[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

เพลี้ย! ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบกัญชา ทำให้ กัญชาใบหงิก ม้วน ใบจุดด่างขาว ใบจุดด่างเหลือง
เพลี้ย! ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบกัญชา ทำให้ กัญชาใบหงิก ม้วน ใบจุดด่างขาว ใบจุดด่างเหลือง
อาการกัญชาใบหงิก ขอบใบม้วน มีจุดด่างขาว ด่างเหลือง ใบหยิก มีสาเหตุจาก เพลี้ยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ผิวใบกัญชา ทำให้ใบกัญชาหดตัว จึงหงิก งอ ผิดรูป มีรอยด่าง เนื่องจากเพลี้ย เป็นแมลงจำพวกปากดูด และระบาดได้ไว มีจำนวนมาก

มาคา เป็นสารอินทรีย์ ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ปลอดภัย ไม่มีสารพิษ

FK ธรรมธรรมชาตินิยม เป็นอาหารพืชทางใบ ฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายจาก โรค และแมลงศัตรูพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโต ปลอดภัย ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวน ใช้ได้ในที่พักอาศัย

รายละเอียด และการสั่งซื้อ เลื่อนลงด้านล่างนะคะ

กัญชาใบด่างขาว กัญชาเป็นเพลี้ย แก้เพลี้ยกัญชา กำจัดเพลี้ยกัญชา
หนอนมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนแมลงวัน ตัวหนอนชนิดนี้ เกิดจากแมลงวันตัวเมีย วางไข่ใต้ผิวของผลมะม่วง จากนั้นไข่จะโตเป็นหนอน และเจากินเนื้อมะม่วง ทำให้มะม่วงเน่า เสียหาย ร่วงหล่น

หนอนด้วงมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง ตัวเต็มวัยเป็นด้วงปีกแข็ง มีงวงยาว ด้วงนี้จะวางไข่ในผลอ่อน ตัว หนอนมะม่วง จะโตอยู่ในเมล็ด พอตัวหนอนแก่ จะกัดกินเนื้อออะมา หนอนด้วงชนิดนี้ เข้าทำลาย เจาะลำต้นมะม่วงด้วย

ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
กรมวิชาการเกษตร เพื่อเกษตรกร ในช่วงที่มีอากาศหนาว มีน้ำค้างลงจัด และมีความชื้นในอากาศสูงเช่นนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกฟักแม้ว (ชาโยเต้ หรือ มะระหวาน) ให้หมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้างที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต มักพบอาการของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นก่อน ต่อมาขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบน เริ่มแรกพบแผลเหลี่ยมเล็กฉ่ำน้ำตามกรอบของเส้นใบย่อย ต่อมาแผลเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

กรณีที่ในตอนเช้ามีความชื้นสูง จะพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีขาวเทาตรงแผลใต้ใบ จากนั้น แผลจะขยายใหญ่ติดต่อกัน และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ หากอาการรุนแรง จะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น และต้นที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพของผลจะลดลง กรณีเป็นโรคในระยะผลอ่อน จะทำให้ผลลีบเล็ก และบิดเบี้ยว

สำหรับพื้นที่ที่พบอาการของโรคราน้ำค้าง เกษตรกรควรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ และตัดแต่งใบที่อยู่ด้านล่างของต้นออกบางส่วน เพื่อให้แปลงปลูกมีอากาศถ่ายเทสะดวก ลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค และทำลายแหล่งอาศัยของด้วงเต่าแตง อีกทั้งควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชตระกูลแตง

ภายหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว ให้เกษตรกรเก็บเศษซากพืชส่วนที่เหลือนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที และให้เลือกใช้ผลหรือกิ่งพันธุ์คุณภาพดีจากแหล่งปลอดโรค หลีกเลี่ยงการปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดความชื้นสูง อากาศไม่ถ่ายเท และโรคระบาดได้รวดเร็ว ส่วนแปลงที่เป็นโรค ควรงดการให้น้ำในช่วงเย็น กรณีพบด้วงเต่าแตงที่เป็นพาหนะเชื้อราสาเหตุโรค

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้าในฟักแม้ว ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุงฟักแม้ว เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมการเจริญเติบโต และเพิ่มผลผลิต
โรคโกโก้ โกโก้ใบเหลือง โกโก้ใบไหม้ แอนแทรคโนสโกโก้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
โรคโกโก้ โกโก้ใบเหลือง โกโก้ใบไหม้ แอนแทรคโนสโกโก้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
โรคโกโก้ ที่มีมีสาเหตุจากเชื้อรา จะทำให้โกโก้ เกิดอาการใบไหม้ แห้ง หรือยอดแห้ง ที่เป็นอาการของโรคแอนแทรคโนส โรคกิ่งแห้งในโกโก้ หรือ โรค วีเอสดี เกิดจากเชื้อรา Oncobasidium Theobromae ปลายยอดโกโก้จะแห้ง บริเวณตากิ่งจะเน่า แตกกิ่งไม่ได้ การป้องกันกำจัด ต้องตัดเผาทำลาย ก่อนลุกลาม และฉีดพ่นยา ยับยั้งเชื้อราไม่ให้ลุกลาม

การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#โรคโกโก้ #โกโก้ใบไหม้ #โกโก้ใบเหลือง #แอนแทรคโนสโกโก้

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
โรคถั่วฝักยาว ราแป้งถั่วฝักยาว อาการใบเหลือง ใบไหม้ ในถั่วฝักยาว
โรคถั่วฝักยาว ราแป้งถั่วฝักยาว อาการใบเหลือง ใบไหม้ ในถั่วฝักยาว
โรคราแป้งถั่วฝักยาว เกิดจากเชื้อรา ออยเดียม จะพบผงสีขาว ทั้งด้านใต้ใบและบนใบ ถ้าเป็นมากผงสีขาวจะหนาแน่นมองเห็นชัดเจน เมื่อเอามือลูบจะหลุดออกเป็นแผ่น จะพบมากบริเวณโคนต้น แล้วลุกลามขึ้นด้านบน และผงสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง และระบาดโดยปลิวไปตามลม

การป้องกัน

ํ ไม่ควรเก็บเมล็ดพันธุ์จากต้นเป็นโรคไปทำพันธุ์

ํ ควรรดน้ำต้นถั่วให้เปียกทั่วใบอย่างสม่ำเสมอ เพราะส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราแป้งนี้จะไม่งอก ถ้ามีละอองน้ำมาก ๆ

ํ แปลงที่มีประวัติการระบาดของโรคนี้ ควรพ่นสารป้องกัน

ํ แปลงที่เป็นโรคมากควรรื้อและเผาทำลายทันที ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ให้เป็นแหล่งแพร่กระจายของเชื้อโรคต่อไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
มะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว และการป้องกันกำจัด
มะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว และการป้องกันกำจัด
โรค มะพร้าวยอดเน่า (Heart leaf rot)

เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. และมักเกิดกับมะพร้าวพันธุ์ที่นำเข้าจากต่างประเทศ เช่น พันธุ์มลายูสีเหลืองต้นเตี้ย โรคนี้มกพบบ่อยในระยะต้นกล้า ในสภาพที่มีฝนตกชุก และอากาศมีความชื้นสูง
ลักษณะอาการ

ระยะแรกจะพบแผลเน่าสีดำบริเวณตรงโคนยอด จากนั้นจะขยายลุกลามต่อไปจนทำให้ใบย่อยทั้งใบแห้งเป็นสีน้ำตาล สามารถดึงหลุดออกได้ง่าย ต้นกล้าจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายไปในที่สุด หากเกิดกับมะพร้าวใหญ่ อาจมีทางใหม่เกิดขึ้นแต่ใบจะผิดปกติ ก้านทางจะสั้น มีใบย่อยเล็กๆ เกิดเฉพาะบริเวณปลายก้านทาง
การป้องกันกำจัด

ในการย้ายต้นกล้าอย่าพยายามให้หน่อช้ำ เพราะโรคอาจจะเข้าทำลายได้ง่าย หากพบอาการของโรคในระยะแรกให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออก แล้วฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ทุก 7 ถึง 15 วัน ต้นกล้าหรือส่วนที่โรคทำลายให้เผาทำลายให้หมดเพื่อป้องกันการทำลายต่อไป

โรคใบจุดมะพร้าว (Helminthosporium leaf rot)

เกิดจากเชื้อรา Helminthosporium sp. โรคนี้จะทำความเสียหายให้แก่มะพร้าวในระยะต้นกล้ามากและลุกลามอย่างรวดเร็ว
ลักษณะอาการ

เริ่มแรกจะเกิดจุดแผลสีเหลืองอ่อน ขนาดหัวเข็มหมุด ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง มีวงสีเหลืองล้อมรอบแผลจะขยายใหญ่ออก มีลักษณะค่อนข้างกลม กลางแผลจะมีจุดสีน้ำตาลแดง ขอบแผลสีน้ำตาลเข้ม ในที่สุดจะขยายรวมกันทำให้ใบแห้ง ต้นมะพร้าวชงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ทุก 7-15 วัน
นอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆ เช่น โรคตาเน่า(Bud rot) โรคโคนผุ (Stem bleeding) โรคใบจุดสีเทา (Grey leaf spot) โรคก้านทางแตก (Frond Break) โรครากเน่า (Root rot) เป็นต้น โรคดังกล่าวนี้แม้ว่าจะพบในแหล่งปลูกมะพร้าวมากแต่ก็ไม่พบทำความเสียหายให้แก่มะพร้าวมากนัก

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3396
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
โรคใบด่างมันสำปะหลัง สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส Cassava mosaic virus ; CMV

อาการ : ใบด่างเหลือง ผิดรูป ยอดเเตกใหม่ แสดงอาการด่างเหลืองชัดเจน ลำต้นเเคระเเกร็น ไม่เจริญเติบโต

การเเพร่ระบาด :
1. ท่อนพันธ์ุ จากต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรค
2. เเมลงหวี่ขาวยาสูบ นำเชื้อไวรัสจากต้นเป็นโรคไปสู่ต้นปกติ

ความเสียหาย : มันสำปะหลังไม่สร้างหัว หัวลีบเล็ก หรือหัวไม่มีเเป้ง ผลผลิตลดลงหากเป็นโรคตั้งเเต่ระยะเล็ก จะเสียหายถึง 80-100%

การปฏิบัติเพื่อกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง :

1. สำรวจเเปลงมันสำปะหลังของตนเองอย่างสม่ำเสมอ หากพบต้นมันสำปะหลังแสดงอาการใบด่างให้รีบเเจ้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านทันที

2. กำจัดต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคและเเมลงหวี่ขาวยาสูบ

3. คัดเลือกท่อนพันธ์ุสะอาด ใช้ท่อนพันธุ์จากเเปลงที่ไม่เคยเป็นโรคหรือใช้ท่อนพันธ์ุที่ทราบเเหล่งที่มา

ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร
และ http://www.farmkaset..link..

โรคใบด่างมันสำปะหลัง ยังไม่มียารักษาโดยตรง ทำได้โดยการ ป้องกัน กำจัด แมลงหวี่ขาว และ เพลี้ย พาหะของโรค

ฉีดพ่น มาคา เพื่อป้องกัน กำจัด แมลงหวีขาว และ เพลี้ยต่างๆ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง เพิ่มผลผลิต

สามารถผสม มาคา และ FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
โรคมันสำปะหลัง โรคใบไหม้มันสำปะหลัง โรครา มันสำปะหลัง ใบจุด ราสนิม ไอเอส จาก FK
โรคมันสำปะหลัง โรคใบไหม้มันสำปะหลัง โรครา มันสำปะหลัง ใบจุด ราสนิม ไอเอส จาก FK
โรคมันสำปะหลัง โรคใบไหม้มันสำปะหลัง โรครา มันสำปะหลัง ใบจุด ราสนิม ไอเอส จาก FK
โรคมันสำปะหลัง ที่มีสาเหตุจาก เชื้อราต่างๆ ใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส ใช้

ไอเอส

อัตราการผสมใช้

50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

การผสม FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน จะช่วยให้พืชฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของ โรค และ แมลงศัตรูพืช ได้เร็วยิ่งขึ้น
อ่าน:3395
มะพร้าวยอดแห้ง มะพร้าวใบไหม้ ใบเหลือง กำจัดโรคมะพร้าว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
มะพร้าวยอดแห้ง มะพร้าวใบไหม้ ใบเหลือง กำจัดโรคมะพร้าว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคยอดเน่า เกิดจากเชื้อรา pythium sp.
ลักษณะอาการของโรคนี้ ที่สังเกตได้คือ ระยะแรก จะพบแผลเน่าสีดำบริเวณตรงโคนยอด และจะขยายลุกลามต่อไปจนทำให้ใบย่อยแห้งเป็นสีน้ำตาล สามารถดึงหลุดออกได้ง่าย ต้นกล้าจะเหี่ยวเฉา และแห้งตายไปในที่สุด หากเกิดกับมะพร้าวใหญ่ ทางใบมะพร้าวที่เกิดใหม่ แต่ใบจะผิดปกติ ก้านทางจะสั้น มีใบย่อยเล็กๆ เกิดเฉพาะบริเวณปลายก้านทาง

โรคใบจุด เกิดจาเชื้อรา Heiminthosporium sp.
ลักษณะอาการของโรคนี้ ที่สังเกตได้คือ เริ่มแรกจะเกิดจุดแผลสีเหลืองอ่อน ขนาดหัวเข็มหมุด ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง มีวงสีเหลืองล้อมรอบแผล และจะขยายใหญ่ออกไปเรื่อยๆ มีลักษณะค่อนข้างกลม กลางแผลจะมีจุดสีน้ำตาลแดง ขอบแผลสีน้ำตาลเข้ม ในที่สุดจะขยายรวมกันทำให้ใบแห้ง ต้นมะพร้าวชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด

โรคผลร่วง เกิดเชื้อรา Phytopthora palmivora
ลักษณะอาการของโรคนี้ มะพร้าวจะล่วงก่อนกำหนด อายุของมะพร้าวที่ล่วงตั้งแต่ 3 ถึง 9 เดือน ผลมะพร้าวที่เก็บเกี่ยวได้อายุ 12 เดือน ดังนั้น ผลมะพร้าวที่ร่วง จึงอ่อนมาก ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้


ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดเพลี้ยในนาข้าว: วิธีการป้องกันและกำจัดเพลี้ยในต้นข้าว
กำจัดเพลี้ยในนาข้าว: วิธีการป้องกันและกำจัดเพลี้ยในต้นข้าว
เพลี้ยเป็นศัตรูพืชที่สามารถทำให้เกิดความเสียหายในต้นข้าวได้ มีหลายชนิดของเพลี้ยที่สามารถทำลายข้าวได้_ แต่สายพันธุ์ที่พบบ่อยสุดในข้าวได้แก่เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Brown planthopper) และเพลี้ยไฟ (Rice leafhopper) ซึ่งมักเข้าทำลายในระยะเตรียมต้นข้าวหรือระยะออกดอก

นอกจากนี้ยังมีเพลี้ยที่เป็นแบบดูดน้ำเลี้ยงซึ่งจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากต้นข้าว ซึ่งอาจทำให้ต้นข้าวเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่ และถ้ามีการระบาดมากพอ อาจทำให้เกิดความเสียหายที่ส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าว

สามารถลดการระบาดของเพลี้ยได้โดยใช้วิธีการต่อไปนี้:

การใช้วิธีทางชีวภาพ (Biological Control):

การใช้ศัตรูธรรมชาติ เช่น แตนเบียนที่กินเพลี้ย
การใช้ปลวก เช่น ปลวกขาวที่อาศัยอยู่ในนาข้าว

การใช้วิธีทางเคมี (Chemical Control):

การใช้สารเคมีที่เป็นสารกำจัดแมลง เช่น ไดอะซินอน_ คลอร์ไพริฟอส
ควรใช้สารเคมีอย่างระมัดระวังเพื่อไม่ทำให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

การใช้วิธีทางกล (Mechanical Control):

การใช้ท่อนข้าวที่ตัดแต่งหรือวัสดุอื่น ๆ เพื่อทำให้เพลี้ยไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ตามปกติ

การจัดการน้ำให้เหมาะสม:

การจัดการระบบน้ำในนาข้าวเพื่อลดการสะสมน้ำที่เป็นที่อาศัยของเพลี้ย

การปลูกพืชที่สลับเปลี่ยน:

การใช้วิธีการปลูกพืชที่สลับเปลี่ยน เพื่อลดการระบาดของเพลี้ย
ควรตรวจสอบสภาพนาข้าวอย่างสม่ำเสมอเพื่อตรวจสอบการระบาดของเพลี้ยและดำเนินการกำจัดทันทีเมื่อพบเพลี้ยมีการระบาดในปริมาณมากที่อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวได้

.
มาคา เป็นสารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ ในต้นข้าว
มาคา สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ มาคา ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link.. หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3394
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 21 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ข้าวดีดระบาด3ล้านไร่ ชาวนาสูญ6พันล้าน
Update: 2564/08/26 00:48:31 - Views: 3325
การใช้ปุ๋ยฉีดพ่นเพิ่มประสิทธิภาพในการเลี้ยงแตงโม: สู่การผลิตที่โตไว รากแข็งแรง และใบสวยงาม
Update: 2566/11/24 14:38:53 - Views: 3335
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: สารออกฤทธิ์ที่ปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืชและปรับปรุงโครงสร้างดิน
Update: 2567/02/13 09:52:47 - Views: 3331
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคตายพลาย ในกล้วย ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/20 09:40:54 - Views: 3347
กะเพราใบไหม้ โรคใบจุดกะเพรา โรคกะเพรา โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/10/10 00:02:08 - Views: 3371
ผักบุ้งในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังโรคราสนิมขาว(เชื้อรา ALBUGO IPOMOEA-PANDURATAE)
Update: 2564/09/09 05:42:27 - Views: 3340
ปุ๋ยผักชี ปุ๋ยน้ำบำรุงผักชี โตไว ใบเขียว สมบูรณ์ ฉีดพ่น FK-1 มี N-P-K, Mg, Zn และสารจับใบ
Update: 2564/11/08 20:00:46 - Views: 3320
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในผักกาดขาว และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/07 12:51:51 - Views: 3348
ประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกอ้อยในประเทศไทย
Update: 2566/01/05 09:01:40 - Views: 3321
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 72 และ KU 50 ทนต่อโรคใบด่าง และควรเลือกใช้ท่อนพันธุ์ จากแหล่งที่ปลอดโรค หยุดการแพร่ระบาด โรคมันสำปะหลังใบด่าง ได้เป็นอย่างดี
Update: 2563/06/13 15:50:29 - Views: 3366
การป้องกันกำจัด โรคราแป้งในมะม่วง
Update: 2566/01/17 08:23:24 - Views: 3356
โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นถั่วเหลือง
Update: 2566/11/09 09:39:42 - Views: 3343
การป้องกันกำจัด โรคใบไหม้ของต้นยางพารา ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/11 07:30:56 - Views: 3507
กล้วยไม้ใบจุด เน่าดำ ราสนิม ดอกสนิม กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในกล้วยไม้ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/11/02 12:07:19 - Views: 3331
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟ ศัตรูพืชสำหรับต้นสตอเบอร์รี่
Update: 2567/02/26 13:08:42 - Views: 3339
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เสริมความเจริญเติบโตของมะละกอในทุกช่วงอายุ
Update: 2567/02/13 08:54:01 - Views: 3334
แก้ปัญหาเพลี้ย กำจัดเพลี้ยด้วย มาคา แก้ใบไหม้ แก้โรคจาเชื้อรา ด้วย ไอเอส
Update: 2563/05/25 13:25:08 - Views: 3325
ประโยชน์ของการปลูกพืชผสมผสานระหว่าง มันสำปะหลัง กับ พืชตระกูลถั่ว
Update: 2566/04/26 13:57:33 - Views: 5077
บล็อคโคลี่ ใบไหม้ ราน้ำค้าง กำจัดเชื้อรา ในบล็อคโคลี่ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/12 09:22:51 - Views: 3317
ยาฆ่าหนอน ใน พริก และพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอกี้-บีที และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/04/05 12:33:57 - Views: 3324
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022