว
ประเทศ
- ตลาดขายปลีก เน้นการขายปลีก ผู้สนใจทั่วไปและสมาชิกตลาดส่วนนี้จะมีมูลค่าประมาณ20-40% ของกําลังซื้อทั่วประเทศ
- ตลาดขายตรง เป็นการขายด้วยวิธีการสื่อสารโดยตรงไปยังลูกค้าแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อให้เกิดการตัดสินใจซื้อโดยตรง ได้แก่ การขายโดยการตั้งทีมขายตรงโทรศัพท์ไปหาลูกค้า_ ใช้ Fax_ จดหมายเชิญชวน_ ใช้ Catalogue รวมทั้งใช้สื่อวิทยุ_ หนังสือพิมพ์_ ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีบริการเสริมพิเศษคือ การจัดส่ง
ถึงมือผู้ซื้อโดยตรง (Delivery Service) สําหรับตลาดขายตรง ปัจจุบันมีความสําคัญมากขึ้นเพราะเป็นวิธีสร้างความใกล้ชิดกับลูกค้าโดยตรง ทําให้ได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาของสินค้าให้ตรงความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า

การยื่นขอจดทะเบียน ยาดม สมุนไพร
การขออนุญาตผลิต/ขายผลิตภัณ์ฑสมุนไพร
ผู้ขอรับอนุญาต (เจ้าของร้าน)
1. คำขออนุญาตผลิต นำเข้า หรือขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร(แบบ สมพ.1)
2. สัญญาระหว่างผู้รับอนุญาตกับผู้ที่มีหน้าที่ปฏิบัติการ
3. หนังสือมอบอำนาจให้ทำการแทน
4. หนังสือมอบอำนาจและแต่งตั้งผู้ดำเนินกิจการ (กรณีผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคล)
5. รูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว จ านวน 3 ใบ (ไม่เกิน 6 เดือน)
6. สำเนาบัตรประชาชน
7. สำเนาทะเบียนบ้าน
8. ใบรับรองแพทย์
9. สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
10.สำเนาทะเบียนบ้านสถานที่ผลิต/ขาย สมุนไพร
11. สัญญาเช่า/หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ พร้อมสำเนาบัตรประชาชนผู้ให้เช่า/ผู้ให้ความยินยอม
12. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน และผู้มีอำนาจลงชื่อแทนนิติบุคคลผู้ขออนุญาต (กรณีผู้ขอนุญาตเป็นนิติบุคคล)
13. แบบแปลนแผนผังภายในสถานที่ผลิต/ขาย สมุนไพร
14. แผนที่พร้อมพิกัดการเดินทางไปยังสถานประกอบการ

ขั้นตอนการดําเนินงาน
ผ่านแล้ว
1.จัดทําใบอนุญาต/พิจารณาลงนาม
2.แจ้งผู้ประกอบการรับใบอนุญาต
3.รับใบอนุญาต/ชําระค่าธรรมเนียม
4.ผู้ประกอบการยื่นคําขอพร้อมหลักฐาน
5.เจ้าหน้าที่รับคําขอ/ตรวจสอบ
6.ผู้ประกอบการจัดเตรียมสถานที่
7.ตรวจสถานที่
8.ผู้ประกอบการถ่ายรูปภายนอก ภายในร้านยา
9.ส่งให้เจ้าหน้าที่พิจารณาทาง E-mai

ตรวจสถานที่
1.จัดทําใบอนุญาต/พิจารณาลงนาม
2.แจ้งผู้ประกอบการรับใบอนุญาต
3.รับใบอนุญาต/ชําระค่าธรรมเนียม

ค่าธรรมเนียม
- ใบอนุญาตผลิตสมุนไพร 5000 บาท
- ใบอนุญาตนำเข้าสมุนไพร 20000 บาท
- ใบอนุญาตขายสมุนไพร 1500 บาท
- ใบอนุญาตโฆษณา 2500 บาท
- ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร2500 บาท
- ใบรับแจ้งรายละเอียดผลิตภัณฑ์สมุนไพร2500 บาท
- ใบรับจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร 900 บาท
- ใบแทนใบอนุญาต ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับใบรับแจ้งรายละเอียด ใบรับจดแจ้ง 200 บาท

ข้อมูลจาก http://ไปที่..link.. สำหรับผู้ผลิตสินค้ายาดมสมุนไพร สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์นี้ http://ไปที่..link..
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 83 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ทุเรียนผลแตก ทุเรียนผลปลิ และเกิดอาการเน่า รอบรอยปลิแตก เนื่องจาก ทุเรียนขาดธาตุแคลเซียม ผลไม้อื่นก็เช่นกัน ฉีดพ่น FK-1
Update: 2564/03/11 21:55:16 - Views: 3396
โรคกุหลาบใบไหม้ โรคใบจุดกุหลาบ และ โรคจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค 1ขวด ผสมน้ำได้ 400ลิตร
Update: 2564/08/16 07:39:18 - Views: 3390
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคจุดสีน้ำตาล ใน ต้นกาแฟ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/14 12:59:40 - Views: 3340
ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคใบจุดสนิม โรคราลิ้นจี่ กำจัดโรคลิ้นจี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/22 09:43:05 - Views: 3317
คู่มือเบื้องต้นสำหรับการ ป้องกันและกำจัดโรคในสวนยางพารา ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/29 14:56:01 - Views: 4514
เพิ่มผลผลิตในนาข้าวให้สูงสุดด้วย ปุ๋ยอะมิโนเม็ดสกัด วันเด้อร์เขียว
Update: 2565/12/30 08:50:47 - Views: 3318
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 5240
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ในกล้วย ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/20 12:01:18 - Views: 3347
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาสำหรับป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ ในพริก และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/25 13:35:40 - Views: 3348
การป้องกันกำจัดโรคเชื้อราในแตงไทย
Update: 2566/05/11 10:02:13 - Views: 3317
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน แตงกวา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/25 15:01:54 - Views: 3337
โรคราดำ ป้องกันและกำจัดโรคราดำ ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
Update: 2566/05/20 13:39:39 - Views: 3339
บำรุงกะเพรา ฉีดพ่น ปุ๋ยน้ำสำหรับกะเพรา ปุ๋ย กะเพรา โตไว ใบดก ใบสวย FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/10 03:07:59 - Views: 3323
เพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด และแมลงศัตรูพืชต่างๆ ในพืชตระกูลแตง แก้ด้วย มาคา
Update: 2563/06/18 17:48:42 - Views: 3352
เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยต่างๆ มาคา จาก FK
Update: 2565/06/18 06:13:03 - Views: 3325
การผลิต ไวน์มะพร้าวน้ำหอม เพิ่มมูลค่าการขายมะพร้าวให้สูงขึ้น
Update: 2565/11/16 14:53:19 - Views: 3339
4 สหายขายดี FK-1 เร่งโต ไอเอส แก้ราต่างๆ มาคา แก้เพลี้ยต่างๆ ไอกี้ แก้หนอนต่างๆ
Update: 2564/09/04 23:36:38 - Views: 3348
โรคใบด่างถั่วเขียว
Update: 2564/08/12 00:14:45 - Views: 3359
เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไวเรนส์ สามารถป้องกันและยับยั้งการเจริญเติบโตของ­เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืช
Update: 2557/10/10 14:57:15 - Views: 3325
เร่งการออกดอกและเร่งรากด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
Update: 2567/02/12 14:10:35 - Views: 3318
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022