[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

โรคมันสำปะหลัง: โรคใบไหม้มันสำปะหลัง เกิดได้ทุกภาคในไทย ป้องกันด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
โรคมันสำปะหลัง: โรคใบไหม้มันสำปะหลัง เกิดได้ทุกภาคในไทย ป้องกันด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
โรคมันสำปะหลังใบไหม้ เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้า..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3371
ธนาคารน้ำใต้ดินคืออะไร?
ธนาคารน้ำใต้ดินคืออะไร?
ธนาคารน้ำใต้ดินคืออะไร?
ธนาคารน้ำใต้ดินจะมี 2 ประเภท คือธนาคารน้ำใต้ดิน ระบบปิด และธนาคารน้ำใต้ดิน ระบบเปิดถ้าทำธนาคารน้ำใต้ดินทั้ง 2 ประเภท ควบคู่ไปด้วยกันจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ธนาคารน้ำใต้ดิน ระบบปิด

ใช้หลักการขุดบ่อเพื่อส่งน้ำไปเก็บไว้ที่ชั้นน้ำบาดาล ขนาดและความลึกของบ่อขึ้นอยู่กับสภาพ และชั้นดินของแต่ละพื้นที่ โดยมีขั้นตอนดังนี้

ขุดบ่อให้ลึกถึงชั้นหินอุ้มน้ำ จากนั้นใส่ยางรถยนต์เพื่อป้องกันขอบบ่อพังทลาย

จากนั้นใส่วัสดุที่หาได้ในพื้นที่ เช่นขวดน้ำ (ใส่น้ำ 1 ใน 3 ส่วน)_ ท่อนไม้ หรือเศษปูนให้เต็มช่องว่างด้านนอกยางรถยนต์

นำท่อ PVC มาวางตรงกลางบ่อเพื่อเป็นช่องระบายอากาศ นำวัสดุชนิดเดียวกับที่ใส่ช่องว่างด้านนอกมาเติมใส่ช่องว่างด้านในให้เต็ม

คลุมด้วยผ้าไนล่อน แล้วทับด้วยก้อนหิน และตามด้วยหินละเอียดอีกที เพื่อเป็นตัวกรองให้เศษดิน หรือขยะไม่ให้เข้าไปอุดตันในบ่อ เมื่อฝนตกลงมาน้ำจะไหลสู่ชั้นใต้ดินโดยตรง ผ่านธนาคารน้ำใต้ดิน ระบบปิดที่ทำขึ้นมา

ธนาคารน้ำใต้ดิน ระบบเปิด

เป็นการเปิดผิวดินเพื่อที่จะสามารถใช้น้ำในระดับผิวดินได้เลย โดยจะมีการขุดบ่อขนาดใหญ่ แต่ขนาดเท่าไหร่ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของพื้นที่ และความต้องการ โดยมีขั้นตอนดังนี้

เจาะพื้นบ่อเป็นหลุม 3 หลุมให้ลึกถึงชั้นหินอุ้มน้ำ เพื่อให้น้ำไหลลงชั้นหินอุ้มน้ำได้ดี และมีช่องสำหรับถ่ายเทอากาศจากโพรงใต้ดินเมื่อถูกน้ำเข้าไปแทนที่

โดยน้ำที่นำมาเก็บนั้นมาจากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น น้ำฝน หรือน้ำจากการทำธนาคารน้ำใต้ดิน ระบบปิด ซึ่งเมื่อน้ำถูกเติมลงชั้นใต้หินอุ้มน้ำปริมาณมากพอ น้ำจะเอ่อล้นมาที่บ่อโดยอัตโนมัติ ซึ่งเกษตรกรสามารถสูบน้ำจากบ่อนี้มาใช้ได้ทันที วิธีนี้จะช่วยให้เกษตรกรไม่ต้องขุดเจาะหาแหล่งน้ำ หรือสูบน้ำจากแหล่งน้ำไกลๆ ประหยัดพลังงาน แถมช่วยลดค่าใช้จ่ายได้ปีละหลายล้านบาทเลยทีเดียว

ประโยชน์ของธนาคารน้ำใต้ดิน

1. ช่วยแก้ปัญหาน้ำท่วมได้ เพราะช่วยให้น้ำซึมลงใต้ดินได้ดีขึ้น

2. ช่วยแก้ปัญหาภัยแล้ง เพราะสามารถสูบน้ำจากธนาคารน้ำใต้ดินใช้ได้ตลอดเวลา

3. แก้ปัญหาน้ำเค็ม เพราะมวลน้ำเค็มจะมีน้ำหนักมากกว่าน้ำจืด ฉะนั้นน้ำเค็มจะอยู่ด้านล่าง

4. แก้ปัญหาน้ำสกปรก เพราะระบบน้ำแบบปิดจะช่วยกรองน้ำให้สะอาดขึ้น

ขอบคุณข้อมูลจาก : รู้ค่าพลังงาน WATCHDOG | ธนาคารน้ำแบบปิด และ ธนาคารน้ำแบบเปิด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
แตงใบจุด แตงใบเหลือง โรคใบจุดของแตงที่เกิดจากเชื้อ Cercospora
แตงใบจุด แตงใบเหลือง โรคใบจุดของแตงที่เกิดจากเชื้อ Cercospora
(Cercospora leaf spot)

แตงที่เป็นโรคนี้ได้แก่ แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย แคนทาลูป ฟักแฟง สควอซ บวบ

อาการโรค

อาการส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นที่ใบโดยมีลักษณะเป็นแผลจุดเล็ก ๆ รูปร่างไม่แน่นอนหรือค่อนข้างกลมสีนํ้าตาลจาง ๆ ตรงกลางขาว มีขอบสีดำหรือม่วงล้อมอยู่โดยรอบ ผลหรือลูกแตงจะไม่แสดงอาการในบางกรณีที่สิ่งแวดล้อมเหมาะสมมากๆ ต้น เถา ส่วนที่ยังอ่อนและอวบนํ้า อาจถูกเชื้อเข้าทำลายเกิดเป็นแผลจุดขึ้นได้เช่นกัน

สาเหตุโรค : Cercospora citrullina

เป็นเชื้อราพวก imperfecti เช่นเดียวกับ Alternaria sp. มีการขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศโดยการเกิดโคนีเดียที่มีลักษณะยาว (cylindrical) ท้ายป้านปลายเรียวไม่มีสี มีหลายเซลล์ เกิดบนก้านยาวสีน้ำตาลที่เกิดเป็นกระจุก โคนีเดียเหล่านี้สามารถปลิวไปตามลมได้เป็นระยะทางไกลๆ เมื่อตกลงบนใบแตง ได้รับความชื้นเพียงพอก็จะงอกก่อให้เกิดโรคขึ้นใหม่ได้อีกภายใน 7 – 10 วัน เชื้อ Cercospora อยู่ข้ามฤดูได้โดยการสร้าง stroma ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของเส้นใยที่มีผนังหนากลายเป็นแผ่นหรือก้อนแข็ง มักจะพบเกิดอยู่ตามฐานของกลุ่ม conidiophore stroma ดังกล่าว จะเกาะติดอยู่กับใบพืชที่เป็นโรคซึ่งร่วงหลุดจากต้นอยู่ตามพื้นดิน จนถึงฤดูปลูกใหม่ก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใยสร้างสปอร์ ปลิวกระจายไปตกลงบนใบพืชก่อให้เกิดโรคต่อไปได้อีก

นอกจาก Cercospora citrullina ยังมีอีก species หนึ่งที่พบว่าก่อให้เกิดโรคใบจุดกับแตงบางชนิด เช่น สควอช และ ฟักทอง คือ Cercospona cucurbita ทั้งสองชนิดมีลักษณะ โคนีเดีย และการเป็นอยู่คล้ายๆ กัน ผิดกันตรงพืชที่ถูกเข้าทำลายเท่านั้น

ในการเข้าทำลายพืชและการขยายพันธุ์เชื้อทั้งสองชนิด ต้องการความชื้นสูงและอุณหภูมิระหว่าง 27 – 30 ∘ซ.

การป้องกันกำจัด

1. ปลูกพืชหมุนเวียนอย่างน้อย 3 ปี

2. ปลูกแตงในดินที่มีการเตรียม บำรุงรักษา และมีการถ่ายเทอากาศที่ดี

3. กำจัดทำลายวัชพืชพวกแตงในบริเวณแปลงปลูกให้หมด

อ้างอิง
thaikasetsart.com/ โรคใบจุดจากเชื้อcercospora/

สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3371
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
ทุเรียนใบติด เป็นอาการของ โรคทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia sp. (ไรซ็อกโทเนีย) ซึ่งเจริญได้ดีในช่วงฝนสลับร้อน อากาศร้อนชื้น พบมากในระยะทุเรียนแตกใบอ่อน

โรคใบติดทุเรียน อาการเริ่มแรก พบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบทุเรียน จากนั้นแผลเริ่มขยายตัวเป็นสีน้ำตาล และลุกลามใบยังใบปกติข้างเคียง โดยเฉพาะใบที่อยู่ด้านล่าง แท้จริงแล้วคือโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา คล้ายพืชอื่น แต่สำหรับในทุเรียนนั้น จะมีเส้นใยคล้ายใยแมงมุม ยึดใบทุเรียนให้ติดกัน ใบทุเรียนจะแห้งไปเรื่อยๆ จนวันหนึ่งหลุดร่วงไปโดนใบล่าง ทำให้การระบาดจะลุกลาม เป็นหย่อม ขยายออกไป หนักเข้า ใบทุเรียนจะแห้งติดกันเป็นกระจุกตามกิ่งต่างๆ ส่งผลให้ทุเรียนกิ่งแห้งในที่สุด

ในแปลงทุเรียนที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคใบติด เป็นประจำ หลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยเชิงเดี่ยวที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบที่มากเกินไป ไม่สมดุล เกษตรกรควรตัดแต่งทรงพุ่มทุเรียน ให้โปร่ง กำจัดวัชพืช ทำให้อาการถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องถึง จะช่วงลดความชื้น และระงับการเจริญของเชื้อรา

🍂 ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

🌿 ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..
🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ http://www.farmkaset..link..
🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🌿ข้อมูล FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig's law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม [Ca] (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม [Mg] (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี [Zn] (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

อ่าน:3371
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
ในปัจจุบัน การรักษาอาหารโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในพืชใบเขียวต่างๆทุกชนิด ประสิทธิภาพของยาอินทรีย์ในปัจจุบันนั้น ไม่ได้ด้อยกว่ายาเคมีเลย และที่สำคัญ ยาอินทรีนั้นปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย

โรคใบไหม้ เกิดได้กับพืชทั่วไป พืชใบเขียวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชสวน พืชไร่ ก็เกิดอาการโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราได้ในทุกๆพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ผลอย่าง ทุเรียน เงาะ ลำไย มังคุด พืชเศรษฐกิจอย่างเช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พืชไร่อย่างเช่น นาข้าว กาแฟ มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชผักสวนครัวต่างๆ เช่น พริก ก็เป็นได้ทั้งโรคกุ้งแห้ง แคงเกอร์ ใบไหม้ ใบเหี่ยว กะหล่ำ กวางตุ้ง พืชตระกูลแตงต่างๆ แตงกวา แตงโม แตงร้าน แตงไทย แคลตาลูป ฯลฯ อีกมากมายเลย ล้วนแล้วแต่มีปัญหาโรคใบไหม้ ได้ทั้งนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอาการร้อน ชื้น อบอ้าว โรคใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งเชื้อรานี้ สามารถแพร่กระจายไปตามลมที่พัดพา ไปติดในพื้นที่ต่างๆ จึงลุกลามได้อย่างรวดเร็ว

การป้องกัน รักษาโรคใบไหม้ ในพืชที่ปลูก
- หากเป็นการเริ่มปลูกรอบใหม่ การไถพลิกดินตากแดดสองสัปดาห์ ช่วยฆ่าเชื้อราในดินได้เป็นอย่างดี

- หากเป็นพืชที่มีสายพันธุ์หลากหลาย เช่น มันสำปะหลัง หรือยางพารา สามารถศึกษา เลือกใช้พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคได้สูง

- การเว้นระยะห่างของการปลูกพืชอย่างเพียงพอ ให้แดดส่องถึง อาการถ่ายเทได้ดี เป็นการทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา

- การให้น้ำในเวลาเช้าตรู่ เพื่อให้พืชมีเวลาแห้งระหว่างวัน

- เมื่อพบ โรคใบไหม้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อ ผสมกับ FK-1 ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุก 3-5 วัน ในช่วงของการรักษา ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง และหากพื้นที่รอบข้าง หรือแปลงข้างเคียงยังมีการระบาด ควรฉีดพ่นป้องกันอย่างต่อเนื้อง ทุกๆ 7 หรือ 15 หรือ 30 วัน ตามความรุนแรงของการระบาด

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือสั่งซื้อที่เพจ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..
หรือที่ ช็อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3371
🎗โรคเสาวรส โรคจุดสีน้ำตาลที่ผลเสาวรส (Brown fruit spot)
🎗โรคเสาวรส โรคจุดสีน้ำตาลที่ผลเสาวรส (Brown fruit spot)
🎗โรคเสาวรส โรคจุดสีน้ำตาลที่ผลเสาวรส (Brown fruit spot)
โรคโรคจุดสีน้ำตาลเสาวรส นี้พบมากในแปลงปลูกที่ปลูกถี่เกินไปทำให้เถาแน่นทึบแสงแดดส่งไม่ถึง นอกจากนี้ยังพบในแปลงปลูกที่มีวัชพืชมาก

สาเหตุและอาการ

เกิดจากเชื้อ Collectotrichum sp. ทำให้ผลเป็นจุดสีน้ำตาลทั่วผลหลังจากนั้นแผลดังกล่าวจะพัฒนาเป็นกระเกิดนูนสีน้ำตาล

การป้องกันกำจัด

ต้องหมั่นดูแลรักษาแปลงให้สะอาดอยู่เสมอ ตัดแต่งเถาที่แก่และแน่นทึบออกบ้าง เพื่อให้แสงแดดส่งถึงและให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ทำการตัดแต่งผลที่เป็นโรคออกจากแปลง หากพบการหแพร่ระบาดของโรคมากและจำเป็นต้องทำ

🍂 ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿เกี่ยวกับ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig's law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ http://www.farmkaset..link..

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3371
เพลี้ยไฟ (rice thrips)
เพลี้ยไฟ (rice thrips)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stenchaetothrips biformis (Bagnall) วงศ์ : Thripidae อันดับ : Thysanoptera

เพลี้ยไฟ Stenchaetohrips biformis (Bagnall) เป็นแมลงจำพวกปากดูด ขนาดเล็กลำตัวยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร มีทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ตัวเต็มวัยมีสีดำ ตัวอ่อนสีเหลืองอ่อน ตัวเต็มวัยวางไข่ในเนื้อเยื่อของใบข้าว ตัวอ่อน มี 2 ระยะ ระยะเวลาตั้งแต่ตัวอ่อนถึงตัวเต็มวัยนานประมาณ 15 วัน

ลักษณะการทำลายและการระบาด

เพลี้ยไฟทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะทำลายข้าวโดยการดูดกินน้ำเลี้ยง จากใบข้าวที่ยังอ่อนโดยอาศัยอยู่ตามซอกใบ ระบาดในระยะกล้า เมื่อใบข้าวโตขึ้นใบที่ถูกทำลายปลายใบจะเหี่ยวขอบใบจะม้วนเข้าหากลางใบและ อาศัยอยู่ในใบที่ม้วนนั้น พบทำลายข้าวในระยะกล้าหรือหลังปักดำ 2-3 สัปดาห์ โดยเฉพาะในอากาศร้อนแห้งแล้งหรือฝนทิ้งช่วงนานติดต่อกันหรือสภาพนาข้าวที่ ขาดน้ำ ถ้าระบาดมากๆ ทำให้ต้นข้าวแห้งตายได้ทั้งแปลง

พืชอาหาร

ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ มิลเลท ป่านลินิน หญ้าข้าวนก หญ้าไซ และหญ้าต่างๆ

การป้องกันกำจัด

1) ดูแลแปลงข้าวระยะกล้าหรือหลังหว่าน 7 วัน อย่าให้ขาดน้ำ

2) ไขน้ำท่วมยอดข้าวทิ้งไว้ 1-2 วัน เมื่อตรวจพบเพลี้ยไฟตัวเต็มวัย 1-3 ตัวต่อต้นในข้าวอายุ 6-7 วันหลังหว่าน ใช้ปุ๋ยยูเรียอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านเมื่อข้าวอายุ 10 วัน เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้นข้าว

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

มาคา สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยไฟ และเพลี้ยต่างๆ

FK-1 บำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ต้นกาแฟ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ต้นกาแฟ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ต้นกาแฟ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราชนิดหนึ่งที่ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางถึงศักยภาพในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและการควบคุมทางชีวภาพของเชื้อโรคพืช เชื้อราไตรโคเดอร์มาแอสเพอเรลลัมสายพันธุ์หนึ่งพบว่ามีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคราสนิมในต้นกาแฟ สายพันธุ์นี้เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ Trichorex และมีจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ในฐานะสารกำจัดแมลงศัตรูพืชภายใต้ชื่อแบรนด์ Trichorex

โรคราสนิมเกิดจากเชื้อรา Hemileiavastatrix ซึ่งติดเชื้อที่ใบของต้นกาแฟ ทำให้เกิดตุ่มหนองสีเหลืองหรือสีส้มบนผิวใบ ทำให้พื้นที่สังเคราะห์แสงของพืชลดลง ส่งผลให้ผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดกาแฟลดลง

Trichorex เป็นสารกำจัดแมลงชีวภาพที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมโรคราสนิมกาแฟ เนื่องจากผลิตเอนไซม์ที่ย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อราราสนิม เชื้อรายังเกาะรากของต้นกาแฟ ซึ่งเป็นเกราะป้องกันการติดเชื้อจากราสนิม นอกจากนี้ Trichorex ยังผลิตสารประกอบที่ทำหน้าที่เป็นตัวเหนี่ยวนำให้เกิดความต้านทานอย่างเป็นระบบ (SAR) ซึ่งกระตุ้นกลไกการป้องกันของพืชจากเชื้อราราสนิม

Trichorex ใช้กับดินเป็นการรักษาเมล็ดหรือฉีดพ่นทางใบ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ร่วมกับสารเคมีกำจัดเชื้อราเพื่อควบคุมโรคราสนิมได้ครอบคลุมยิ่งขึ้น มีการแสดงการใช้ Trichorex เพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพของเมล็ดกาแฟในการทดลองภาคสนามหลายครั้ง

สรุปได้ว่า Trichorex เป็นสารกำจัดแมลงชีวภาพที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมโรคราสนิมในต้นกาแฟ เป็นทางเลือกที่เป็นธรรมชาติ ปลอดภัย และยั่งยืนแทนสารเคมีฆ่าเชื้อรา และสามารถใช้เดี่ยวๆ หรือใช้ร่วมกับสารเคมีฆ่าเชื้อราเพื่อการควบคุมโรคที่ครอบคลุมมากขึ้น การใช้ Trichorex สามารถเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดกาแฟได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมกาแฟโดยรวม

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่า

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง


สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในต้นข้าว เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็ก
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในต้นข้าว เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็ก
Trichoderma Trichorex: กุญแจสำคัญในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นข้าว

ข้าวเป็นหนึ่งในพืชผลที่สำคัญที่สุดในโลก เป็นอาหารสำหรับผู้คนหลายพันล้านคน อย่างไรก็ตาม โรคเชื้อราสามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นข้าว ทำให้ผลผลิตลดลงและคุณภาพของพืชลดลง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เกษตรกรได้หันมาใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มามากขึ้นเพื่อเป็นทางออกทางธรรมชาติในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นข้าว ในบรรดาเชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อต่างๆ ที่มีอยู่ เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ เป็นตัวเลือกที่มีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือที่สุดวิธีหนึ่ง

เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ คืออะไร?

เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex เป็นเชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อหนึ่งที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นข้าวโดยเฉพาะ เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไปในดินและเป็นที่รู้จักในด้านความสามารถในการปกป้องพืชจากเชื้อโรคต่างๆ เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex ประกอบด้วยเชื้อราไตรโคเดอร์มาสายพันธุ์หนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นข้าวโดยเฉพาะ

เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex ทำงานอย่างไร?

เชื้อรา Trichoderma Trichorex ทำงานโดยการเกาะรากของต้นข้าว สร้างเกราะป้องกันเชื้อรา เชื้อราไตรโคเดอร์มาผลิตเอนไซม์ที่ทำลายผนังเซลล์ของเชื้อราที่ก่อโรค ทำให้ติดเชื้อในต้นข้าวได้ยากขึ้น นอกจากนี้ เชื้อรา Trichoderma Trichorex ยังผลิตสารปฏิชีวนะที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา ช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคเชื้อราในต้นข้าว

ประโยชน์ของการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex

ประโยชน์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นข้าวมีหลายประการ ประการแรก เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex เป็นสารธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นอันตรายต่อต้นข้าวหรือระบบนิเวศโดยรอบ ประการที่สอง เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ง่ายต่อการนำไปใช้และสามารถบูรณาการเข้ากับแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่มีอยู่ ในที่สุด เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ช่วยลดการเกิดโรคเชื้อราในต้นข้าวได้อย่างมีนัยสำคัญ ทำให้ได้ผลผลิตสูงขึ้นและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีขึ้น

วิธีใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex

เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ มักจะใช้กับดินรอบรากของต้นข้าว ผลิตภัณฑ์มาในรูปแบบผงที่สามารถผสมกับน้ำหรือวัสดุตัวพาอื่นๆ เช่น รำข้าวหรือปุ๋ยหมักก่อนนำไปใช้ อัตราการใช้ที่แนะนำจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคเชื้อราในพื้นที่ แต่โดยทั่วไป เชื้อราไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ 1-2 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์ก็เพียงพอแล้ว ควรใช้ผลิตภัณฑ์ในระยะแรกของการเจริญเติบโตของพืชเพื่อให้แน่ใจว่ามีการป้องกันโรคเชื้อราได้ดีที่สุด

บทสรุป

โรคเชื้อราสามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นข้าว ทำให้ผลผลิตลดลงและคุณภาพของพืชลดลง เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex เป็นเชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อหนึ่งที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นข้าวโดยเฉพาะ เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichorex ทำงานโดยการเพิ่มจำนวนรากของต้นข้าวและผลิตเอนไซม์และยาปฏิชีวนะที่ป้องกันเชื้อราที่ก่อโรค การใช้เชื้อรา Trichoderma Trichorex สามารถช่วยให้เกษตรกรเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพของต้นข้าวได้ ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมวิธีการทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อะมิโนโปรตีนจำเป็นต่อพืช 18 ชนิด ช่วนในการส้รางฮอร์โมนพืช โตไว ผลใหญ่ แข็งแรง ทนแล้ง ทนโรค ทำไห้เกิดการสร้างและขยายขนาดของเซลล์เนื้อเยื่อ และพัฒนาส่วนต่างๆของพืชเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบ ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับการเพิ่มผลผลิตอินทผาลัม ช่วยให้ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับการเพิ่มผลผลิตอินทผาลัม ช่วยให้ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับการเพิ่มผลผลิตอินทผาลัม ช่วยให้ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ
อินทผาลัมเป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่ได้รับความนิยม ปลูกง่าย ทนแล้ง และให้ผลผลิตดี แต่การจะได้ผลผลิตที่คุ้มค่า จำเป็นต้องมีการดูแลอย่างถูกต้อง หนึ่งในปัจจัยสำคัญ คือ การใช้ปุ๋ยที่เหมาะสม

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นปุ๋ยเคมีมาตรฐาน ประเภทโพแทสเซียมคลอไรด์ เหมาะสำหรับการฉีดพ่นทางใบ ต้นอินทผาลัม

คุณสมบัติ:

ปุ๋ยสูตร 0-0-60 หมายความว่า มีธาตุอาหารหลัก 3 ชนิด คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ในอัตราส่วน 0-0-60 ตามลำดับ
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 มีโพแทสเซียมสูง ช่วยให้ต้นอินทผาลัมออกดอกติดผล ดก ผลใหญ่ เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ
ช่วยให้พืชดูดซึมน้ำและธาตุอาหารได้ดี
เพิ่มความแข็งแรงให้ต้น
ต้านทานโรคและแมลง

วิธีการใช้:

ละลายปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 อัตรา 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ฉีดพ่นทางใบทุกๆ 10-15 วัน ในช่วงติดดอก ออกผล
ควรฉีดพ่นในตอนเช้าหรือเย็น หลีกเลี่ยงการฉีดพ่นตอนแดดจัด

ข้อควรระวัง:

เก็บปุ๋ยให้มิดชิด พ้นมือเด็กและสัตว์เลี้ยง
สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ หน้ากาก แว่นตา เมื่อใช้งาน
ห้ามรับประทาน
ระวังอย่าให้ปุ๋ยโดนผิวหนังและดวงตา
ล้างมือให้สะอาดหลังใช้งาน

ผลลัพธ์:

ต้นอินทผาลัมออกดอกติดผล ดก
ผลใหญ่ เพิ่มน้ำหนัก
ผลมีคุณภาพดี
ต้นแข็งแรง ต้านทานโรคและแมลง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับการเพิ่มผลผลิตอินทผาลัม ช่วยให้ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร
ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)
ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
- เร่งโตเร่งต้นเร่งใบเร่งเขียว สูตร 30-20-5
- เร่งระบบราก เร่งดอก สูตร 10-40-10
- เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล สูตร 15-5-30
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3370
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 46 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงหมัดผัก ในผักกวางตุ้ง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/30 14:46:09 - Views: 3366
ตอก - ใช้มัดข้าวหลังการเก็บเกี่ยวข้าวด้วยมือของชาวนา รู้จักกันหรือไม่?
Update: 2564/04/06 09:28:20 - Views: 3346
โรคกุหลาบใบจุด กุหลาบใบไหม้ โรคดายแบค (Dieback) กุหลาบใบเหลือง ราสนิม โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/09 04:21:32 - Views: 3367
ระวัง!! “โรคจุดดำ” หรือ โรคแอนแทรคโนส ในอะโวคาโด สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร ??
Update: 2566/11/03 11:12:24 - Views: 3316
Protect Plants แอพพลิเคชั่นดีๆ ของกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อเกษตรกรไทย
Update: 2564/08/05 11:35:37 - Views: 3416
โรคหอมเลื้อย : ONION TWISTER DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 05:02:38 - Views: 3318
หนอนชอนใบส้ม หนอนเจาะผลส้ม หนอนผีเสื้อ หนอนต่างๆในพืชตระกูลส้ม ป้องกันดีที่สุด พบระบาดให้เร่งกำจัด
Update: 2566/11/06 08:56:06 - Views: 5260
กรมวิชาการเกษตร เเนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตงให้ระวัง โรคราน้ำค้าง
Update: 2564/08/10 11:59:24 - Views: 3331
โรคใบหงิก (โรคจู๋) ข้าวใบหงิก ข้าวใบม้วน (Rice Ragged Stunt Disease)
Update: 2564/08/27 02:49:38 - Views: 3346
การควบคุมวัชพืชอย่างมีประสิทธิภาพในสวนมะนาวโดยใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:17:31 - Views: 3380
โรคเชื้อราในถั่วฝักยาว
Update: 2566/11/14 09:43:25 - Views: 3354
การควบคุมวัชพืชในสวนพุทราด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:18:18 - Views: 3324
โรคโกโก้ โกโก้ใบเหลือง โกโก้ใบไหม้ แอนแทรคโนสโกโก้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
Update: 2564/08/28 21:47:30 - Views: 3399
โรคปาล์ม : โรคที่เกิดกับปาล์มประดับ และปาล์มน้ำมั้น รวมถึงปาล์มสายพันธุ์ต่างๆ
Update: 2564/01/09 09:42:15 - Views: 3320
ทุเรียนใบไหม้ ในช่วงอาการร้อนชื้น แดดจัด และมีฝนตกมาใบบางครั้ง
Update: 2563/04/21 09:11:49 - Views: 3339
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
Update: 2564/08/09 10:21:47 - Views: 3402
ปุ๋ยน้ำสำหรับมะละกอ ปุ๋ยมะละกอ ปุ๋ยฉีดพ่นมะละกอ ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/13 23:29:24 - Views: 3368
ปุ๋ยน้ำ สำหรับ มันสำปะหลัง FK-1 ประสิทธิภาพสูง มันสำปะหลังโตไว ใบเขียว แข็งแรง ต้านทานต่อโรค
Update: 2565/12/04 06:46:57 - Views: 3319
การป้องกันกำจัดโรคแอนแทรกโนสในทุเรียนด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส
Update: 2566/01/06 14:13:27 - Views: 3358
ป้องกันและควบคุมหนอนศัตรูพืชที่ทำลายดอกและเมล็ดทานตะวัน: วิธีการป้องกันและการจัดการในสวนทานตะวันของคุณ
Update: 2566/11/10 10:19:28 - Views: 3326
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022