[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อราในสภาพพื้นที่ ที่มีความชื้นสูงติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ ในพันธุ์มันสำปะหลังที่อ่อนแอ เช่น ระยอง 72 หรือ ระยอง11 ส่วนพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทาน ยอดจะเหี่ยวแห้งตายลงมาทำให้เกิดมีการเจริญเติบโตของกิ่งหรือยอดใหม่ น้ำหนักผลผลิตจะลดลงหรือเก็บเกี่ยวล่าช้า ผลผลิตจะเสียหาย 30 – 40%

ลักษณะอาการ

ใบจะมีไหม้สีน้ำตาล ขยายตัวเข้าสู่กลางใบ มักปรากฏกับใบที่อยู่ล่าง ในตัวแผลบนใบจะมีเม็ดเล็กๆ สีดำขยายตัวไปตามขอบของแผลอาการไหม้ ส่วนก้านใบ อาการจะปรากฏในส่วนโคนก้านใบ จะเป็นแผลสีน้ำตาลขยายตัวไปตามก้านใบ ทำให้ก้านใบมีลักษณะลู่ลงมาจากยอด หรือตัวใบจะหักงอจากก้านใบ เกิดอาการใบเหี่ยวและแห้งได้ ส่วนลำต้นและยอด แผลที่ลำต้นจะเป็นแผลที่ดำตรงบริเวณข้อต่อกับก้านใบและมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม แผลจะขยายตัวไปสู่ส่วนยอดทำให้ยอดเหี่ยวแห้งลงมา

การป้องกันกำจัด

- ใช้พันธุ์ต้านทาน

- การใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค

- ปลูกพืชหมุนเวียน

- ไถกลบเศษซากมันสำปะหลังลึก ๆ ช่วยลดประชากรเชื้อโรคในดินได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3426
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส
ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing)

วงศ์ (Family) : Chrysopidae

อันดับ (Order) : Neuroptera

เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ส้ม ไรแดง ไร 2 จุด และตัวอ่อนแมลงหวี่ขาว เป็นต้นทำให้แมลงช้างปีกใสเป็น เป็นตัวห้ำสำคัญที่ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชในแปลงเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในประเทศ

ตัวเต็มวัยเพศเมีย หลังจากผสมพันธุ์ 2-3 วัน ก็จะเริ่มวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ใช้เวลา 3-4 วัน ระยะตัวอ่อนมี 3 วัย ตัวอ่อนวัยที่ 1_ 2 และ 3 ใช้เวลา 4-5 วัน 3-4 วัน และ 3-5 วัน ตามลําดับ รวมระยะตัวอ่อน 11-13 วัน ระยะดักแด้ 9-11 วัน ตัวเต็มวัยเพศผู้มีอายุ 14-30 วัน สําหรับเพศ เมียมีอายุ 19-58 วัน เพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้ 180-345 ฟอง

วงจรชีวิตของแมลงช้างปีกใส

รูปร่างลักษณะ

ไข่ มีลักษณะเป็นทรงยาวรี ขนาดเล็ก ความยาวเฉลี่ย 0.98 มิลลิเมตร ความกว้างเฉลี่ย 0.24 มิลลิเมตร เป็นฟองเดี่ยวๆ อยู่บนก้านสีขาวใส วางเป็นระเบียบเป็นแถวรอบใบพืช ไข่วางใหม่ๆ มีสีเขียวอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีเทาดํา เมื่อฟักแล้วจะเป็นสีขาว มีอายุประมาณ 3-4 วัน

ตัวอ่อน มีลักษณะลําตัวกลมแบน เห็นชัดเจนในระยะที่ 3 โดยรอบลําตัวมีปุ่มขน ปากมีกรามโค้งยาวยื่นไปด้านหน้าคล้ายเคียว ใช้ดูดกินเหยื่อ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อนวัยที่ 1 จะเป็นตัวห้ำทันที มีการลอกคราบเปลี่ยนวัย ตัวอ่อนทั้งหมด 3 วัย

ตัวอ่อนวัยที่ 1 เมื่อฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีสีน้ำตาลอ่อน ลําตัวเรียวเล็ก ว่องไว จะไต่ลงมาทางก้านชูไข่ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 1.56 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 0.48 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 2 รอบลําตัวเริ่มมีซากของเพลี้ยแป้งเกาะ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 3.25 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 2.32 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 3 ขนาดลําตัวโตอย่างรวดเร็วเห็นได้ชัดกว่าระยะอื่นๆ กินอาหารเก่ง รอบลําตัวมีผงแป้งเกาะ คล้ายเพลี้ยแป้งมาก ความยาวลําตัวเฉลี่ย 7.23 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 3.40 มิลลิเมตร

ดักแด้ มีรูปร่างกลม ตัวอ่อนวัย 3 จะขดตัวสร้างเส้นใยสีขาวปกคลุมลําตัว จะเข้าดักแด้ติดกับใบพืช ความกว้างของดักแด้โดยเฉลี่ย 3.02 มิลลิเมตร ความยาวโดยเฉลี่ย 4.67 มิลลิเมตร

ตัวเต็มวัย มีปีก 2 คู่ เป็นปีกแบบบางอ่อน (membrane) เนื้อปีกใส มีเส้นปีกจํานวนมาก ลําตัวสีเขียวอ่อน เพศผู้ มีสีลําตัวจางกว่าเล็กน้อย และตัวเล็กกว่าเพศเมีย ความกว้างลําตัวเพศเมีย เฉลี่ย 2.25 มิลลิเมตร ความยาวลําตัว โดยเฉลี่ย 10.53 มิลลิเมตร ความกว้างลําตัวเพศผู้เฉลี่ย 1.55 มิลลิเมตร ความยาวลําตัวโดยเฉลี่ย 10.01 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยมีกลิ่นเฉพาะตัวค่อนข้างแรง

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3428
การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง
นอกเหนือจากการปรับปรุงบำรุงดินร่วมกับการอนุรักษ์ดิน และการใช้พันธุ์มันสำปะหลังพันธุ์ดีแล้ว การจัดการดูแลดี โดยเริ่มตั้งแต่ ฤดูการปลูกที่เหมาะสม การเตรียมดินดี การเตรียมท่อนพันธุ์ปลูก ระยะปลูกที่เหมาะสมตลอดจนการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม การกำจัดวัชพืชถือเป็นปัจจัยที่ทำให้ผลผลิตสูงขึ้น โดยเฉพาะการเอาใจใส่ในการเตรียมท่อนพันธุ์จะมีผลทำให้ความอร่อยของมันสำปะหลังสูงขึ้น โดยเฉพาะการเอาใจใส่ในการเตรียมท่อนพันธุ์จะมีผลทำให้อัตราความอยู่รอดของมันสำปะหลังสูงขึ้น

การคัดเลือกท่อนพันธุ์สมบูรณ์

1. ต้องใช้ท่อนพันธุ์ที่มีอายุ 8-14 เดือน โดยสังเกตจากสีของลำต้นที่จะเปลี่ยนแปลง เป็นสีเข้มเมื่อมีอายุ มากขึ้น และไม่มีโรคแมลงติดมา

2. ต้องเก็บรักษาต้นพันธุ์ให้ดี หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ควรรีบนำต้นพันธุ์ไปปลูกทันที หากจำเป็นต้องเก็บรักษาต้นพันธุ์ไว้ทำพันธุ์ต่อไป สามารถทำได้โดยตั้งกองพันธุ์ไว้กลางแจ้งในแนวตั้ง ให้ส่วนของโคนสัมผัสผิวดิน หรือใช้ดินกลบโคนและกองไม่ให้ใหญ่เกินไป เพื่อให้อากาศถ่ายเท ซึ่งวิธีการดังกล่างจะสามารถเก็บรักษาต้นพันธุ์ได้ 15-30 วัน หรือนานถึง 2 เดือน แต่ถ้าเก็บรักษาไว้นานต้นจะแห้งจากส่วนปลายลงมา และตาจะแตกทำให้ได้จำนวนท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์น้อยลง

3. ต้องใช้ส่วนกลางของลำต้น ควรเป็นส่วนกลางของลำต้นที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป

4. ต้องตัดท่อนที่มีความยาวเหมาะสม ในช่วงต้นฤดูฝน ควรใช้ท่อนพันธุ์ขนาด 20 เซนติเมตร และช่วงปลายฝน ควรใช้ท่อนพันธุ์ขนาด 25-30 เซนติเมตร (ควรมีตาอย่างน้อย 5-7 ตา) ส่วนการสับท่อนพันธุ์ ควรสับให้เฉียงเล็กน้อย และหลีกเลี่ยงให้ตาบนท่อนพันธุ์ช้ำ หรือถูกกระทบกระเทือน

5. วิธีการปลูกที่เหมาะสม

ควรปลูกแบบปักตรงหรือเอียงเล็กน้อย เป็นวิธีให้ผลผลิตสูงความลึกในการปักท่อนพันธุ์ลงในดินประมาณ 8-10 เซนติเมตร แต่ไม่ควรปักลึกมากและควรมีการตรวจสอบความงอกหลังปลูกเพื่อให้ซ่อมได้ทันเวลา

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3444
ปลูกมันสำปะหลังอย่างไร ให้ได้ผลผลิตสูง
ปลูกมันสำปะหลังอย่างไร ให้ได้ผลผลิตสูง
การปลูกมันสำปะหลังให้ได้ผลผลิตสูงนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้นวันนี้จะแนะนำให้ทุกคนได้รู้จักกับ คุณอนันต์ บุญสมปอง บ้านเลขที่ 64/4 หมู่ 2 ต.จอระเข้เผือก อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี อดีตรองผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ปัจจุบันได้ผันมาเป็นเกษตรกรเต็มตัว ซึ่งสามารถผลิตมันสำปะหลังสดได้ 2_000 ตันต่อปี บนพื้นที่กว่า 700 ไร่ รายได้เฉลี่ยปีละ 3_400_000 บาทต่อปี เรามาดูเทคนิคการเพาะปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรท่านนี้กันว่าปลูกอย่างไรให้ได้ผลผลิตสูง

ปฏิทินการเพาะปลูกมันสำปะหลัง

โดย7 วันก่อนเริ่มทำการเตรียมดิน คุณอนันต์ จะทำการโรยขี้วัวผสมขี้ไก่ที่ผ่านการตากแดดแล้วลงแปลงเพาะปลูก ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นแทนการใส่ปุ๋ยรองพื้นก่อนการปลูก หลังจากนั้นจึงเริ่มทำการเพาะปลูกและดูแลรักษามันสำปะหลังตามปฏิทินการเพาะปลูก โดยขั้นตอนการดูแลรักษามันสำปะหลังของคุณอนันต์นั้น จะพิเศษกว่าเกษตรกรท่านอื่น คือ การให้อาหารเสริมทางใบ เพื่อป้องกันการระบาดของเพลี้ยแป้งและเพลี้ยไฟ นอกจากนั้นยังช่วยสร้างแป้งให้กับมันสำปะหลังได้โดยตรง ซึ่งจะทำการฉีดพ่นในช่วงเวลาเช้าประมาณ 10 โมง หรือหลัง 5โมงเย็น เนื่องจากเป็นช่วงที่ปากใบพืชเปิดเต็มที่ทำให้พืชสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารเสริมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่ออายุมันสำปะหลังครบ 18 เดือน จะทำการเก็บเกี่ยวทันที เนื่องจากมันสำปะหลังมีการสะสมแป้งเต็มที่ และมีน้ำหนักสูงสุด ทำให้ได้ราคาขายที่สูง

แต่ถ้าหากมันสำปะหลังที่มีอายุเกิน 10 เดือนขึ้นไปได้รับผลกระทบจากภัยแล้งต้องทำการเก็บเกี่ยวทันทีอีกหนึ่งเคล็ดลับที่สำคัญของคุณอนันต์ คือการปลูกมันสำปะหลังต่อทันที เพื่อป้องกันมันสำปะหลังกระทบแล้ง และลดการเกิดวัชพืชในแปลง ถือว่าเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อีกด้วย โดยการปลูกวิธีนี้ไม่ต้องทำการพักแปลง แต่ก่อนการปลูกต้องใส่ปุ๋ยรองพื้น เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และที่ขาดไม่ได้สำหรับการดูแลรักษามันสำปะหลังฉบับคุณอนันต์ นั้นก็คือการให้อาหารเสริมทางใบ

เทคนิคพิเศษสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง

1. พื้นที่ที่ทำการปลูกมันสำปะหลังมาแล้วอย่างน้อย 2 ปี จะต้องทำการเปลี่ยนพืชปลูกเป็นอ้อยหรือพืชบำรุงดิน เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและแมลง และยังเป็นการเพิ่มปุ๋ยในดินได้อีกด้วย

2. วิธีการคัดเลือกท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ปราศจากโรค _ปราศจากแมลง _อายุ 12 เดือนขึ้นไป และไม่มีบาดแผลที่บริเวณท่อนพันธุ์

จากบทความจะเห็นได้ว่า ถ้าหากเกษตรกรใส่ใจรายละเอียดตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการก็บเกี่ยว สามารถเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มกำไร ให้กับเกษตรกรได้อย่างมาก

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3428
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
ประเทศไทยพบโรคใบด่างมันสําปะหลังครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 โดยมีพื้นที่ระบาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมมันสําปะหลังของประเทศ เนื่องจากโรคใบด่างมันสําปะหลังส่งผลให้ผลผลิตมันสําปะหลังลดลง 20 - 80 เปอร์เซ็นต์


โดยการควบคุมโรคใบด่างมันสําปะหลังสามารถทําได้ ดังนี้

1) กําจัดแมลงหวีขาวยาสูบซึ่งเป็นพาหะนําโรค

2) เมื่อพบต้นที่เป็นโรคต้องทําลายทิ้งทันที

3) ไม่ปลูกโดยใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค

ดังนั้นในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคเกษตรกรจึงจําเป็นต้องทําลายต้นที่เป็นโรคและเร่งหาต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคมาปลูกทดแทน ส่งผลให้ต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคไม่เพียงพอต่อความต้องการ การเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่สะอาดปลอดโรค จึงเป็นวิธีการควบคุมโรคใบด่างมันสําปะหลังที่กรมส่งเสริมการเกษตรสนับสนุนและส่งเสริม โดยเฉพาะการให้เกษตรกรขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด เพื่อให้มีท่อนพันธุ์ปลอดโรคที่เพียงพอและลดความเสียหายดังกล่าว

การขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20

หมายถึง การขยายพันธุ์มันสําปะหลังที่ได้ต้นพันธุ์เพิ่มขึ้น 20 เท่า เป็นวิธีการที่สามารถทําได้ง่าย โดยในระยะเวลา 1 เดือน จะได้ต้นพันธุ์มันสําปะหลังถึง 20 ต้น ซึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจากวิธีขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเดิมซึ่งมันสําปะหลัง 1 ลํา จะขยายพันธุ์ได้เพียง 4 - 5 ต้นเท่านั้น

วิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 มีขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกใช้ต้นพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้หรือได้รับการรับรองพันธุ์เป็นท่อนพันธุ์มันสําปะหลังสะอาด

2. ใช้เลื่อยหรือมีดคมตัดให้เป็นท่อนยาวท่อนละ 6-8 เซนติเมตร (โดยให้มีตาประมาณ 2 - 3 ตา)

3. นําสารเคมีป้องกันกําจัดแมลง ไทอะมีโทรแซม 4 กรัม ที่ละลายในน้ำสะอาด 20 ลิตร เติมสารป้องกัน เชื้อราแมนโคเซบ 60 กรัม และเติมฮอร์โมนเร่งราก (B1) 40 มิลลิลิตร แล้วนําท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ลงไปแช่อย่างน้อย 10 นาที

4. จากนั้นนําวางบนตะกร้า ผึ่งลมให้แห้งก่อนนําไปปักชํา

5. นําท่อนพันธุ์ลงปักชําในถุงหรือถาดหลุม ลึก 1 ใน 3 ของท่อนพันธุ์ ให้ตา 1 ตาอยู่ใต้ดินและ 1 ตาอยู่ เหนือดิน โดยวัสดุในการปักชําประกอบด้วย ขี้เถ้าแกลบ ทรายหยาบ ปุ๋ยอินทรีย์ ผสมกันในอัตราส่วน 10: 2: 1 นําใส่ถุงดํา ขนาด 3 x 7 นิ้ว หรือใส่ถาดหลุมขนาด 50 หลุม (ถาดหลุมมีข้อดี คือ ใช้ได้หลายครั้ง ขนย้ายสะดวก)

6. นําถุงหรือถาดที่ปักชําแล้วไปวางในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่าย เพื่อป้องกันแมลงและรดน้ำทุกวัน วันละ 1 ครั้ง

7. ท่อนพันธุ์จะเริ่มแตกตาและออกรากภายใน 1 สัปดาห์ เมื่อครบ 3 สัปดาห์ จะมีรากที่สมบูรณ์เพียงพอที่จะปลูก ให้นําถุงหรือถาดเพาะชําออกวางกลางแดดให้ต้นปรับสภาพอีก 7 วัน ก่อนนําปลูกในแปลงปลูกต่อไป

8. เมื่อปลูกแล้วควรให้น้ำทันที ปลูกในฤดูฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ และหากปลูกในพื้นที่ไม่มีฝน ให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 เดือน

การขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X80

คือการนํายอดที่แตกใหม่จากลําต้นที่ได้จากวิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 มาขยายพันธุ์ ซึ่งวิธีการนี้จะเพิ่มปริมาณต้นพันธุ์จากการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 ได้ถึง 4 เท่า (อย่างน้อย 80 เท่าจากต้นพันธุ์เริ่มต้น)

วิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X80 มีขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกท่อนพันธุ์จากการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 ความยาวท่อน 6 - 8 เซนติเมตร ในการผลิตต้นแม่พันธุ์

2. นําท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ปลูกลงในกระถาง หลังจากท่อนพันธุ์แตกยอดที่อายุ 30 - 45 วัน ให้ตัดยอด โดยมีความยาวยอดประมาณ 10 เซนติเมตร จะได้ยอดอย่างน้อย 1 ยอดต่อท่อนพันธุ์ โดยเก็บท่อนพันธุ์เดิมไว้ในกระถางดูแลตามปกติ

3. นําต้นแม่พันธุ์ที่ได้จากการตัดยอดลงไปปักชำ ในวัสดุปักชําแล้วไปวางในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่าย เพื่อป้องกันแมลง

4. รดน้ำทุกวัน วันละ 1 ครั้ง โดยรากจะเริ่มออกภายใน 2 สัปดาห์ และพร้อมพัฒนาเป็นต้นกล้าใหม่เมื่อครบ 4 สัปดาห์ จากนั้นนําถาดเพาะชําออกวางกลางแดดเพื่อปรับสภาพอีก 7 วัน ก่อนนําไปปลูกในแปลงปลูก

5. เมื่อปลูกแล้วควรให้น้ำทันที ปลูกในฤดูฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ และหากปลูกในพื้นที่ไม่มีฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 เดือน

6. ท่อนพันธุ์ที่ผ่านการตัดยอดในขั้นตอนที่ 2 จะเจริญเติบโตได้ยอดใหม่ ให้ดําเนินการตามขั้นตอนที่ 3 - 5 ซ้ำอีกครั้ง จนกระทั่งท่อนพันธุ์หมดอายุการใช้งาน (ไม่แตกยอดใหม่)

หมายเหตุ : โรงเรือนเพาะชําที่ดีควรปรับความชื้นในอากาศ ให้อยู่ที่ 60 - 70 เปอร์เซ็นต์ และควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้อยู่ที่ 30 - 35 องศาเซลเซียส เพื่อให้ท่อนพันธุ์ที่ปักชํามีอัตราการงอกเกิน 90 เปอร์เซ็นต์

หากเกษตรกรหันมาขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 และ X80 ซึ่งเป็นวิธีการที่สามารถทําได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ นอกจากจะได้ท่อนพันธุ์ปลอดโรคที่เพียงพอแล้วยังปลอดจากโรคใบด่างมันสําปะหลังอีกด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3466
การจัดการเพลี้ยแป้ง และเพลี้ยหอย ในไม้ผล โดยวิธีผสมผสาน
การจัดการเพลี้ยแป้ง และเพลี้ยหอย ในไม้ผล โดยวิธีผสมผสาน
อ่าน:3506
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
อ่าน:3414
การยืดอายุการวางจำหน่ายผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยว
การยืดอายุการวางจำหน่ายผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยว
อ่าน:3426
พันธุ์มันสำปะหลังทนทานโรคใบด่าง
พันธุ์มันสำปะหลังทนทานโรคใบด่าง
อ่าน:3473
การใช้ปูนเพื่อปรับปรุงดิน
การใช้ปูนเพื่อปรับปรุงดิน
อ่าน:3401
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 254 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 5147
อะโวคาโดเสี่ยงเจอโรคแอนแทรคโนส
Update: 2564/08/08 04:13:12 - Views: 3632
การจัดการและควบคุมหนอนในต้นอ้อย: กลยุทธ์การป้องกันและลดความเสียหายในการเกษตร
Update: 2566/11/15 14:51:51 - Views: 3431
การจัดการเพลี้ยในต้นโหระพา: วิธีป้องกันและกำจัดเพลี้ยในสวนผัก
Update: 2566/11/24 12:27:23 - Views: 3560
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตรสำหรับมังคุด: เลือกให้ต้นไม้ของคุณเจริญเติบโตและผลิตผลดีที่สุด
Update: 2567/02/13 08:54:31 - Views: 3489
การดูแลรักษามะม่วง และเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/28 08:42:32 - Views: 3877
เพลี้ยไฟ (rice thrips)
Update: 2564/08/21 22:22:12 - Views: 3550
โรคพืช ทำให้เกิดโรคในคนได้หรือไม่?
Update: 2564/08/13 11:45:35 - Views: 3406
การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของมะม่วง การจัดการเพลี้ยศัตรูพืชในมะม่วง
Update: 2566/11/08 14:53:27 - Views: 3470
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร
Update: 2562/08/18 23:51:03 - Views: 3767
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
Update: 2563/05/23 13:58:08 - Views: 3696
การจัดการและป้องกันหนอนเจาะผลทุเรียน
Update: 2566/11/20 10:25:00 - Views: 3569
กัญชาใบไหม้ โรคกัญชา โรคราสนิม โรคใบเหลือง
Update: 2564/06/07 08:04:31 - Views: 3885
การป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในข้าวโพด
Update: 2566/05/17 09:54:42 - Views: 3525
โรคแคงเกอร์ ในพืชตระกูลส้ม และ มะนาว แก้ได้ด้วยไอเอส ปลอดสารพิษ
Update: 2564/05/09 05:03:29 - Views: 3701
การป้องกันและควบคุมโรคเมลาโนสในต้นส้ม: แนวทางการดูแลและการใช้สารป้องกันกำจัดโรค
Update: 2566/11/17 08:58:24 - Views: 3462
เพลี้ยมะพร้าว เพลี้ยใต้ใบมะพร้าว เพลี้ย ศัตรู มะพร้าว มาคา จาก FK
Update: 2565/06/17 01:04:26 - Views: 3477
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรขาว ในดอกลีลาวดี และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/03 10:21:21 - Views: 3570
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:41:38 - Views: 3497
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
Update: 2563/09/27 20:19:32 - Views: 4004
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022