[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

 
เตือน!! ระวังเพลี้ยแป้ง บุก สวนสับปะรด สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
เตือน!! ระวังเพลี้ยแป้ง บุก สวนสับปะรด สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
สารกำจัดเพลี้ยของ Invet ซึ่งขับเคลื่อนโดยสารออกฤทธิ์ไดโนเตฟูราน ให้ประโยชน์ที่ไม่มีใครเทียบได้สำหรับต้นสับปะรด สูตรที่มีศักยภาพกำจัดเพลี้ยได้อย่างรวดเร็ว ทำให้มั่นใจในสุขภาพและความมีชีวิตชีวาของพืชสับปะรด ด้วยการกำหนดเป้าหมายแมลงที่เป็นอันตรายเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ Invet ปกป้องพืชจากการรบกวนที่ทำให้ร่างกายอ่อนแอลง ช่วยให้พวกมันเจริญเติบโตและให้ผลคุณภาพสูง โซลูชันอันทรงพลังนี้ไม่เพียงแต่รักษาความสวยงามของสับปะรดเท่านั้น แต่ยังช่วยเพิ่มผลผลิตและผลผลิตโดยรวมอีกด้วย ด้วยนักฆ่าเพลี้ยของ Invet ชาวไร่สับปะรดสามารถเพลิดเพลินกับการรับประกันในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากศัตรูพืช ไปสู่การเก็บเกี่ยวที่อุดมสมบูรณ์และแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่ยั่งยืน

💦อัตราผสมใช้ อินเวท
» อินเวท 20กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร
» หรือ อินเวท 100กรัม ต่อน้ำ 100ลิตร
» 1 ไร่ ฉีดพ่นประมาณ 40 ลิตร (2 เป้)
กำจัดเพลี้ย ในพืชทุกชนิด เช่นเพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ และเพลี้ยต่างๆด้วย INVET
.
🔎สั่งซื้อยาป้องกันกำจัดเพลี้ย
อินเวท ยาป้องกันกำจัดเพลี้ยแมลงศัตรูพืช #กำจัดเพลี้ย #ยากำจัดเพลี้ย

💲ราคา 250 บาท
✈จัดส่งฟรี kerry ด่วน เก็บเงินปลายทาง
.
» โทร 090-592-8614
.
» Line@ ID: @FarmKaset หรือคลิกแอดไลน์ http://ไปที่..link..
» ซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
» ซื้อกับช้อปปี้ http://ไปที่..link..
» ซื้อกับTikTok http://ไปที่..link..
อ่าน:3481
หนอนเจาะมะม่วง หนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง เพลี้ยไฟมะม่วง เพลี้ยจักจั่นมะม่วง โรครามะม่วง มะม่วงใบไหม้
หนอนเจาะมะม่วง หนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง เพลี้ยไฟมะม่วง เพลี้ยจักจั่นมะม่วง โรครามะม่วง มะม่วงใบไหม้
หนอนมาใช้ ไอกี้_ เจ้าเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา_ หากเจอโรคใบไหม้โรคเชื้อราใช้ ไอเอส_ ใจร้อนอยากให้พืชฟื้นตัวเร็วใช้ FK-1 เร่งฟื้นตัว เร่งเขียว เร่งโตนะคะ
..สนใจทักแชทเลย..
.
ทั้งหมดนี้ ใช้ได้กับทุกพืชค่ะ
.
ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
.
ไอกี้ กำจัดหนอน 490 บาท บรรจุ 500กรัม_ ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ แบคทีเรียแกรมบวก ใช้กำจัดหนอนทุกชนิดโดยเฉพาะ
.
มาคา กำจัดเพลี้ย 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ มาคา เป็นสารอินทรีย์สกัดจากพืช
.
ไอเอส กำจัดโรคใบไหม้ โรคเชื้อรา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ทำงานแบบ อีออนคอนโทรลในการกำจัดโรคราต่างๆ
.
FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)
.
การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
อ่าน:3481
แปรรูปผลิตภัณฑ์กัญชาขาย​ ลดปัญหาผลผลิตล้นตลาด​
แปรรูปผลิตภัณฑ์กัญชาขาย​ ลดปัญหาผลผลิตล้นตลาด​
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรไทยโนนมาลัย จ.บุรีรัมย์ ต่อยอดแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกัญชาจำหน่ายสร้างรายได้ ลดผลกระทบปัญหาผลผลิตล้นตลาดหลังปลดล็อคให้ประชาชนปลูกดูแลสุขภาพตัวเองได้ในครัวเรือน ทั้งรองรับการเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพที่หลายภาคส่วนกำลังผลักดัน

(17 มิ.ย.65) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรไทยโนนมาลัย อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ ซึ่งเป็นหมู่บ้านต้นแบบโครงการกัญชา 6 ต้น ได้ต่อยอดแปรรูปผลิตภัณฑ์กัญชาสมุนไพรไทย เช่น ยาดม ยาหม่อง น้ำมันกัญชา ยาสีฟัน และสบู่ จำหน่ายให้กับประชาชนและนักท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้เสริม ลดปัญหาผลผลิตล้นตลาดและราคาที่อาจจะต่ำลง หลังจากมีการปลดล็อคกัญชา กัญชง ออกจากบัญชียาเสพติด และให้ประชาชนสามารถปลูกในครัวเรือนเพื่อดูแลรักษาสุขภาพตัวเองได้ ซึ่งก็เป็นผลดีกับประชาชนสามารถเข้าถึงกัญชาได้ง่ายขึ้น แต่เชื่อว่าในอนาคตหากผลผลิตมีจำนวนมากก็จะไม่สามารถขายได้ หรือราคาก็จะลดลง จึงต้องวางแผนไว้รองรับด้วยการนำส่งต่างๆ ของกัญชาที่เหลือจะป้อนให้กับ รพ.สต. มาผลิตหรือแปรรูปเป็นผลผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อลดผลกระทบที่จะตามมาได้ อีกทั้งขณะนี้หลายภาคส่วนก็อยู่ระหว่างผลักดันให้เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวสายสุขภาพ และแหล่งเรียนรู้ ก็จะทำให้วิสาหกิจชุมชนสามารถขายผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกัญชาได้

นายวิไล คำพิบูล หนึ่งในสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรไทยโนนมาลัย ยอมรับว่า การปลดล็อคกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดเป็นพืชสมุนไพร ก็เป็นสิ่งที่ดีต่อประชาชนจะได้เข้าถึงกัญชาในการดูแลสุขภาพตัวเองได้สะดวกมากขึ้น แต่ก็อาจจะมีผลกระทบกับวิสาหกิจชุมชนที่ขออนุญาตปลูกก่อนหน้านี้ เพราะช่วงนี้ราคาใบสดกัญชาก็เริ่มลดลงแล้ว จากช่วงแรกๆ ขายได้กิโลกรัมละ 15_500 บาท ลดเหลือกิโลกรัม 5_000 บาท ปัจจุบันเหลือประมาณกิโลกรัมละ 2_000 บาท จึงจำเป็นต้องวางแผนรองรับด้วยการนำมาแปรรูปจำหน่าย เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะสามารถสร้างรายได้จากกัญชาได้



ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ปลูก ข่าตาแดง ส่งโรงงาน สร้างรายได้หลักล้านบาทต่อเดือน
ปลูก ข่าตาแดง ส่งโรงงาน สร้างรายได้หลักล้านบาทต่อเดือน
ปัจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสอาหารได้เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้พืชเครื่องเทศที่สำคัญอย่าง “ข่า” ที่ให้รสร้อนซ่าจัดจาดและมีกลิ่นเป็นเอกลักษณ์ กลายเป็นที่ต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ข่ามีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ แต่ถ้าพูดถึงสายพันธุ์ข่าที่เป็นที่ต้องการในอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสก็ได้แก่ “ข่าตาแดง” เพราะด้วยคุณสมบัติที่มีกลิ่น สี และรสชาติที่โดดเด่น ตลอดจนมีสรรพคุณทางสมุนไพรมากมาย ดังนั้น ทำให้ข่าตาแดงเป็นที่ต้องการของตลาดจำนวนมาก

คุณราชพฤกษ์ รักษาการ หรือ คุณเบียร์ บ้านเลขที่ 39 หมู่ 6 บ้านหนองปลาหมอ ตำบลหนองปลาหมอ อำเภอโนนสิลา จังหวัดขอนแก่น (โทร. 09-2470-2095) คนรุ่นใหม่ที่มีใจรักเกษตรโดยผันตัวเองจากอาชีพวิศวกรอนาคตไกล มาเป็นปลูกข่าตาแดง เนื่องจากมองเห็นความต้องการของอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสที่มีความต้องการจำนวนมาก ซึ่งกลายเป็นเกษตรกรผู้ปลูกข่ารายใหญ่ที่บุกเบิกปลูกข่าตาแดงส่งโรงงานเครื่องปรุงรส สร้างรายได้สูงกว่า 1 ล้านบาท/เดือน

คุณราชพฤกษ์ เล่าถึงจุดเปลี่ยนจากอาชีพวิศวกรมาเป็นเกษตรกรปลูกข่าตาแดงว่า เกิดจากความเบื่อหน่ายเมืองหลวงที่ต้องเจอรถติด รวมถึงความวุ่นวายของผู้คนที่เดินสวนกันอย่างพลุกพล่าน จึงมีความคิดหาอาชีพใหม่ที่ทำอยู่ใกล้ ๆ บ้านอย่างสงบสุข ซึ่งตอนนั้นได้มีโอกาสออกแบบโรงงานให้กับบริษัทยักษ์ใหญ่ที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องปรุงรสอาหาร และได้เห็นว่าอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสอาหารมีความต้องการเครื่องเทศอย่างข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด จำนวนมาก จึงมีความสนใจกับพืชทั้ง 3 อย่างนี้มาก

“เหตุที่เลือกปลูกข่า เพราะแอบไปถามกับเจ้าหน้าที่ในโรงงานเครื่องปรุงรสอาหารว่าพืชเครื่องเทศอะไรที่เป็นที่ต้องการและได้ราคาสูงสุด ซึ่งเจ้าหน้าที่ก็บอกว่า “ข่า” ดังนั้นจึงกลับไปศึกษาเรื่องข่าพร้อมกับศึกษาตลาดข่าอย่างจริงจัง ซึ่งก็พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่มักจะปลูกข่าเหลือง ซึ่งคิดว่าหากเราปลูกพันธุ์ที่แตกต่างกว่าจะสร้างจุดเด่นได้ดีกว่า และทำให้ข่าที่ปลูกมีราคาดี รวมถึงเป็นที่ต้องการของตลาดด้วย”

จากการศึกษาพันธุ์ข่าต่าง ๆ ก็ตัดสินใจเลือกปลูกข่าตาแดงที่มีลักษณะลำต้นขนาดเล็กสีเขียว ใบ มีรูปร่างคล้ายใบพาย ออกสลับกันรอบ ๆ ต้น ออกดอกเป็นช่อตรงปลายยอด เป็นสีขาวและมีสีแดงเล็กน้อย ส่วนหน่อ มีลักษณะเป็นสีแดง มีกลิ่นหอมฉุนมากกว่าข่าพันธุ์อื่น ๆ ตลอดจนมีสรรพคุณ ทั้งขับลม เป็นยาระบาย รักษาโรคบิด บำรุงโลหิต และที่สำคัญเป็นพืชที่ทนแล้ง สามารถปลูกได้ง่ายทุกสภาพพื้นที่ ทำให้ตัดสินใจเลือกปลูกข่าตาแดง พร้อมกับเจาะจงตลาดไปที่อุตสาหกรรมเครื่องปรุงรส

ก่อนปลูกข่าตาแดงก็ได้คุยกับเจ้าหน้าที่โรงงานแล้วว่าจะปลูกข่าตาแดงซึ่งมีทั้งความโดดเด่น สรรพคุณ รวมถึงกลิ่นที่เฉพาะ ทางโรงงานก็ยินดีจะรับ จึงเริ่มลงมือทำอย่างจริงจัง ซึ่งข่าตาแดงที่ปลูกก็เป็นที่ติดใจของตลาด จนมีความต้องการอย่างต่อเนื่องอีกด้วย จากนั้นก็ได้เปลี่ยนอาชีพจากวิศวกรเป็นเกษตรกรปลูกข่าอย่างเต็มตัว

คุณราชพฤกษ์ บอกว่าตอนนี้มีพื้นที่ปลูกข่าตาแดง 120 ไร่ สามารถส่งผลผลิตสู่โรงงานได้วันละ 1.4 ตัน หรือ 1_400 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 30-35 บาท ทำให้มีรายได้ 40_000-50_000 บาท/วัน หรือประมาณ 1_500_000 บาท/เดือน แต่ก่อนที่จะมาถึงจุดนี้ ต้องมีการเรียนรู้เรื่องการปลูกข่าอย่างมาก ซึ่งการเรียนรู้คนเดียวนั้นไม่เพียงพอแน่สำหรับเกษตรกรมือใหม่ ดังนั้น จึงคิดหาวิธีลัดซึ่งก็ คือ การเข้าหาชาวบ้านที่มีประสบการณ์ปลูกข่ามาเป็นสิบ ๆ ปี อาจจะดูโง่ที่จบถึงวิศวกรไปให้เกษตรกรสอนการปลูกข่า แต่สิ่งที่เกษตรกรสอนทุกสิ่งทุกอย่าง มักดีกว่าตำราเป็นร้อย ๆ เล่ม เพราะเรื่องบางเรื่องก็ต้องมาเรียนรู้เอง จะไปเชื่อแต่ในตำราก็ไม่ได้ การที่จะประสบความสำเร็จได้ทุกวันนี้ ต้องมีความขยันหาความรู้ใหม่ ๆ ทั้งในหนังสือ ตลอดจนกล้าที่จะเข้าหาผู้รู้จริง ๆ อย่างเกษตรกรผู้ปลูกนั่นเอง

สำหรับเคล็ดลับการปลูกที่ทำให้ประสบความสำเร็จและสามารถขยายพื้นที่ปลูกข่าได้ถึง 120 ไร่ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก ๆ วัน คือ ความอดทน ความใส่ใจประณีตทุกกระบวนการในการปลูก รวมถึงความใฝ่รู้ที่ศึกษาเรื่องการปลูกข่าเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งขั้นตอนทั้งหมดทำได้ดังนี้ การเตรียมดิน ต้องมีการไถระเบิดดินดานเพื่อเปิดหน้าดินและให้พืชได้สัมผัสน้ำได้ดียิ่งขึ้น เมื่อเสร็จแล้วให้ไถพรวนดินให้ละเอียดอีกประมาณ 2 รอบ ทั้งนี้ ในการไถพรวนดินควรระวังน้ำท่วมขัง เพราะข่าจะไม่ชอบดินชื้น ต้องทำอย่างไรก็ได้ไม่ให้น้ำขังในดิน

การเตรียมท่อนพันธุ์ ควรเลือกท่อนพันธุ์ที่มาจากต้นแม่ซึ่งมีอายุ 1 ปีขึ้นไป เพราะจะมีตามาก รากงอกใหม่ได้ง่าย โดยแยกแง่ง ตัดใบ ตัดราก ออกให้หมดพร้อมกับล้างน้ำให้สะอาดก็นำมาปลูกในไร่ให้ผลผลิตได้แล้ว หรือถ้าหาท่อนพันธุ์ไม่ได้ให้หาซื้อท่อนพันธุ์ตามตลาด โดยเลือกหัวและแง่งที่สมบูรณ์ที่สุด จากนั้นให้นำไปแช่น้ำยากันเชื้อราและน้ำยาเร่งราก แช่ไว้ประมาณ 20 นาที ควรเลือกเหง้าที่มีขนาดพอเหมาะ หากเหง้าไหนมีขนาดใหญ่เกินไปให้ตัดแบ่งเป็น 2 เหง้าได้ แต่ควรนำปูนกินหมากผสมน้ำทาตรงแผล เพื่อกันเชื้อราขึ้นซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโตของข่า

วิธีการปลูก เริ่มจากใช้จอบขุดหลุมลึก ประมาณ 1 หน้าจอบ แล้วนำเหง้าข่ามาวางลงไปพร้อมกับกลบดินและรดน้ำพอชุ่ม โดยวิธีการปลูกข่ามีทั้งหมด 4 แบบ ได้แก่ ปลูกแบบใช้ท่อนพันธุ์ข่า 1 เหง้า ใช้ระยะห่างระหว่างกอและแถว 60 x 80 เซนติเมตร เป็นการปลูกที่เหมาะสำหรับเกษตรกรที่ทดลองปลูกข่า เพราะใช้ต้นทุนค่อนข้างต่ำทั้งยังจัดการแปลงได้ง่ายกว่าการปลูกแบบอื่น ๆ ซึ่งการปลูกโดยใช้ท่อนพันธุ์เหง้าเดียวใช้ต้นทุนค่าท่อนพันธุ์ประมาณ 15_000 บาท/ไร่ เมื่อนำผลผลิตไปขายจะได้ทั้งหมด 45_000 บาท/ไร่


วิธีที่ 2 ปลูกแบบใช้ท่อนพันธุ์ข่า 2 เหง้า ซึ่งใช้ระยะห่างระหว่างกอและแถว 80 x 80 เซนติเมตร ใช้ทุนค่าท่อนพันธุ์ 30_000 บาท/ไร่ เก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ 90_000 บาท/ไร่ วิธีที่ 3 ปลูกแบบใช้ท่อนพันธุ์ข่า 3 เหง้า ระยะห่างระหว่างกอและแถว 1 x 1 เมตร ใช้ต้นทุนค่าท่อนพันธุ์ 45_000 บาท/ไร่ เก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ถึง 120_000-135_000 บาท/ไร่ ส่วนวิธีสุดท้ายปลูกแบบใช้ท่อนพันธุ์ข่า 4 เหง้า ใช้ระยะห่างระหว่างกอและแถว 1.20 x 1.20 เมตร ใช้ต้นทุนท่อนพันธุ์ 60_000 บาท/ไร่ เก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ 160_000-180_000 บาท/ไร่

ต้นทุนและจำนวนเงินที่ขายได้ ทั้ง 4 แบบ จะแปรผันตามกันไป เมื่อใช้ท่อนพันธุ์มากขึ้นก็จะได้ผลผลิตข่าที่มากขึ้น ซึ่งการปลูกแบบที่ 1 และ 2 เหมาะสำหรับเกษตรกรรายย่อยหรือเกษตรกรที่เพิ่งทดลองปลูก เนื่องจากมีการจัดการแปลงเรื่องหญ้า ปุ๋ย แมลงที่ง่าย ตลอดจนได้ผลผลิตเหง้าใหญ่ รวมถึงใช้เงินลงทุนที่ต่ำกว่าด้วย ส่วนแบบที่ 3 และ 4 ใช้เงินลงที่สูงกว่า แต่ก็ได้ผลผลิตที่มากกว่า ทั้งยังช่วยจัดการในเรื่องของหญ้า เพราะทรงพุ่มที่ชิดติดกันทำให้หญ้าขึ้นได้ยาก แต่ทว่าผลผลิตข่าที่ได้เหง้าเล็ก ดังนั้น การปลูกแบบ 3 และ 4 จึงเหมาะสมสำหรับเกษตรกรรายใหญ่ที่ต้องการผลผลิตจำนวนมาก โดยที่ไม่ต้องดูแลแปลงปลูกมากนัก

“สำหรับการดูแลรักษาข่า ให้สังเกตต้นข่าตั้งแต่ปลูกจนมีอายุครบ 3 สัปดาห์ จะเห็นต้นข่าตายและเริ่มมีหน่อใหม่ขึ้นมาแทน ซึ่งเป็นธรรมชาติของข่า ดังนั้น เมื่อเห็นต้นข่าตาย อย่าตกใจ เนื่องจากต้นข่าจะตายเป็นธรรมชาติอย่างนี้อยู่แล้ว พอถึงสัปดาห์ที่ 4 จะเห็นต้นข่าเริ่มงอกใหม่และเจริญเติบโตไปเรื่อย ๆ ทั้งนี้ เมื่อเห็นต้นข่ามีใบ 2-3 ใบ ให้เริ่มใส่ปุ๋ยยูเรีย สูตร 46-0-0 บริเวณกอข่า ประมาณกอละ 10 เม็ด/สัปดาห์ ใส่ปุ๋ยแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนถึงเดือนที่ 4 ให้เปลี่ยนสูตรปุ๋ยเป็น 0-0-60 พร้อมกับเปลี่ยนการใส่ปุ๋ยจากใส่ประมาณ 10 เม็ด ให้เพิ่มมากขึ้น 1 เม็ด ทุก 15 วัน”

สำหรับการให้น้ำ มีการให้น้ำแบบระบบน้ำหยด สปริงเกอร์ ระบบน้ำฝอย โดยให้แบบสม่ำเสมอเพื่อให้ดินมีความชุ่มชื่น แต่ก็ไม่ได้รดน้ำแบบทุกวันเนื่องจาก ข่า ไม่ชอบที่ชื่นแฉะ นอกจากนี้ยังมีการให้น้ำพร้อมกับให้ธาตุอาหารไปด้วย โดยการหมักน้ำในถัง 2_000 ลิตร ใส่มูลโคแห้งพร้อมกับหมัดปากถุง 1 กระสอบ ใส่ EM ขยายตัวลงไป 1 ลิตร หมักทิ้งไว้ 3 วัน จากนั้นสูบน้ำในถังมารดทั่วแปลงได้เลย ซึ่งจะช่วยเพิ่มความชุ่มชื่น ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ในดินและข่าอีกด้วย

โรคและแมลงในแปลงจะไม่ค่อยพบ เนื่องจากโรคและแมลงทั้งหลายมักมีต้นเหตุมากจากปุ๋ยมูลโคมูลไก่ทั้งหลายที่เกษตรกรมักนำมาใส่เป็นรองพื้น ซึ่งการปลูกจะหลีกเลี่ยงการใส่ปุ๋ยมูลสัตว์เพื่อเป็นปุ๋ยรองพื้น จะเน้นแต่ปุ๋ยเคมีล้วน ๆ เพราะปุ๋ยเคมีให้ผลผลิตที่เร็วเพียงพอสำหรับการส่งข่าให้กับโรงงานทุกวัน แต่ถ้าถามว่าปุ๋ยอินทรีย์ทำในเชิงเศรษฐกิจได้ไหม ได้แต่ผลผลิตข่าที่ได้ก็จะไม่เยอะเท่าปุ๋ยเคมี ดังนั้น ในแปลงจึงมีแต่การใช้ปุ๋ยเคมี แม้จะใช้เงินในส่วนที่ซื้อปุ๋ย แต่ก็ช่วยลดในเรื่องต้นทุนค่ายารักษาโรคและแมลงที่มีต้นเหตุมาจากปุ๋ยมูลโคมูลไก่ได้

คุณราชพฤกษ์ บอกว่าการปลูกข่า 1 ครั้ง สามารถเก็บผลผลิตได้นานถึง 10 ปี แต่ทั้งนี้ ควรมีวิธีการขุดที่ถูกวิธี ซึ่งทำดังนี้ เลือกขุดข่าเพียง 3 มุม จากทั้งหมด 4 มุม ยกตัวอย่างเช่น ปลูกข่า 1 กอ จะมีต้นข่าขึ้นประมาณ 10 ต้น เป็นสี่เหลี่ยม เมื่อข่าโตจนเก็บผลผลิตได้ประมาณ 6-8 เดือน ให้เลือกขุดออกไป 3 มุม เหลือไว้หนึ่งมุม สำหรับเหลือให้ข่าแพร่พันธุ์ขยายต่อไปได้ แต่เมื่อเก็บผลผลิตในครั้งต่อไป ควรสับเปลี่ยนมุมที่ขุดออก เพราะจะทำให้ข่าที่งอกใหม่แต่ละครั้งเจริญเติบโตดี มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

เรื่องของตลาด ก็อย่างที่บอกไปว่าปลูกข่าตาแดงเพื่อส่งโรงงานโดยเฉพาะ ไม่มีการส่งตลาดรายย่อยอื่น ๆ ซึ่งราคาข่าที่ได้ตอนนี้ แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ข่าอ่อน เป็นข่าที่เก็บผลผลิตในช่วงเดือนที่ 6 เมื่อนำไปขายจะได้ราคาดีมากถึงกิโลกรัมละ 30-35 บาท ส่วนอย่างที่สอง คือ ข่าแก่ เป็นข่าที่อยู่ในช่วงการเจริญเติบในเดือนที่ 8 ซึ่งหลงเหลือจากเก็บผลผลิตไม่ทันของคนงาน ซึ่งขายได้ราคากิโลกรัม 10-15 บาท ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบข่าแก่กับข่าอ่อนแล้วอัตราส่วนในแปลงที่ขุดได้แต่ละวันจะมีข่าอ่อนถึง 80-90 เปอร์เซ็นต์ จะมีข่าแก่เพียง 10-20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่น่าพึงพอใจมาก เพราะตอนนี้ทางตลาดมีความยินดีที่จะรับทั้งข่าอ่อนและข่าแก และมีแนวโน้มที่รับอย่างนี้ต่อไปเรื่อย ๆ เพราะอุตสาหกรรมเครื่องปรุงรสอาหารกำลังเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น หากใครที่กำลังที่คิดจะมาทำการเกษตร ข่าตาแดง จึงเป็นทางเลือกที่ดีเลยทีเดียว”

“การทำการเกษตร ไม่ว่าจะปลูกอะไรอย่างแรกควรมีเงินทุน รองลงมาคือความอดทน พร้อมกับใจที่รักสิ่งนั้นแบบจริงจัง เพราะการเกษตรมันต้องใช้เวลาในการปลูก เจริญเติบโต ตลอดจนการเก็บเกี่ยว ซึ่งทุกขั้นตอนล้วนต้องใช้ความอดทนและเงินทุนทั้งสิ้น หากมีเงินน้อยนิดแล้วอยากทำการเกษตร เป็นสิ่งที่ผิดอย่างยิ่ง เนื่องจากสิ่งที่ไม่คาดคิดในการเกษตรมักเกิดได้เสมอ อาทิเช่น เกิดโรคและแมลงระบาด พืชที่ปลูกขาดธาตุอาหาร หากไม่มีความรู้ ตลอดจนเงินทุนหมุนเวียนก็ทำให้การทำเกษตรนั้นล้มเหลวได้ ดังนั้น หากทำการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกข่าตาแดง ควรมีการวางแผน มีเงินทุน ตลอดความอดทน แต่ทั้งนี้ ไม่ว่าอุปสรรคจะมีมากแค่นั้น หากมีความพยายามแล้วก็จะผ่านพ้นไปได้ด้วยดีอย่างแน่นอน” คุณราชพฤกษ์ทิ้งท้ายไว้

ข้อมูล : เกษตรกรก้าวหน้า

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
มะระ ใบไหม้ ใบเหลือง ราน้ำค้าง กำจัดโรคมะระ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
มะระ ใบไหม้ ใบเหลือง ราน้ำค้าง กำจัดโรคมะระ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคเหี่ยวตายเนื่องจากเชื้อรา มะระที่เป็นโรคนี้จะแสดงอาการใบล่าง เหลือง และเหี่ยวตายอย่างรวดเร็วทั้งเถา บางต้นจะมีรอยแตกหรือรอยช้ำสีน้ำตาล ตามเถาหรือตามโคนก้านใบก่อนที่จะตายไป

โรคราน้ำค้าง เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง อาการที่แสดงคือ ใบมะระ จะมีผลสี่หลี่ยมสีน้ำตาลประปรายทำให้ใบแห้งเหลือง เวลาที่อากาศชื้นจะสังเกต เห็นด้านท้องใบมีขุยของราสีขาวอมม่วงอ่อนขึ้นบนแผลนั้น

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย การควบคุมประจุไฟฟ้า สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
จากช่างซ่อมรถ รายได้เดือนหมื่นห้า เปลี่ยนมาเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง สร้างรายได้กว่า 200000 บาท สองแสนบาทต่อเดือน
จากช่างซ่อมรถ รายได้เดือนหมื่นห้า เปลี่ยนมาเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง สร้างรายได้กว่า 200000 บาท สองแสนบาทต่อเดือน

การเลี้ยงปลาทับทิม
รูปแบบการเลี้ยงปลาทับทิม จำแนกตามลักษณะแหล่งน้ำที่เลี้ยง ได้แก่
1. การเลี้ยงในบ่อดิน
เป็นการเลี้ยงในบ่อที่ขุดบริเวณพื้นที่ว่าง โดยคันบ่อ ขอบบ่อ และก้นบ่อเป็นดิน และไม่ใช้วัสดุกันน้ำใดๆรองพื้นหรือที่เรียกว่า บ่อน้ำหรือสระ บ่อเลี้ยงในลักษณะนี้มักเป็นบ่อขนาดใหญ่เป็นไร่หรือมากกว่า มีความลึกของบ่อตั้งแต่ 2 เมตร การเลี้ยงในลักษณะนี้จำเป็นต้องมีปริมาณน้ำมากเพียงพอ เพราะจำเป็นต้องใช้น้ำมาก

2. การเลี้ยงในเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
การเลี้ยงในเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ จะเป็นลักษณะการเลี้ยงในกระชังเป็นกลุ่มๆ เพื่อให้ปลาอยู่ในพื้นที่เลี้ยง ขนาดความลึกของน้ำไม่ควรต่ำกว่า 5 เมตร มีค่าความขุ่นใสไม่น้อยกว่า 70 เซนติเมตร

3. การเลี้ยงในแม่น้ำ
การเลี้ยงในแม่น้ำจัดเป็นการเลี้ยงในกระชังเช่นกัน แม่น้ำควรมีน้ำไหลตลอดฤดูกาลเลี้ยง หากเป็นพื้นที่ใกล้ปากอ่าว ควรให้กระชังห่างจากปากอ่าวมากที่สุด อย่างน้อย 20 กิโลเมตร เพื่อไม่ให้น้ำมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มหรือคุณภาพมากเกินไป

4. การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์
เป็นการเลี้ยงที่ใช้วิธีการสร้างบ่อน้ำด้วยการก่อบ่อซีเมนต์สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมักเลี้ยงในโรงเรือนที่สามารถป้องกันน้ำฝนได้ การเลี้ยงลักษณะนี้จะเลี้ยงได้ในปริมาณน้อย จากปัญหาเรื่องพื้นที่จำกัด และอาจต้องใช้เครื่องเติมอากาศเข้าช่วยเพื่อให้ออกซิเจน

การเลี้ยงตามลักษณะการจำหน่าย
1. การเลี้ยงแบบกึ่งพัฒนา เป็นการเลี้ยงเพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย โดยส่วนที่จำหน่ายจะเป็นส่วนที่เหลือจากการบริโภค การเลี้ยงลักษณะนี้มุ่งเน้นให้มีต้นทุนต่ำ โดยใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือวัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่นเป็นอาหารแก่ปลาเป็นหลัก ร่วมกับการหากินเองของปลาตามธรรมชาติ เช่น ปุ๋ยคอก เศษพืชผัก ปลวก เป็นต้น

2. การเลี้ยงเชิงพาณิชย์ หรือการเลี้ยงแบบเข้มข้นเพื่อการจำหน่ายเป็นหลัก อาหารที่เลี้ยงจะเป็นอาการสำเร็จรูปที่หาซื้อได้ตามท้องตลาดเป็นหลัก เพราะเป็นการเลี้ยงเพื่อให้ปลาได้รับสารอาหารที่เพียงพอ ทำหให้ปลาเจริญเติบโตเร็ว ปลาที่มีขนาดใหญ่ และเป็นไปตามความต้องการของตลาด อัตราการปล่อยเลี้ยงจะใช้แบบหนาแน่น และให้อาหารมาก เพื่อย่นระยะเวลาการเลี้ยงให้สั้นลง

3. การเลี้ยงระบบฟาร์มลูก เป็นรูปแบบการเลี้ยงที่เกษตรเป็นเครือข่ายของบริษัทผู้พัฒนาพันธุ์ปลา โดยบริษัทจะให้การสนับสนุนในหลายด้าน อาทิ พันธุ์ปลา ยา และอาการ รวมถึงการให้คำปรึกษา และการแก้ปัญหาตลอดระยะเวลาการเลี้ยง ทำให้ผู้เลี้ยงสามารถผลิตปลาทับทิมได้มีคุณภาพดี และสม่ำเสมอ ทั้งนี้ ในด้านการตลาด บริษัทเครือข่ายจะเป็นผู้รับชื้อในราคาต่อหน่วยกิโลกรัมปลา โดยที่เกษตรกรไม่จำเป็นต้องวิ่งหาตลาดเอง

พันธุ์ปลาที่เลี้ยง
ลูกพันธุ์ปลาทับทิมที่นำมาเลี้ยง ควรหาซื้อจากฟาร์มที่มีความน่าเชื่อถือ หรือจากบริษัทผู้ผลิตพันธุ์ปลาโดยตรง นอกจากนั้น หากเกษตรกรมีการเลี้ยงจำนวนมาก และเป็นผู้มีความรู้ในด้านการเพาะขยายพันธุ์ปลา อาจทำการเพาะขยายพันธุ์ปลาเอง ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนเรื่องพันธุ์ปลาลงได้มาก


ที่มา http://pasusat.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5...
https://www.youtube.com/watch?v=kK31Ch6-b5E
อ่าน:3481
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

เพลี้ยอ่อนข้าวโพด (Corn leaf aphid : Rhopalosiphum maidis Fitch.)

มักจะพบเกาะเป็นกลุ่ม ๆ ดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่าง ๆ ของต้นข้าวโพด เช่น ยอด กาบใบ โคนใบ กาบฝัก และจะพบมากที่สุดบริเวณช่อดอกทำให้บริเวณที่ถูกดูดกินแสดงอาการเป็นจุดสีเหลืองปนแดง ถ้าช่อดอกมีเพลี้ยเกาะกินอยู่มากจะทำให้ช่อดอกไม่บาน การติดเมล็ดน้อยและทำให้เมล็ดแก่เร็วทั้ง ๆ ที่เมล็ดยังไม่เต็มฝัก นอกจากนี้น้ำหวานที่เกิดจากเพลี้ยอ่อนยังดึงดูดให้แมลงศัตรูชนิดอื่นของข้าวโพด เช่น หนอนเจาะฝักหนอนเจาะลำต้นข้าวโพด มาวางไข่ที่ไหมข้าวโพดอีกด้วย

รูปร่างลักษณะของ เพลี้ยอ่อนข้าวโพด

เพลี้ยอ่อนข้าวโพดเป็นแมลงชนิดเล็กเคลื่อนไหวช้า หัวและอกมีขนาดเล็ก ส่วนท้องโตมีรูปร่างคล้ายผลฝรั่ง ตัวเต็มวัยและตัวอ่อนมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ตัวเต็มวัยมีสีเขียวอ่อนตลอดทั้งตัว และพบทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ซึ่งเป็นตัวเมียทั้งหมด โดยปกติพวกที่มีปีกจะมีลำตัวเล็กกว่าพวกที่ไม่มีปีก คือ มีความยาวประมาณ 0.7-2 มิลลิเมตร หัว อก หนวด และขามีสีดำ ส่วนท้องมีสีเขียวอ่อนและจุด ๆ สีดำทั่วไป ตรงส่วนท้ายของลำต้นมีท่อเล็ก ๆ ยื่นออกมาคล้ายหาง 2 อัน ท่อนี้เรียกว่า Cornicle ซึ่งเป็นที่ขับถ่ายน้ำหวาน (Honey Dew) ที่เกิดจากการดูดกินน้ำเลี้ยงจากท่ออาหารของพืชโดยปากที่มีลักษณะเป็นท่อยางคล้ายเข็มฉีดยา เพลี้ยอ่อนขยายพันธุ์โดยการออกลูกเป็นตัว มีเพศเมียเพียงเพศเดียว ตัวอ่อนที่ออกมาใหม่ ๆ มีขนาดเล็กมากจะมองเห็นเป็นเพียงจุดสีเหลืองอ่อน ๆ เพลี้ยอ่อนที่ไม่มีปีกจะลอกคราบไม่เกิน 4 ครั้ง ก็จะเป็นตัวแก่ที่สมบูรณ์ ถ้ามีการลอกคราบครั้งที่ 5 ก็จะเป็นพวกที่มีปีก ซึ่งมักจะเกิดเมื่อพืชอาหารไม่สมบูรณ์ เช่น ใบนั้นมีเพลี้ยเกาะกินอยู่อย่างหนาแน่น ขาดน้ำหรือใบแก่ไป เป็นต้น ระยะเวลาจากตัวอ่อนจนเป็นตัวโตเต็มวัยใช้เวลาประมาณ 12 วัน เมื่อเป็นตัวโตเต็มวัยแล้วก็พร้อมที่จะขยายพันธุ์ได้อีกโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ ภายในเวลาประมาณ 5 วัน หลังจากเป็นตัวเต็มวัย เพลี้ยอ่อนตัวหนึ่งจะออกลูกได้ถึง 45 ตัว แต่โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 19 ตัว ตัวเต็มวัยชนิดไม่มีปีกมีขนาดยาวประมาณ 2-2.3 มิลลิเมตรเท่านั้น ถ้ามีอาหารตลอดทั้งปี ในปีหนึ่งจะมี 30-40 รุ่น

ที่มาของข้อมูล เพลี้ยอ่อนข้าวโพด : สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

แมลงศัตรูพืช ที่ใช้ มาคา ได้

#เพลี้ยไฟ #แมลงหวี่ขาว #เพลี้ยไก่แจ้ #เพลี้ยอ่อน #เพลี้ยกระโดด #เพลี้ยจักจั่น #เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

#Aphid #Insect #Aphididae #Aphidoidea #greenfly #blackfly #Drosophila #whitefly

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada มาคา http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee มาคา http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา สกัดจากธรรมชาติ ที่ถูกคัดสรรอย่างพิถีพิถัน โดยใช้หลักการเทคโนโลยีชั้นสูง ในการรวมอัลคาลอยเข้มข้นที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าด้วยกัน เพื่อป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช อีกทั้งสามารถยับยั้งการดื้อยาที่เกิดจากการใช้สารเคมีเป็นเวลานาน เนื่องจาก มาคา มีวิธีการออกฤทธิ์แบบไม่เจาะจง จึงทำให้แมลงไม่สามารถปรับตัวต้านทานได้ รวมทั้งสามารถฉีดพ่นได้ในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว โดยปราศจากสารพิษตกค้างในดินและน้ำ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

MAKA : Multiple Alkaloid Agent Insecticide

Natural Organic Plant Alkaloids extracted from specially selected plants using high technology. Highly concentrated alkaloids are extremely effective in eliminating and repelling insects. They protect the plants from further insect attacks. No insecticide resistance build-ups as the active ingredients are non-specific in action. No poisonous residues – safe to spray before harvest. No contamination of soil and water. No user and consumer poisonings.

Elimination Alkaloids act by destroying the nervous_ metabolism system of insects and haemocytes. Natural active insecticidal oil cover and block the breathing pores of insects. Kill ratio is high if used according to manufacturer’s instructions.

Repellent Odor and Active ingredients of Alkaloids effectively coat surfaces of plants The Ionic charges and nerve acting alkaloid will repel insects from attacking plants.

Protection MAKA Alkaloids will cover and stick to the leaves and plant surfaces to provide continuous repelling protection for extended periods.

Protect nad Eliminate pest
– Brown Planthopper (Nilaparvata lugens)
– Zigzag Leafhopper (Recilla dorsalis)
– Green Leafhopper (Nephotettix spp.)
– Rice Thrips (Balliothrips biformis)
โรคราแป้งกุหลาบ
โรคราแป้งกุหลาบ
กรมวิชาการเกษตร เพื่อเกษตรกร ระยะนี้อากาศเย็น และมีหมอกในตอนเช้าอาจส่งผลกระทบต่อการปลูกกุหลาบ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบเฝ้าระวังการเกิดโรคราแป้ง สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของต้นกุหลาบ

โดยจะพบอาการของโรคได้กับทุกส่วนของพืช บนใบอ่อน หรือดอกตูม เริ่มแรกจะพบแสดงอาการบนผิวใบเกิดรอยแผลจุดสีชมพูเข้ม ต่อมาจะพบเชื้อรามีลักษณะคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดขึ้นเป็นหย่อมๆ ทั้งด้านบนใบและใต้ใบ หากรุนแรง จะพบผงสีขาวบนก้านใบ กิ่ง ดอก ก้านดอก ใบอ่อน กลีบเลี้ยง กลีบดอก และลำต้น หรือพบผงสีขาวทั่วทั้งต้น ทำให้ใบและดอกบิดเบี้ยวเสียรูปทรง ใบจะเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล แห้งกรอบ และร่วงในที่สุด

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูก กำจัดวัชพืช ตัดแต่งและเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดแหล่งสะสมเชื้อราสาเหตุโรค ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการระบาดของโรค หากเริ่มพบต้นที่เป็นโรค ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
อ่าน:3481
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ทับทิม เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ทับทิม เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex ทางออกของเชื้อราเพื่อการป้องกันและกำจัดโรคทับทิม

ทับทิมเป็นที่หวงแหนเพราะฉ่ำน้ำและมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย อย่างไรก็ตาม ต้นทับทิมมีความไวต่อโรคเชื้อราต่างๆ ซึ่งอาจทำให้สูญเสียผลผลิตและคุณภาพอย่างร้ายแรง โรคจากเชื้อรา เช่น โรครากเน่า โรคเหี่ยว และผลไม้เน่า สามารถส่งผลกระทบอย่างมากต่อผลผลิตของสวนทับทิม ทำให้เกษตรกรมีกำไรลดลง

เพื่อต่อสู้กับโรคเชื้อราเหล่านี้ เชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อ Trichorex ได้กลายเป็นวิธีแก้ปัญหาที่ทรงพลัง Trichorex เป็นเชื้อราที่อยู่ในสกุล Trichoderma ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีว่ามีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อราชนิดอื่น Trichorex ทำหน้าที่เป็น biocontrol agent ป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพของต้นทับทิม

Trichorex เป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งสามารถนำไปใช้กับสวนทับทิมได้ง่าย มันตั้งรกรากอยู่ในไรโซสเฟียร์ซึ่งเป็นดินที่อยู่รอบๆ รากพืช และสร้างความสัมพันธ์ทางชีวภาพกับต้นทับทิม Trichorex แข่งขันกับเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคเพื่อแย่งชิงทรัพยากร เช่น สารอาหารและพื้นที่ และสร้างเอนไซม์ที่สามารถย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อราอื่นๆ ได้ กิจกรรมที่เป็นปรปักษ์กันนี้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรค ป้องกันการตั้งรกรากในบริเวณราก และลดความเสี่ยงของการเกิดโรค

ประโยชน์ที่สำคัญประการหนึ่งของการใช้ Trichorex ในสวนผลไม้ทับทิมคือความสามารถในการป้องกันรากเน่าที่เกิดจากเชื้อรา เช่น Fusarium และ Phytophthora รากเน่าสามารถสร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อระบบรากของต้นทับทิม นำไปสู่การเติบโตแคระแกร็น เหี่ยวเฉา และถึงขั้นตายได้ Trichorex ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปกป้องรากของต้นทับทิมและส่งเสริมการพัฒนาของรากที่แข็งแรง

นอกจากการป้องกันโรครากเน่าแล้ว Trichorex ยังป้องกันโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา เช่น Verticillium และ Armillaria เชื้อราเหล่านี้สามารถติดเชื้อในระบบหลอดเลือดของต้นทับทิม ขัดขวางการไหลเวียนของน้ำและสารอาหาร และทำให้ใบและกิ่งเหี่ยวเฉา Trichorex แข่งขันกับเชื้อโรคเหล่านี้เพื่อแย่งชิงทรัพยากรและยับยั้งการเจริญเติบโต ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเหี่ยวในสวนผลไม้ทับทิม

นอกจากนี้ Trichorex ยังได้รับการพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพในการป้องกันการเน่าของผลไม้ที่เกิดจากเชื้อรา เช่น Alternaria และ Aspergillus ผลเน่าอาจนำไปสู่การสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว ลดคุณภาพและความสามารถในการตลาดของผลทับทิม Trichorex อาศัยอยู่ที่ผิวผลไม้ ป้องกันการเพิ่มจำนวนของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรค และปกป้องผลไม้จากการเน่าเปื่อย

ข้อดีอีกประการของการใช้ Trichorex คือธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในฐานะที่เป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ Trichorex ไม่ทิ้งสารตกค้างที่เป็นอันตรายไว้ในดินหรือบนผลไม้ ทำให้เป็นทางเลือกที่ปลอดภัยและยั่งยืนสำหรับการจัดการโรคในสวนผลไม้ทับทิม มันเข้ากันได้กับวิธีการควบคุมทางชีวภาพและเคมีอื่น ๆ ทำให้สามารถใช้กลยุทธ์การจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

ในการใช้ Trichorex ในสวนผลไม้ทับทิม สามารถใช้เป็นยาบำรุงเมล็ด รดดิน หรือฉีดพ่นทางใบ เวลาและอัตราการใช้อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับโรคเชื้อราเฉพาะที่แพร่หลายในสวนผลไม้และสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามแนวทางการใช้งานที่แนะนำโดยผู้ผลิต และปรึกษากับนักปฐพีวิทยาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมหรือตัวแทนส่งเสริมการเกษตรเพื่อการใช้งานที่เหมาะสม

สรุปได้ว่า เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex เป็นสารละลายที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสำหรับการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในสวนทับทิม กิจกรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคความสามารถ

อะมิโนโปรตีนจำเป็นต่อพืช 18 ชนิด ช่วนในการส้รางฮอร์โมนพืช โตไว ผลใหญ่ แข็งแรง ทนแล้ง ทนโรค ทำไห้เกิดการสร้างและขยายขนาดของเซลล์เนื้อเยื่อ และพัฒนาส่วนต่างๆของพืชเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบ ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 318 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปลูกมังคุดให้ถูกวิธี ใส่ปุ๋ยให้กับมังคุด ฉีดพ่น FK-1 และ FK-3 เพิ่มผลผลิต ได้คุณภาพ
Update: 2565/12/08 06:56:19 - Views: 3473
กนก แนะรัฐเร่งทบทวนนโยบายใช้ฟ้าทะลายโจรรักษาโควิด ครม.มติหนุนแต่สธ.ให้ใช้ Favipiravir
Update: 2564/08/12 00:23:32 - Views: 3731
เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยต่างๆ มาคา จาก FK
Update: 2565/06/18 06:13:03 - Views: 3489
การป้องกันกำจัดโรคกิ่งแห้งในทุเรียนด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส
Update: 2566/01/06 12:45:21 - Views: 3553
เปิดโอกาสทำกำไรบนราคายาง ด้วย TFEX Japanese Rubber Futures
Update: 2564/05/02 10:48:48 - Views: 3688
เพลี้ยไฟทุเรียน เพลี้ยจักจั่นทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน ป้องกันกำจัดด้วย อินเวท
Update: 2567/03/12 10:53:27 - Views: 3714
หนอนหมี บุกสวนยางที่กระบี่ ชาวบ้านไม่กล้ากรีดยาง
Update: 2564/08/14 22:09:43 - Views: 3925
แจกสูตร หมูสวรรค์ หมูหวาน หมูนุ่มไม่แข็งกระด้าง เมนูทำขายสร้างอาชีพ !
Update: 2565/09/12 14:39:44 - Views: 3618
โรคราชนิดต่างๆในลำไย ราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/15 12:26:58 - Views: 3599
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นพริก
Update: 2566/05/01 14:48:42 - Views: 3755
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์: เพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของต้นอ้อย
Update: 2567/02/13 09:07:38 - Views: 3602
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค เพิ่มเปอร์เซ็นต์งอก 430บาท กู๊ดโซ๊ค
Update: 2562/10/02 14:06:41 - Views: 3563
คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
Update: 2566/04/28 13:12:43 - Views: 3933
โรคพืชที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต และ โรคพืช ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต
Update: 2564/08/13 11:48:06 - Views: 3547
โรคมะพร้าวยอดเน่า ใบแห้ง ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 13:56:41 - Views: 3721
กำจัดเชื้อรา มังคุด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/13 10:27:13 - Views: 3499
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกระทู้ ใน ชมพู่ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/04 08:36:05 - Views: 3487
ทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุมาจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส ราฝ่อ หยุดลุกลาม
Update: 2563/10/28 14:21:37 - Views: 5130
ชาวสวนทุเรียนไทยต้องระวัง จีน ณ มลฑลไหหลำ ปลูกทุเรียนสำเร็จ ไม่ตื่นตัว ซ้ำรอยยางพาราแน่นอน
Update: 2562/09/06 09:18:05 - Views: 3553
โรคทุเรียน
Update: 2566/03/03 08:27:38 - Views: 3732
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022