[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

โรคข้าว: โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot Disease)
โรคข้าว: โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot Disease)
พบใน ข้าวนาสวน (นาปีและนาปรัง) และข้าวไร่ ทุกภาคของประเทศไทย

สาเหตุของ โรคข้าวใบจุดสีน้ำตาล
เชื้อรา Bipolaris oryzae ชื่อเดิม Helminthosporium oryzae (Breda de Haan.) Shoemaker_ 1959

อาการ แผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 มิลลิเมตร แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาดประ..
http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3383
โรคราสนิมถั่วฝักยาว และโรคใบจุดถั่วฝักยาว การป้องกัน การรักษา
โรคราสนิมถั่วฝักยาว และโรคใบจุดถั่วฝักยาว การป้องกัน การรักษา
โรคราสนิม ที่เกิดกับถั่วฝักยาว ในระยะถั่วฝักยาวเริ่มออกดอก เกิดจาก เชื้อรายูโรมายเซส เป็นช่วงที่ โรคราสนิมถั่วฝักยาว เข้าทำลาย มักพบใต้ใบแก่ของ
อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3383
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ลำดับการทำงานของธาตุอาหารพืช (BIOCHEMICAL SEQUENCE)

ในระบบเกษตรกรรม การให้ปุ๋ยเป็นการเพิ่มปริมาณ ธาตุอาหารให้แก่พืช ในเกษตรแผนใหม่จะให้ปุ๋ยเคมีตามธาตุอาหารหลัก ได้แก่ NPK หรือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) เพื่อให้พืชนำไปใช้ในการเจริญเติบโตได้โดยตรง ซึ่งเป็นแนวคิด ที่ต่างจากเกษตรธรรมชาติ หรือเกษตรเชิงนิเวศซึ่งเน้นที่ปฏิสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ซึ่งธาตุต่างๆ ก็มีทำงานกันเป็นลำดับขั้น โดยเริ่มจาก

โบรอน > ซิลิคอน > แคลเซียม > ไนโตรเจน > แมกนีเซียม > ฟอสฟอรัส > คาร์บอน > โพแทสเซียม

ในระบบนิเวศเกษตร ปฏิสัมพันธ์ระหว่างธาตุจะเริ่มที่โบรอน ซึ่งธาตุโบรอน (Boron) จะกระตุ้นการทำงานของ ธาตุซิลิคอน (Silicon) ซึ่งเป็นธาตุที่สำคัญต่อการจับตัวกับสารอาหารอื่นๆ และจับกับ ธาตุแคลเซียม (Calcium) ซึ่งต่อมาจะจับกับ ธาตุไนโจรเจน (Nitrogen) โดยไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบหลักของ กรดอะมิโน รหัสทางพันธุกรรม และมีส่วนสำคัญต่อการแบ่งตัวของเซลล์ กรดอะมิโน เป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีน และสารตั้งตนในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ซึ่งพืชใช้ใน การสังเคราะห์แสง การสร้างคลอโรฟิลล์เองก็ต้องใช้ ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium) ในการรับพลังงานของแสงและสะสมพลังงานจากแสงในอาหาร ไนโตรเจน ที่อยู่ใน กรดอะมิโน จึงเป็นธาตุที่จับกับ แมกนีเซียม ในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ในพืช พลังงานที่ได้จากการสังเคราะห์แสงจะถูกนำไปใช้ในการสร้างแป้งและอาหารในพืช ซึ่งพลังงานจะอาศัยธาตุ ฟอสฟอรัส (Phosphorus) ในการถ่ายทอดพลังงานไปยังส่วนต่างๆ ของเนื้อเยื้อพืชและ ปฏิกิริยาเคมี ที่ข้องเกี่ยวกับการสร้างอาหารและ สารชีวเคมี ในเซลล์ อาหารและ สารชีวเคมี เหล่านี้ต้องอาศัย ธาตุคาร์บอน (Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก หลังจากอาหารและ สารชีวเคมี ถูกสร้างขึ้นแล้ว ก็จะอาศัยธาตุ โพแทสเซียม (Potassium) ที่มีอยู่มากในน้ำยางหรือท่อลำเลียงอาหารในเนื้อเยื้อพืชช่วยในการขนส่งอาหารและสารชีวเคมีไปตามอวัยวะต่างๆ ในลำต้นพืช

ธาตุโบรอน (Boron – B)

มีอยู่มากในมูลสัตว์ มีบทบาทเกี่ยวที่ช่วยให้รากพืชดูดเอา ธาตุแคลเซียม และ ไนโตรเจน ไปใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นนอกจากนี้ยังช่วยให้พืชใช้ธาตุโพแทสเซียมได้มากขึ้น มีบทบาทในการสังเคราะห์แสง การย่อย โปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต และเพิ่มคุณภาพทั้งรสชาติ ขนาด และน้ำหนักของผลเพิ่มความสามารถในการเจริญเติบโตเพราะโบรอนจะควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในขบวนการปรุงอาหารอีกทางหนึ่ง

ธาตุซิลิคอน (Silicon – Si)

พบได้ทั่วไปในทราย หรือ ดินปนทราย ซิลิคอน ทำหน้าที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น โดยทำให้ลำต้นแข็งแรงและอ้วนขึ้น ช่วยให้ใบพืชหันเข้าหาแสงมากขึ้น และทำให้พืชทนทางต่อโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและรา เช่น โรคราแป้ง รวมถึงสร้างความทนทานต่อความร้อน หรือความเค็มจัดไปจนถึงความเป็นพิษของโลหะหนักและอลูมิเนียม

ธาตุแคลเซียม (Calcium – Ca)

พบมากในกระดูก เปลือกไข่ ปูนขาว หรือ ยิปซัม แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แม้ว่าพืชจะใช้แคลเซียมในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับธาตุอื่นๆ แต่หากพืชได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะส่งผลให้พืชเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น ผิวของมะเขือเทศเกิดอาการแห้งกรอบ ยอดใบอ่อนไหม้ หรือเกิดจุดด่างในใบผัก เป็นต้น

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen – N)

จะสะสมอยู่มากในพืชตระกูลถั่ว ซึ่งปมราก พืชตระกูลถั่ว จะมีแบคทีเรียที่ช่วยดึง ไนโตรเจน ที่สะสมในดินมาใช้ในการเจริญเติบโต ดังนั้น เราจึงนิยมปลูกปอเทืองเพื่อช่วยปรับปรุงดินและช่วยไ นโตรเจน สะสมในดินมากขึ้น ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ โปรตีน และสารพันธุกรรมทั้งในพืชและสัตว์ และเป็นองค์ประกอบของ คลอโรฟิลล์ ซึ่งทำหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงในพืช ดังนั้น ดินจึงเป็นหัวใจสำคัญต่อการปลูกพืช โดยแบคทีเรียในปมรากถั่วหรือในดินจะช่วยตรึงก๊าซ ไนโตรเจน ในอากาศและเปลี่ยนรูป ไนโตรเจน ให้อยู่ในรูปของ ไนเตรท ซึ่งพืชสามารถดูดมาใช้ได้ดังภาพด้านล่าง ดินที่มีปริมาณ อินทรีย์วัตถุมากจึงถือเป็นดินที่มีชีวิต

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium – Mg)

เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ คลอโรฟิลล์ เพราะ แมกนีเซียม จะรับพลังงานแสงและช่วยเปลี่ยนรูปให้เป็นพลังงานให้รูปของอาหารจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง และช่วยให้ใบพืชมีสีเขียว พืชที่ขาด แมกนีเซียม จึงเกิดอาการใบสีซีด ดินที่ขาดธาตุ แมกนีเซียม มักเป็นดินที่มี อินทรีย์วัตถุ น้อย ดินที่มีทรายมากหรือเป็นกรด ในกรณีที่ใส่ปุ๋ยที่มี โพแทสเซียม มากเกินไปก็ทำเกิดอาการขาด แมกนีเซียม ในพืชเช่นกัน เนื่องจากพืชจะดูดซับ โพแทสเซียม แทนการดูดซับ แมกนีเซียม

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus – P)

เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของ สารพันธุกรรม และ สารชีวเคมี ที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของราก และช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาด ฟอสฟอรัส จะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้ เนื่องจาก ฟอสฟอรัส เป็นธาตุที่จับเม็ดดินได้แข็งแรง จึงแนะนำให้ขุดหน้าดินขึ้นมาเพราะจะทำให้ดินถูกน้ำกัดเซาะได้ง่าย จึงแนะนำให้ปลูกหญ้าหรือพืชคลุมดินเพื่อรักษาหน้าดินและ ฟอสฟอรัส ให้สะสมอยู่ในดินมากขึ้น

ธาตุคาร์บอน (Carbon – C)

สารอินทรีย์ทุกชนิดล้วนมี ธาตุคาร์บอน ในปริมาณที่สูง รวมถึงดิน ซากพืชซากสัตว์ หรือปุ๋ยหมักต่างๆ ล้วนมีคาร์บอนในปริมาณสูง อีกทั้งในบรรยากาศเองก็มี คาร์บอน ในรูป ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในปริมาณที่มากอยู่แล้ว จึงมักไม่มีปัญหา ธาตุคาร์บอน ขาดแคลนในการเพาะปลูก

ธาตุโพแทสเซียม ( Potassium – K)

เป็นธาตุที่สะสมอยู่ทั่วไปในดินและมักละลายในน้ำหรือของเหลว ในเนื้อเยื้อได้ดี หน้าที่ของ โพแทสเซียม จะต่างจาก ไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส ตรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตโดยตรง แต่ทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำในเนื้อเยื้อพืช ซึ่งป้องกันไม่ให้เกิด ใบเหี่ยว และช่วยให้การคายน้ำของใบพืชเป็นไปอย่างปกติ

จากหลักการของเกษตรธรรมชาติ ธาตุที่อยู่ในธรรมชาติก็มีการทำงานเป็นลำดับขั้นร่วมกับสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช แบคทีเรียหรือเชื้อรา จนเกิดการหมุนเวียนสารอาหารภายในระบบนิเวศ การใส่ปุ๋ย NPK เพียงอย่างเดียวเพื่อเร่งให้พืชเจริญเติบโตนั้นเป็นการตัดวงจรการไหลเวียนสารอาหารในธรรมชาติและทำลายความหลากหลายทางชีวภาพในดิน ดังนั้น การทำให้ดินมีชีวิตจึงเป็นหัวใจหลักของการทำเกษตรเชิงนิเวศ

FK iLab ตรวจวิเคราะห์ค่าดิน และปุ๋ย

FK iLab เป็นเว็บไซต์ให้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน และค่าธาตุอาหารในปุ๋ย ด้วย LAB มาตรฐาน ตรวจวิเคราะห์โดยนักวิชาการเฉพาะด้าน ที่มีความชำนาญ โดยผู้ใช้บริการสามารถ เลือกค่า ธาตุอาหารต่างๆที่ต้องการตรวจได้ บนเว็บไซต์ และส่งตัวอย่างดิน หรือปุ๋ยที่ต้องการตรวจไปยัง ห้องปฏิบัติการ ผ่านทางไปรษณีย์ และรออ่านผลตรวจได้ทางหน้าเว็บไซต์

สามารถใช้บริการได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือเข้าเว็บไซต์ FarmKaset.ORG และคลิกที่เมนู iLab



References

http://www.farmkaset..link..ำดับการทำงานของธาตุอา/

blog.agrivi.com/post/benefits-of-silicon-on-plant-growth

http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter1/chapter1_nitrogenhtm

http://www.farmkaset..link..
journals.plos.org/plosone/article?id=1371/journal.pone.0171321

horttech.ashspublications.org/content/17/4/442.full

http://www.farmkaset..link..
5k.web.tr/basinda/June09_Lovel.pdf

bioferti.com/microbe-granular-formula
อ่าน:3383
การไถดินดาน ที่ถูกต้อง ก่อนปลูกมันสำปะหลัง น้ำและอากาศไหลซึมได้ดี รากมันโตได้ไกล เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
การไถดินดาน ที่ถูกต้อง ก่อนปลูกมันสำปะหลัง น้ำและอากาศไหลซึมได้ดี รากมันโตได้ไกล เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
การไถดินดาน ที่ถูกต้อง ก่อนปลูกมันสำปะหลัง น้ำและอากาศไหลซึมได้ดี รากมันโตได้ไกล เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
การไถดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

ความหมายของชั้นดินดาน

ชั้นดินดาน หมายถึง ชั้นดินที่อัดตัวแน่นทึบ หรือชั้นที่มีสารเชื่อมอนุภาคดินมาจับตัวกัน ทำให้ดินแน่นทึบและแข็ง จนเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช การไหลซึมของน้ำและอากาศ ซึ่งกระบวนการเกิดชั้นดินดานมี 3 ประเภท มีรายละเอียดดังนี้

1. ชั้นดินดานแข็ง (duripan) เป็นชั้นดินแข็งเชื่อมกันแน่นโดยสารเชื่อม ซึ่งสารเชื่อมมีหลายชนิดและมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปขึ้นอยู่ชนิดของสารเชื่อม ได้แก่ เหล็ก คาร์บอเนต ซิลิก้า

2. ชั้นดินดานเปราะ (fragipan) เป็นชั้นดินดานที่มีความหนาแน่นสูงกว่าชั้นดินบนและล่าง ชั้นดินดานนี้เกิดจากการอัดตัวของดินเหนียว ทรายแป้ง และทราย มีการเชื่อมตัวกันแน่น เมื่อแห้ง จะเปราะ เมื่อชื้นน้ำซึมผ่านได้ยาก

3. ชั้นดินดานไถพรวน (plowpan) เป็นชนิดเดียวกันกับชั้นดินดานเปราะ แต่ใช้เรียกเฉพาะ ชั้นดินดานที่เกิดจากการไถพรวนในระดับความลึกเดียวกันเป็นเวลานาน ซึ่งพบมากในพื้นที่ปลูก มันสำปะหลังต่อเนื่องเป็นเวลานาน

สามารถแยกชั้นดินดานแข็งออกจากชั้นดินดานเปราะ โดย พิจารณาจากการละลายน้ำ ถ้าหากละลายน้ำได้ จะเป็นชั้นดินดานเปราะ โดย ชั้นดินดานเปราะมีข้อจำกัดในการปลูกพืชน้อยกว่าชั้นดินดานแข็ง

กระบวนการเกิดชั้นดินดานไถพรวน

เกิดจากการไถพรวน ในระดับความลึกเดียวกันเป็นเวลานาน โครงสร้างของดินแตกละเอียด เมื่อฝนตกทำให้อนุภาคของดินเหนียว ทรายแป้ง รวมทั้งอินทรียวัตถุถูกชะล้างลงมาสะสมกันใต้ชั้น ไถพรวน นอกจากนี้ ยังมีแรงกดทับจากแทรกเตอร์ ในการเตรียมดินจนถึงการเก็บเกี่ยว และรถบรรทุกขนส่งหัวมันสำปะหลังไปยังโรงงาน สิ่งดังกล่าวเหล่านี้ก่อให้เกิดชั้นดินดานไถพรวนขึ้นในพื้นที่ปลูก มันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน

ระดับความรุนแรงของโอกาสเกิดชั้นดินดาน

การจำแนกระดับความรุนแรงของโอกาสในการเกิดชั้นดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้

ระดับที่ 1 มีโอกาสเกิดชั้นดินดานได้น้อย เนื่องจากพื้นที่เป็นดินเนื้อละเอียด มีปริมาณทรายแป้ง น้อย อนุภาคของดินเป็นแบบก้อนเหลี่ยมและก้อนกลม ซึ่งทนทานต่อแรงไถพรวนและแรงกดทับจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่

ระดับที่ 2 มีโอกาสเกิดชั้นดินดานในระดับปานกลาง เนื่องจากพื้นที่เป็นเนื้อค่อนข้างละเอียด มีปริมาณทรายแป้งปานกลาง อนุภาคของดินเป็นแบบก้อนเหลี่ยม ซึ่งทนทานต่อแรงไถพรวนและแรง กดทับจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ปานกลาง

ระดับที่ 3 มีโอกาสเกิดชั้นดินดานในระดับสูง เนื่องจากพื้นที่เป็นเนื้อค่อนข้างหยาบ มีปริมาณทรายแป้งสูง โครงสร้างของดินแน่นทึบ ซึ่งทนทานต่อแรงไถพรวนและแรงกดทับจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ได้น้อย

สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง สามารถทราบได้ว่าพื้นที่ปลูกพืชมีชั้นดินดานอยู่ใต้ดินหรือไม่ สังเกตในช่วงฤดูฝนเมื่อมีฝนตกลงมา พื้นที่ราบน้ำจะท่วมขังอยู่นาน เพราะน้ำไม่สามารถซึมผ่านชั้นดินดานลงไปสู่ชั้นดินล่างได้ แต่น้ำจะไหลบ่าไปบนผิวดิน เกิดการชะล้างหน้าดินออกจากพื้นที่ ส่วนในช่วงฤดูแล้งชั้นดินดานจะขวางกั้นไม่ให้ความชื้นจากดินชั้นล่างขึ้นมาถึงบริเวณรากพืชได้ พืชจะขาดน้ำ ทำให้พืชแคระแกร็นหรือยืนต้นตายได้ ในทางวิชาการเราสามารถเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก 50 เซนติเมตร เพื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าความหนาแน่นรวม (bulk density) ถ้าดินมีความหนาแน่นรวมมากกว่า 1.65 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร แสดงว่ามีชั้นดินดานเกิดขึ้นในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

การไถระเบิดชั้นดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง มักมีการไถพรวนที่ระดับความลึกเดียวกันตลอด มีการไถพรวนในขณะดินมีความชื้นไม่เหมาะสม มีการกดทับจากแทรกเตอร์หรือรถบรรทุกในการเตรียมดิน เก็บเกี่ยว และการขนส่งหัวมันสำปะหลังไปยังโรงงาน สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดชั้นดินดานได้ง่าย โดยชั้นดินดานจะขัดขวางการแพร่กระจายของรากพืชและการแทรกซึมของน้ำ ทำให้เกิดน้ำท่วมขังหรือไหลบ่ามากขึ้นในช่วงฝนตกและยังชะล้างเอาหน้าดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงออกไปจากพื้นที่ ขณะเดียวกันก็ทำให้พืชขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากชั้นดินดานจะขวางกั้นไม่ให้ความชื้นจากดินชั้นล่างขึ้นมาถึงบริเวณรากพืชได้ จึงทำให้พืชแคระแกร็นหรือยืนต้นตายได้ ดังนั้น พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีชั้นดินดาน ควรทำการไถระเบิดชั้นดินดาน ทุก 3-5 ปี มีรายละเอียด 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. การทำลายวัชพืชและเศษซากพืชก่อนไถระเบิดชั้นดินดานด้วยการไถพรวน 2 ครั้ง เพื่อไม่ให้เศษพืช พันขาไถระเบิดชั้นดินดานหรือเป็นอุปสรรคต่อการไถระเบิดชั้นดินดาน

2. การไถระเบิดชั้นดินดานด้วยเครื่องไถแบบสั่นสะเทือน (shaking ripper) โดยไถ 2 รอบ รอบแรกไถไปตามแนวยาวของพื้นที่ก่อน รอบที่สองไถตามขวางของพื้นที่หรือที่เรียกว่าไถตัดกันเป็นตาหมากรุก เพื่อให้ชั้นดินดานแตกร้าวสม่ำเสมอรอบทิศทางทั่วทั้งพื้นที่

3. ไถดะด้วยผาล 3 หรือผาล 4 เพื่อทำลายวัชพืชและตากหน้าดินเพื่อทำลายศัตรูพืช

4. ไถพรวนเพื่อย่อยดินให้ละเอียดและกลบรอยไถระเบิดชั้นดินดาน หลังจากนั้นทำการไถร่องปลูกมันสำปะหลัง

การไถระเบิดชั้นดินดานไม่ใช่เป็นการแก้ปัญหาการเกิดชั้นดินดานอย่างถาวร แต่ถ้าหากไม่มีการจัดดินที่ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ชั้นดินดานก็จะกลับมาเกิดขึ้นใหม่ได้ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น การชะลอการเกิดชั้นดินดานจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดสามารถทำได้ ดังนี้

1. การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร โดย ควบคุมการใช้เครื่องจักรกลในพื้นที่การเกษตรเท่าที่จำเป็นและใช้ในขณะดินมีความชื้นพอเหมาะ ควบคุมแนวทางเดินของเครื่องจักรกลซ้ำที่เดิมและวางแนวปลูกพืชให้อยู่ระหว่างล้อของเครื่องจักร เพื่อไม่ให้เกิดชั้นดินดานทั่วพื้นที่

2. ความชื้นของดิน ชั้นดินดานที่อยู่ใต้ดินชั้นไถพรวนจะเป็นอุปสรรคต่อการไชชอนของรากพืช ก็ต่อเมื่อชั้นดินดานแห้ง ดังนั้น การรักษาความชื้นของดินชั้นดินดานให้พอเหมาะ สามารถลดผลกระทบของชั้นดินดานต่อรากพืช

3. การปรับปรุงโครงสร้างของดินเพื่อให้เม็ดดินมีเสถียรภาพ โดย การเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยพืชสด เพื่อให้ดินมีคุณสมบัติทางกายภาพดีขึ้น ดูดซับน้ำได้มากขึ้น มีช่องว่างในดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความหนาแน่นรวมลดลงได้

4. การปลูกหญ้าแฝก ชั้นดินดานเป็นดินที่มีความหนาแน่นสูง ส่วนประกอบของดินมีน้ำ ช่องว่าง อากาศ รวมทั้งอินทรียวัตถุลดน้อยลง หญ้าแฝกเป็นพืชที่ขึ้นได้ในสภาพดินดาน มีระบบรากลึกเจาะผ่านชั้นดินดานได้และให้ปริมาณรากมากกว่าพืชอื่น ดังนั้น เมื่อฝนตกลงมาความชื้นจะซึมผ่านลงตามระบบของรากหญ้าแฝก สร้างความชื้นและอินทรียวัตถุให้กับดินในชั้นดินดานอย่างรวดเร็ว

อ้างอิง
สถาบันวิจัยพืชไร่ และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/393
อ่าน:3383
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
กรมส่งเสริมการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ข้าวกำลังออกรวง แนะให้เกษตรกรหมั่นลงพื้นที่เพื่อสำรวจแปลง เพื่อป้องกันโรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง ซึ่งโรคไหม้ข้าวสามารถพบได้ในหลายช่วงอายุของการปลูกข้าวตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ ไปจนถึงระยะออกรวง การระบาดของโรคพบได้ในสภาพแปลงนาที่มีต้นข้าวหนาแน่น อับลม แปลงนาที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง สภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และมีชื้นสูงในตอนกลางคืน กระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี โดยลักษณะอาการในแต่ละระยะการเจริญเติบโตมีลักษณะ ดังนี้

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าอาการของโรครุนแรงต้นกล้าจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบ แต่ถ้าเป็นโรคตอน รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายปริมาณมาก ยิ่งในช่วงนี้ทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้าวอยู่ในระยะออกรวงจึงอาจทำให้การระบาดของโรคไหม้ข้าวระยะคอรวงเพิ่มมากขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
การปลูกกระชายขาว
การปลูกกระชายขาว
การขยายพันธุ์กระชายขาว: ปลูกด้วยเหง้าที่มีอายุ 8 เดือนขึ้นไป และต้องมีรากกระชายอยู่ 2 – 3 ราก/เหง้า

การเพาะปลูกกระชายขาว – ปลูกในดินร่วนที่อุดมสมบูรณ์สูง ที่มีร่มเงารำไรโดยมากจะเป็นการปลูกในที่ดอน หรือปลูกกลางแจ้งในเขตพื้นที่ลาดเอียงที่มีความชื้นสูง โดยไถพรวนและขุดหลุมปลูกเป็นแถว ระยะระหว่างแถวและต้น 30 ซม. ส่วนการปลูกเป็นการค้าจะปลูกกลางแจ้งในเขตชลประทานหรือสามารถให้น้ำได้ ไถพรวนดินและยกร่องปลูกกว้าง 80 – 120 ซม. ใช้ระยะปลูกระหว่างแถวและต้น 25 – 30 ซม. ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปลูกแล้วใช้ฟางคลุมรักษาความชื้นของดิน รดน้ำทุก 2 – 3 วัน/ครั้ง กำจัดวัชพืชให้แปลงสะอาด และใส่ปุ๋ยเคมีสูตรเสมอ อัตรา 30 กก./ไร่ เมื่ออายุประมาณ 3 เดือนหลังปลูกและเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 8 เดือนขึ้นไป ถ้าต้องการขยายช่วงเวลาเก็บเกี่ยวให้นานขึ้นหรือไว้ทำพันธุ์จะต้องคลุมฟางและรดน้ำเป็นครั้งคราวเพื่อรักษาความชื้นของดินให้เหง้าและรากกระชายไม่ฝ่อในช่วงแล้ง

ที่มา : กรมวิชาการเกษตร
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าปลวก ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าปลวก ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าปลวก ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธฮาริเซียม หรือที่รู้จักในชื่อ บิวทาเร็กซ์ เป็นเชื้อราที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันและกำจัดปลวกในไร่มันสำปะหลังโดยเฉพาะ ผลิตภัณฑ์นี้เป็นส่วนผสมของเชื้อรา Beauveria bassiana และ Metharicium spp. เชื้อรา

Beauveria bassiana เป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งทราบกันดีว่าสามารถแพร่เชื้อและฆ่าแมลงได้หลากหลายชนิด รวมทั้งปลวกด้วย เชื้อรานี้ทำให้ปลวกติดเชื้อโดยการเจาะหนังกำพร้าและเติบโตภายในร่างกายของแมลงซึ่งนำไปสู่ความตายในที่สุด เมธาริเซียม spp. ยังเป็นเชื้อราที่รู้จักกันในการทำลายและฆ่าปลวก

เมื่อบิวเวอเรียผสมเมธาริเซียมทาลงบนดินรอบๆ ต้นมันสำปะหลัง สปอร์ของเชื้อราจะทำให้ปลวกที่สัมผัสกับบริเวณที่ทำการรักษาติดเชื้อ ซึ่งนอกจากจะป้องกันปลวกไม่ให้ทำลายพืชมันสำปะหลังแล้ว ยังช่วยในการกำจัดปลวกที่มีอยู่อีกด้วย

Butarex ยี่ห้อ Beauveria ผสม Methharicium เป็นสารฆ่าเชื้อราแบบสัมผัสและใช้กับดินในรูปแบบเม็ดหรือสเปรย์ ผลิตภัณฑ์นี้ปลอดภัยสำหรับใช้กับพืชมันสำปะหลังเช่นเดียวกับพืชอื่นๆ และไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

สรุปได้ว่า บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียม เป็นวิธีการป้องกันและกำจัดปลวกในไร่มันสำปะหลังที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย Methharicium บิวเวอเรียผสมบิวทาเร็กซ์เป็นตัวเลือกที่เชื่อถือได้สำหรับเกษตรกรที่ต้องการปกป้องพืชผลของตนจากการทำลายของปลวก

เชื้อบิวเวอร์เรีย + เมธาไรเซียม
เป็นผลิตภัณฑ์ผ่านการคัดสรรจุลินทรีย์ 2 ชนิดมี คุณสมบัติโดดเด่นมาผสมผสานใช้ในการป้องกัน กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วงหนวดยาว ด้วงมะพร้าว ปลวก เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ไรแดง แมลงหวี่ขาว และหนอน เป็นต้น

บิวทาเร็กซ์ : ใช้อย่างไร?
1. ผสมเชื้อ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณ กิ่ง ก้าน ใบ หรือบริเวณที่แมลงระบาด
2. ฉีดพ่นได้ทุก 7-10 วัน

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อไตรโคเดอร์มา และ ยากำจัดเชื้อรา หากต้องการใช้ร่วมควรเว้น ระยะฉีดพ่น 7-10 วัน *

ปัญหาเหล่านี้จะหมดไปด้วย บิวทาเร็กซ์..
ผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช
เชื้อดีที่สุดสำหรับชาวเกษตรกร
ปริมาณเชื้อที่ดีและได้ผล
ให้อาหารเฉพาะของเชื้อแต่ละตัว

เชื้อจะไปเติบโตในแมลง ปกคลุมตัวแมลง ทำให้แมลงแห้งตายในที่สุด
ปลอดภัยไม่มีสารเคมี
แมลงดื้อยา ใช้ได้ต่อเนื่อง
เป็นยาเย็น ใช้ได้ทุกพืช และทุกช่วงอายุของพืช

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าวน้ำหอม ตลอดช่วงอายุ
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าวน้ำหอม ตลอดช่วงอายุ
## เพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นมะพร้าวน้ำหอมสูงสุดด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์

**มะพร้าวน้ำหอม** (Cocos nucifera) พืชเศรษฐกิจที่เปี่ยมคุณค่า ทั้งน้ำมะพร้าวหอมหวาน เนื้อมะพร้าวอุดมสารอาหาร และยังเป็นไม้ประดับที่สวยงาม การดูแลต้นมะพร้าวให้เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ ออกผลดก และมีคุณภาพสูง จำเป็นต้องใช้ปุ๋ยที่เหมาะสม ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ด้วยสูตรเฉพาะที่ผสมผสานธาตุอาหารสำคัญอย่างลงตัว กำลังเป็นตัวเลือกใหม่ที่ช่วยเพิ่มศักยภาพของต้นมะพร้าวน้ำหอมของคุณ

**ปุ๋ยสตาร์เฟอร์: คุณสมบัติที่เหนือกว่า**

* **ธาตุอาหารครบถ้วน:** ปุ๋ยสตาร์เฟอร์มีธาตุอาหารหลัก NPK (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม) ในอัตราที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงการเจริญเติบโตของมะพร้าว
* **สูตรเฉพาะสำหรับมะพร้าว:** ปุ๋ยสตาร์เฟอร์มีสูตรเฉพาะสำหรับมะพร้าวน้ำหอม เน้นการเร่งการเจริญเติบโต ส่งเสริมระบบราก กระตุ้นการออกดอก และเพิ่มผลผลิต
* **ละลายน้ำง่าย:** ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ละลายน้ำง่าย พืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว
* **ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม:** ปุ๋ยสตาร์เฟอร์เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม

**สูตรปุ๋ยสตาร์เฟอร์สำหรับมะพร้าวน้ำหอม**

* **สูตร 30-20-5 (เร่งโต เร่งเขียว):** เน้นการเร่งการเจริญเติบโตของต้น ใบเขียว ฟอร์มต้นสวย เหมาะสำหรับต้นมะพร้าวช่วงแรกปลูก
* **สูตร 10-40-10+3 MgO (เร่งระบบราก เร่งดอก):** เน้นการเร่งระบบราก กระตุ้นการออกดอก เหมาะสำหรับต้นมะพร้าวช่วงออกดอก
* **สูตร 15-5-30+3 MgO (เพิ่มผลผลิต เพิ่มน้ำหนัก):** เน้นการเพิ่มผลผลิต เพิ่มขนาดผล และน้ำหนัก เหมาะสำหรับต้นมะพร้าวช่วงติดผล

**วิธีการใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์**

* **ฉีดพ่นทางใบ:** ผสมปุ๋ย 25 กรัม (2 ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 7-10 วัน
* **ใส่โคนต้น:** โรยปุ๋ยรอบโคนต้น 100-200 กรัมต่อต้น ทุก 3 เดือน

**ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์**

* ต้นมะพร้าวเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ใบเขียว ฟอร์มต้นสวย
* ระบบรากแข็งแรง ดูดซึมสารอาหารได้ดี
* ออกดอกดก ติดผลดี
* ผลมีขนาดใหญ่ น้ำหนักดี
* คุณภาพของมะพร้าวดี น้ำหอม หวาน เนื้ออ่อน

**ปุ๋ยสตาร์เฟอร์** ตัวช่วยสำคัญที่จะยกระดับการปลูกมะพร้าวน้ำหอมของคุณ เพิ่มผลผลิต คุณภาพ และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

**สั่งซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ได้ที่**

* ร้านค้าเกษตรทั่วไป

**อย่ารอช้า! เริ่มต้นใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์เพื่อมะพร้าวน้ำหอมของคุณวันนี้**

**หมายเหตุ:** ข้อมูลนี้เป็นเพียงการแนะนำเบื้องต้น เกษตรกรควรศึกษาข้อมูลอย่างละเอียดก่อนนำไปใช้ และควรปรับอัตราการใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับสภาพดินและสภาพอากาศ

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset
อ่าน:3382
ทำความรู้จักเพลี้ยอ่อน: วิธีการรู้และควบคุมแมลงศัตรูที่อาจทำให้พืชเสียหาย
ทำความรู้จักเพลี้ยอ่อน: วิธีการรู้และควบคุมแมลงศัตรูที่อาจทำให้พืชเสียหาย
ทำความรู้จักเพลี้ยอ่อน: วิธีการรู้และควบคุมแมลงศัตรูที่อาจทำให้พืชเสียหาย
เพลี้ยอ่อน เป็นแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในสวนและแปลงที่ปลูกพืชต่าง ๆ มีหลายชนิดขึ้นอยู่กับประเทศและพืชที่ถูกทำลาย แมลงเพลี้ยอ่อนทำให้พืชเสียหายโดยดูดกินน้ำเลี้ยงจากลำต้นหรือใบพืช ซึ่งส่งผลให้พืชมีการเจริญเติบโตช้าลง นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการถ่ายทอดเชื้อโรคจากแมลงนี้ไปยังพืชอื่น ๆ ด้วยนะคะ

นอกจากวิธีการใช้สารเคมีเพื่อควบคุมเพลี้ยอ่อน ยังมีวิธีการควบคุมทางชีวภาพและทางกล ดังนี้:

ศัตรูธรรมชาติ (Natural Enemies): มีหลายสายพันธุ์ของแมลงที่กินเพลี้ยอ่อน เช่น แตนเบีย และแมลงปีกแข็ง นอกจากนี้ มีแมลงพวกผีเสื้อและแตนเบียหลายชนิดที่เป็นศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยอ่อนด้วย

สารสกัดจากพืช (Botanical Extracts): บางครั้งสารสกัดจากพืช เช่น น้ำมันหอมระเหยจากสะเดา น้ำมันขมจากมะกรูด หรือสารสกัดจากต้นสมุนไพรอื่น ๆ สามารถใช้ควบคุมเพลี้ยอ่อนได้

การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ (Synthetic Hormones): บางครั้งใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของเพลี้ยอ่อน

การใช้สารเคมี (Chemical Control): สารเคมีเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมเพลี้ยอ่อน แต่ควรใช้โดยระมัดระวังและปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพมนุษย์

การเลือกใช้วิธีการควบคุมเพลี้ยอ่อนควรพิจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ ทั้งจากสภาพแวดล้อม ประสิทธิภาพ และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อระบบนิเวศ.

.
มาคา เป็นสารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ
มาคา สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ มาคา ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3382
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
ปุ๋ยทุเรียน ยาทุเรียน มีให้เลือก ครบทุกช่วงอายุ โปรดอ่านรายละเอียด และเลือกซื้อที่

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3382
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 30 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
Update: 2563/11/05 09:37:56 - Views: 3443
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3372
โรคอ้อย โรคราน้ำค้างในอ้อย ความงอกลดลง พบแผลทางยาวสีเหลืองบนใบ ใบฉีกขาดเป็นฝอย
Update: 2564/02/23 03:49:40 - Views: 3345
การรับมือกับโรคที่เกิดจากเชื้อราในฟักเขียว: การป้องกันและการจัดการเพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2566/11/24 09:17:41 - Views: 3350
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน มะม่วง เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:31:46 - Views: 3346
การจัดการและป้องกันหนอนในต้นกระเทียม: เคล็ดลับในการรักษาความสมบูรณ์ของสวนผักของคุณ
Update: 2566/11/24 10:42:53 - Views: 3326
ประโยชน์ของการใช้ ปุ๋ยเม็ดอะมิโน วันเด้อร์เขียว สำหรับการปลูกอ้อย
Update: 2565/12/30 08:34:38 - Views: 3332
เพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3C มันสำปะหลังหัวดก โต น้ำหนักดี เปอร์เซนต์แป้งสูง
Update: 2566/09/29 11:10:23 - Views: 3352
การจัดการและป้องกันโรครากเน่าแห้งในต้นกาแฟ
Update: 2566/11/14 09:30:31 - Views: 3340
การปกป้องผลผลิตแตงโม การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อรา
Update: 2566/04/29 10:06:47 - Views: 3316
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ปุ๋ยโพแทสเซียม 0-0-60: ตัวช่วยสำคัญสำหรับการบำรุงต้นองุ่นให้ผลใหญ่ ผลดก รสชาติดี มีคุณภาพ
Update: 2567/03/05 14:41:11 - Views: 3331
ทุเรียนใบเหลือง ปัญหาใหญ่ของเกษตรกร แก้ได้ง่ายๆ ด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 13:26:39 - Views: 3330
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
Update: 2563/09/11 07:33:59 - Views: 3367
มันสำปะหลังใบหงิก ปัญหาใหญ่จากเพลี้ย แก้ได้ง่ายๆ ด้วย อินเวท และ ปุ๋ยสตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 14:24:48 - Views: 3411
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟ ศัตรูพืชสำหรับต้นสตอเบอร์รี่
Update: 2567/02/26 13:08:42 - Views: 3338
เพลงผู้ปลูกอ้อย คือหัวใจของแผ่นดิน
Update: 2567/06/08 07:15:31 - Views: 3378
แก้ปัญหา มะพร้าวใบเหลือง ผลเล็ก ไม่ติดผล ด้วยปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 13:35:04 - Views: 3410
วันนี้ที่ฟาร์มเกษตร เปลี่ยนน้ำปลาคาร์ฟ พบลูกปลาคาร์ฟ ที่เกิดเองจำนวนมาก
Update: 2567/06/08 08:01:46 - Views: 5251
ปุ๋ยสำหรับผักสลัด สลัดโตไว ใบเขียว ผลผลิตสูง มีคุณภาพ ด้วยปุ๋ยชั้นดี
Update: 2567/03/14 10:29:17 - Views: 3347
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยไฟ เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/16 01:34:34 - Views: 3363
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022