[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
โรคราแป้งมะเขือ ราแป้งพริก ราแป้งมะเขือม่วง แก้ด้วย ไอเอส
โรคราแป้งมะเขือ ราแป้งพริก ราแป้งมะเขือม่วง แก้ด้วย ไอเอส
โรคราแป้งมะเขือ ราแป้งพริก ราแป้งมะเขือม่วง แก้ด้วย ไอเอส

โรคราแป้ง (Powdery mildew)

โรคราแป้งในพริก มะเขือ และมะเขือม่วง เกิดได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต

.

ลักษณะอาการของโรค/การเข้าทำลาย
-ปรากฏผงสีขาวบริเวณใต้ใบ หรือบนผิวใบด้านบน
-ใต้ใบปรากฏแผลสีเหลือง หรือน้ำตาล
-อาการรุนแรงใบไหม้

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3777
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
โรคต่างๆของ มะยงชิด มะปรางหวาน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคใบใบ้ มะยงชิดใบเหลือง ใบจุดสีน้ำตาล ขั้วผลเน่า ผลหลุดร่วง ใบแห้ง ยอดไหม้ กิ่งเปราะ หักง่าย ใช้ ไอเอส ฉีดพ่นเพื่อป้องกันรักษาโรคต่างๆเหล่านี้ ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:4613
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

โรคใบจุด (Leaf Spot)

.
เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โดย หากเป็นเชื้อ Colletotrichum sp. ซึ่งทำให้เกิดโรคแอนแทรคโนส ใบอ่อนจะมีสีซีดคล้ายโดนน้ำร้อนลวก ส่วนขยายพันธุ์เป็นจุดดำ ๆ ส่วนใบแก่เป็นจุดกลมขอบแผลสีเข้ม และมีการขยายขนาด ส่วนเชื้อรา Phomopsis sp. ทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายบริเวณใบแก่ มีขนาดจำกัด

.

เชื้อรา Phyllosticta sp. ทำให้เนื้อเยื่อตายบริเวณปลายใบ และมักมีเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ปะปนเล็กน้อย

.

เชื้อรา Pseudocercospora sp ทำให้เนื้อตายเป็นจุดเหลี่ยม ๆ เล็ก ๆ กระจัดกระจายบนใบ และใต้ใบมีกลุ่มสปอร์สีดำ ทำให้ใบร่วงรุนแรงได้

.
โรคราสีชมพู (Pink disease)

เกิดจากเชื้อรา Erythricium Salmonicolor กิ่งมีลักษณะคราบสีขาวแกมชมพูแห้งแข็งบนผิวเปลือก เมื่อใช้มีดถากเปลือกบริเวณที่เป็น จะพบเนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม

.

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum Zibethinum ทำลายช่อดอกในระยะช่อบาน ทำให้ดอกมีสีคล้ำ เน่าดำก่อนบาน มีราสีเทาดำปกคลุมเกสร กลีบดอก ทำให้ดอกแห้ง ร่วงหล่น

.

โรคราแป้ง (Powdery mildew)

เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. มักแพร่ระบาดในช่วงที่อากาศแห้งและเย็น เข้าทำลายในระยะดอกบานและติดผลอ่อน เชื้อรามีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง ปกคลุมกลีบดอกและผลอ่อน ทำให้แลดูขาวโพลน ต่อมาดอกและผลอ่อนจะร่วง ส่วนผลที่พัฒนาโตขึ้น จะมีเชื้อราสีขาวปกคลุมบาง ๆ อาจทำให้ผลชะงักการเจริญเติบโต ทำให้ผลผิวหยาบไม่สวย รสชาติอาจเปลี่ยนแปลง และมีเปลือกหนา

.

โรคโคนเน่า รากเน่า ผลเน่า และแคงเคอร์ที่กิ่ง

เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora โดยเชื้อราจะเข้าทำลายระบบราก และโคนต้น ปรากฎจุดฉ่ำน้ำ และมักมีน้ำเยิ้มออกมา เมื่อใช้มีดถากดูจะพบว่ามีน้ำไหลทะลักออกมา เนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม หากอาการเน่าลุกลาม จะทำให้ใบร่วง โดยเริ่มจากปลายกิ่ง ในที่อากาศชื้น เชื้อราสามารถแพร่ทางลม เข้าทำลายกิ่งและผลได้ โดยมักพบเชื้อรา Lasiodiplodia sp. ร่วมด้วยเสมอ

.

โรคใบติด ใบไหม้ ใบร่วง (Leaf blight, leaf fall)

เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

.

โรคใบจุดสนิม จุดสาหร่าย

เกิดจากสาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze พบ ในใบแก่ ลักษณะเป็นจุดฟูเสีเขียวแกมเหลือง ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้ม ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาด

.

ป้องกันและกำจัด โรคต่างๆของทุเรีน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:4744
ลำต้นเน่าแดง และเส้นใบแดง เพราะโรครา แก้ด้วย ไอเอส
ลำต้นเน่าแดง และเส้นใบแดง เพราะโรครา แก้ด้วย ไอเอส
ลำต้นเน่าแดง และเส้นใบแดง เพราะโรครา แก้ด้วย ไอเอส

โรคอ้อยต้นเน่าแดง เส้นใบแดง

ชื่อสามัญ Red rot of stem and mid rib
เชื้อสาเหตุ รา Glomerella tucumanensis

.

อาการ ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคจะไม่งอกหรืองอกช้า เส้นกลางใบเป็นแผลยาวสีแดง ภายในลำต้นเนื้ออ้อยเน่าเป็นสีแดงสลับขาวเป็นจ้ำซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของโรคอาจพบเส้นใยสีเทาของเชื้อรา
.
วิธีการแพร่ระบาด ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค หรือเชื้อราปลิวไปกับลมและฝน มักเข้าทำลายอ้อยแก่ ในระยะอากาศเย็น แห้งแล้ง
.
ให้รีบตัดอ้อยที่เริ่มเป็นโรคเร็วกว่ากำหนดและไม่ปล่อยให้อ้อยแก่อยู่ในแปลงนานเกินไป

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3567
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร โรคจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร โรคจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร โรคจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp. โดยในอดีตพบระบาดมากในระดับเล็กน้อย-รุนแรงมาก กับพันธุ์การค้าที่มีเนื้อสีขาว

.

อาการเริ่มแรกจะพบเข้าทำลายที่บริเวณกิ่งอ่อน หรือ ผลอ่อน เป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กสีน้ำตาลคล้ายสนิมเหล็ก ถ้าแผลขยายใหญ่จะพบอาการเป็นรอยปื้นไหม้ ถ้าพบเป็นที่ผทำให้ผลเสียหายเป็นตำหนิ ทำให้สูญเสียราคาและคุณภาพ

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3454
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส

โรคไหม้ (Rice Blast Disease)

พบทุกภาคในประเทศไทย ในข้าวนาสวน ทั้งนาปีและนาปรัง และข้าวไร่

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia oryzae.

.

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้อาการ

.

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

.

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง หรือ โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

.

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง อากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3824
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร

ระบบการผลิตเกษตรในปัจจุบันเกษตรได้พยายามพึ่งตนเองด้านปัจจัยการผลิต โดยการผลิตใช้เองตามศักยภาพและทรัพยากรที่มีในชุมชน เช่น ปุ๋ยหมัก น้ำหมัก เป็นต้น เมล็ดพันธุ์พืช นับเป็นปัจจัยการผลิตสำคัญที่บริษัทขนาดใหญ่ ได้ใช้เป็นเครื่องมือในการยึดครองระบบผลิตอาหารของโลก

.

การพึ่งพาตนเองของเกษตรกรรายย่อยด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ใช้เอง จึงยังเป็นเรื่องยุ่งยาก เทคนิคการเก็บเมล็ดพันธุ์พื้นบ้านโดยเกษตรกรเป็นองค์ความรู้ที่รวบรวมโดยชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ(กลุ่มเกษตรกรทำนา นาโส่)ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เพราะเป็นปัจจัยการผลิต ที่สำคัญที่นำไปสู่การพึ่งตนเอง และการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์

.

ประเภทของเมล็ดพันธุ์

.

การเก็บเมล็ดพันธุ์ให้ได้คุณภาพ ควรรู้จักประเภทของพืชผักพื้นบ้านเพื่อทำความเข้าใจกับธรรมชาติของพืชผัก ซึ่งแบ่งได้ ดังนี้

๑.ตระกูลมะเขือ ได้แก่ มะเขือเทศ มะเขือพวง มะอึก มะแว้ง เป็นต้น

๒.ตระกูลแตง ได้แก่ แตงโม แตงกวา แตงเทศ แตงไทย มะระ บวบหอม บวบเหลี่ยม ฟักเขียว ฯ

๓.ตระกูลกะหล่ำ ได้แก่ ผักกาดเขียวปลี กวางตุ้ง ผักกาดดอก คะน้า กะหล่ำปลี กวางตุ้ง ผักกาดดอก คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดาว บรอคโคลี่ ผักกาดหัว เป็นต้น

๔.ตระกูลถั่ว ได้แก่ ถั่วลันเตา ถั่วปากอ้า ถั่วฝักยาว ถั่วพุ่ม ถั่วแขก ถั่วพู ถั่วมะแฮะ เป็นต้น

.

การจัดการเมล็ดพันธุ์ตามลักษณะการเก็บเมล็ดพันธุ์

๑.กลุ่มที่ต้องเก็บเมื่อผลแห้ง ได้แก่ กลุ่มบวบ โดยมีวิธีการเก็บ คือเก็บผลแก่จัดสีน้ำตาล นำมาผึ่งลมให้แห้งสนิท และตากแดดให้แห้งสนิท และตากแดดให้แห้งอีก ๓-๕ วัน หลังจากนั้นเทออกจากฝัก ทำความสะอาด บรรจุซองหรือขวด ปิดฝาให้สนิท บันทึกรายละเอียดของพันธุ์เก็บใส่ตู้ หรือ ตู้เย็น

๒.กลุ่มพืชที่ต้องเก็บเมล็ดพันธุ์ช่วงระยะเริ่มสุกแก่ ได้แก่ ถั่วฝักยาว ข้าวโพด ถั่วลันเตา โดยมีวิธีการเก็บคือ มัดรวมกัน ผึ่งลมให้แห้ง ๘-๑๐ วัน กะเทาะออกจากฝัก ทำความสะอาด บรรจุในถุง หรือขวด ปิดฝาให้สนิท บันทึกรายละเอียดของพันธุ์

๓.กลุ่มพืชที่ต้องการเก็บเมล็ดเมื่อผลสุกแก่ ได้แก่ พริก มะเขือ ฟักทอง มะระ แตงโม ฟักเขียว ซึ่งมีวิธีการคือ ฟักเขียว ฟักทอง แตงโม บ่มไว้ก่อน อย่างน้อย ๑๕ วัน เมล็ดจะดูดสารอาหารจากผลมาเก็บไว้ให้เมล็ดเต็ม ส่วนพริก มะเขือ มะระ ไม่ต้องบ่ม เก็บมาผ่าเอาเมล็ดทันที เก็บไว้นานสารอาหารจะถูกดูดออกจากเมล็ด จากนั้นทำความสะอาดด้วยน้ำสะอาด นำไปตากแดดให้แห้ง ๒-๓ แดด ทำความสะอาดบรรจุในถุงกระดาษ บีบอากาศออกให้หมด ปิดปากถุงให้แน่น บันทึกรายละเอียดของพันธุ์

๔.กลุ่มพืชที่มีสารบางชนิดหุ้มห่อ เช่น มะเขือเทศ มะละกอ แตงกวา แตงร้าน เก็บพันธุ์โดยขูดเอาเมล็ดหมักไว้ ๑-๒ คืน ล้างด้วยน้ำเปล่าจนสะอาด แล้วนำเมล็ดไปตากแดด ๒-๓ แดด จนแห้งสนิท ทำความสะอาดอีกครั้ง จากนั้นบรรจุในซองกระดาษเขียนรายละเอียดของพันธ์ เก็บไว้ในตู้ หรือ ตู้เย็น

.

หมายเหตุ : เมล็ดพันธุ์ที่เก็บในช่องแช่แข็งของตู้เย็นสามารถเก็บได้นานถึง ๔ ปี แต่ถ้าเก็บในช่องธรรมดาเก็บไว้ได้นาน ๒ ปี

.

วิธีการปลูกผักเก็บเมล็ดพันธุ์

๑.พืชตระกูลเถา ปลูกหลุมละไม่เกิน ๒ เถา แต่ละเถาไม่ควรเกิน ๒ ลูก

๒.พริกมะเขือ ให้ปลูกห่างจากพันธุ์อื่นๆ เนื่องจากง่ายต่อการผสมพันธุ์ และ กลายพันธุ์

๓.ข้าวโพด ปลูกให้ห่างจากข้าวโพดพันธุ์อื่นๆ ประมาณ ๕๐๐ เมตร

.

ลักษณะการเก็บเมล็ดพันธุ์ผัก

๑.เก็บคาฝักหรือเก็บฝักแห้ง เช่น ข้าวโพด บวบ น้ำเต้า แตง แตงกวา แตงโม ผักกาด ผักชี กวางตุ้ง คะน้า สลัด

๒.เก็บสุกแก่ เช่น พริกมะเขือ พืชตระกูลถั่ว มะเขือเทศ ทานตะวัน มะรุม แมงลัก

๓.เก็บทั้งต้น เช่น สะระแหน่ ผักชีฝรั่ง กระเทียม หัวหอม

.

วิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์บางชนิด

๑.มะละกอ เก็บผลสุกแก่ นำเมล็ดพันธุ์แช่น้ำเกลือ เหมือนกับการคัดข้าวพันธุ์ ตากในที่ร่ม บรรจุขวด

๒.สลัด เก็บเมื่อสุกจนแห้ง บรรจุขวดที่แห้งแล้วนำไปเก็บไว้ในร่ม

๓.พืชตระกูลถั่ว เก็บเมื่อแก่จัด แล้วแกะเมล็ดออก เก็บไว้ในขวดเพื่อป้องกันมอดหรือแมลง

๔.มะเขือ เก็บเมื่อผลสุกเต็มที่ บรรจุเมล็ดเก็บไว้ในขวด และนำไปเก็บไว้ในที่ร่ม

๕.หัวหอมกระเทียม ทิ้งไว้ให้แก่จัดจนคาแปลงเพื่อป้องกันหัวลีบแล้วนำมามัดรวมกันแขวนไว้ในที่ร่ม

.

เทคนิคการป้องกันแมลงทำลายเมล็ดพันธุ์

๑.เมล็ดถั่วพันธุ์ต่างๆ ๑ กิโลกรัม ใช้เมล็ดละหุ่ง บด ๔๐ กรัม น้ำมันพืช ๒ ช้อนชา คลุกเคล้าให้เข้ากัน

๒.เมล็ดพืชทั่วไป

สูตรที่ ๑ ใบยี่โถหั่นฝอยแห้ง ๔๐ กรัม ต่อเมล็ดพืช ๑ กิโลกรัม

สูตรที่ ๒ ขมิ้นชันป่นแห้ง ๕๐ กรัมต่อเมล็ดพืช ๑ กิโลกรัม

สูตรที่ ๓ ปูนขาว ๕๐ กรัม ต่อเมล็ดพืช ๑ กิโลกรัม

.

เทคนิคการป้องกันความชื้นเมื่อเก็บเมล็ดพันธุ์

๑.วิธีใช้ข้าวคั่วดูดความชื้น โดยการคั่วข้าวสารแห้ง ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น แล้วใส่ก้นภาชนะ ประมาณ ๑ ใน ๔ วางกระดาษแข็งบนข้าวคั่ว จากนั้นใส่เมล็ดพันธุ์บนกระดาษปิดฝาให้สนิท

๒.วิธีใส่เศษถ่าน โดยวางเศษถ่านรองก้นภาชนะประมาณ ๑ ใน ๔ วางกระดาษแข็งใส่เมล็ดพันธุ์ปิดฝาให้สนิท

๓.วิธีใช้ขี้เถ้าใหม่ โดยการนำขี้เถ้าออกจากเตา(ขี้เถ้าที่เหลือจากการทำอาหารใหม่ๆ)นำไปร่อนให้เหลือ ขี้เถ้าสะอาดใส่ก้นภาชนะลักษณะเดียวกันกับเศษถ่าน ใส่เมล็ดและปิดฝาให้สนิท

.

อุปกรณ์เก็บ/ไล่/ดูดความชื้น

๑.ปูนปลาสเตอร์ /ถ่านหุงข้าว/ขี้เถ้า

๒.ปี๊บ

๓.เมล็ดพันธุ์

.

ภาชนะบรรจุเมล็ดพันธุ์

ภาชนะที่ใช้บรรจุเมล็ดพันธุ์มีหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมทั่วไปมี ๑๔ ประเภทได้แก่

๑.ขวดโหล

๒.ขวดสีทึบ

๓.ปี๊บ

๔.ซองกระดาษ

๕.ถุงซิป

๖.กระบอกไม้แห้ง

๗.ซองอะลูมินั่ม

๘.โอ่ง

๙.กระป๋อง

๑๐.หม้อดิน

๑๑.ถุงตาข่าย

๑๒.ถุงผ้า

๑๓.ถุงกระดาษ

๑๔.ผลน้ำเต้าแห้ง

.

การเก็บเมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสม

๑.บรรจุใส่ขวดแห้ง เช่น ถั่วพุ่ม ถั่วดำ สลัด ผักชี ผักกาด

๒.บรรจุขวดสีชา เช่น ฟักทอง น้ำเต้า พริก มะเขือ

๓.ตากไว้ในที่ร่ม เช่น หัวหอม กระเทียม ข้าวโพด

.

ข้อสังเกต

๑.ภาชนะบรรรจุเมล็ดพันธุ์ควรเก็บในพื้นที่ที่ไม่มีแดดส่องถึง

๒.ขวดเก็บเมล็ดพันธุ์ควรมีสีชา ดีที่สุด

๓.โอ่ง หรือ ไหดิน บรรจุเมล็ดพันธุ์ให้เก็บไว้ในที่แห้ง

๔.ภาชนะบรรจุเมล็ดพันธุ์ใส่ไว้ในตู้เย็น

.

ที่มาข้อมูลจาก

หนังสือเกษตรกรรมธรรมชาติ ฉบับที่ ๑๗/๒๕๕๕ หน้า ๗

อ่าน:3766
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?

อันนี้เล่าจากประสบการณ์ตรงครับ
.
ปกติบริษัทเมล็ดพันธุ์เค้าทำขายเป็นลูกผสม f1อยู่แล้ว และแน่นอนว่าถ้านำไปปลูกลักษณะด้อยที่มาจากต้นพ่อหรือแม่จะแสดงออกมาเรื่อยๆ หลายๆสิบลูกอาจจะมีเข้าท่าสักลูกแต่จะไม่เหมือนกับที่ปลูกจากเมล็ด f1 แน่นอน ทั้งๆที่รู้แต่ก็อยากลองปลูกดู เลยทดลองเก็บเมล็ดจากที่กินเมลอนลูกผสมพันธุ์หนึ่ง(ขอสงวนชื่อหน่อยนะครับ)เนื้อสีส้มๆ ปลูกในโรงเรือนพลาสติกขนาดเล็ก มุ้งตาถี่สี่สิบเมส ให้ปุ๋ยให้น้ำแบบน้ำหยดตั้งเวลาอัตโนมัติ
.
ครั้งแรกปลูกทั้งหมดยี่สิบต้น สภาพต้นแข็งแรงดีติดลูกทุกต้นแต่ทรงผลออกมาพิลึกพิลั่น ทั้งแบบเป็นพูๆคล้ายฟักทอง ออกตะปุ่มตะป่ำก็มี แต่หวานทุกลูก หอมบ้างไม่หอมบ้าง แต่มีอยู่ลูกหนึ่งกลิ่นดี ความหวานดี น้ำหนัก 1.5 กิโลทรงลูกเหมือนไข่ไก่ จากเดิมทรงกลม เก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ต่อไป
.
ครั้งที่สองจำนวนต้นเท่าเดิม รุ่นนี้เริ่มไม่แข็งแรง อ่อนแอกับโรคราน้ำค้างมาก ตายไปสอง แต่ก็ประคับประคองจนได้เก็บกิน น้ำหนักต่อลูกโดยเฉลี่ยลดลง ความหวานเหมือนเดิม ความหอมลดลง ทรงลูกออกจะป้านๆหน่อย คัดไว้หนึ่งลูกเก็บเมล็ดไว้ต่อไป
.
ครั้งที่สามปลูกเท่าเดิม รุ่นนี้เพลี้ยไฟกับแมลงหวี่ขาวเยอะเพราะปลูกตอนหน้าร้อน เล่นเอาใจเสียเหมือนกัน ทั้งยาเคมี ทั้งชีวภัณฑ์ ใช้หมด เหลือรอดได้กินสี่ห้าลูก ตอนจะกินแสนเสียดาย ปลูกตั้งสองเดือนกว่าแต่ตอนกินแค่แป็บเดียว รุ่นนี้สีลูกเพี้ยน ตอนสุกมีทั้งสีเหลือง สีขาว สีเขียว สีขาวปนเขียวปนเหลืองมั่วไปหมด น้ำหนักลูกเหลือเจ็ดแปดขีด ความหวานลดลงมาก แต่กลิ่นหอมหายไปกลายเป็นกลิ่นขี้ไต้แทน เปลือกหนามาก เนื้อจากกรอบๆรุ่นนี้แข็งยังกับกินแฟงดิบ จากเมลอนหนึ่งลูก พยายามให้ออกลูกออกหลานหวังว่าจะเจออภิชาติเมลอนเข้าสักวันเป็นอันต้องจบลงในรุ่นนี้เอง
.
เอามาเล่าสู่กันฟังครับ กับผลไม้ลูกกลมๆที่ไม่รู้มีเสน่ห์อะไรนักหนา บ้าเก็บเมล็ดปลูกเข้าไปได้ยังไงไม่รู้กี่รอบ ทั้งลุ้น เหนื่อย แต่สนุกดีครับ ตอนลูกได้อายุเก็บผลทีนั่งลูบนั่งคลำดูแล้วดูอีก มันภูมิใจว่าปลูกมากับมือเชียวนะเนี่ย

.

ข้อมูลได้จาก สมาชิกหมายเลข 1001408 pantip.com

อ่าน:3472
ปวยเล้ง ทานเป็นมีประโยชน์สูงมาก ทานไม่เป็น เป็นได้ทั้งเก้าต์ ทั้งนิ่ว !
ปวยเล้ง ทานเป็นมีประโยชน์สูงมาก ทานไม่เป็น เป็นได้ทั้งเก้าต์ ทั้งนิ่ว !

ปวยเล้งมีทั้งธาตุเหล็กบำรุงเลือด แคลเซียมบำรุงกระดูก โพแทสเซียมที่ช่วยควบคุมการเต้นของหัวใจ และความดันเลือด มีวิตามินซีป้องกันหวัด วิตามินบี 2 ช่วยในการเจริญเติบโต บำรุงเล็บ ผิวหนัง ผม มีกรดโฟลิกที่จำเป็นต่อการสร้างสารที่ให้ความสุขอย่างซีโรโทนิน ที่มีส่วนสำคัญในการควบคุมอารมณ์ไม่ให้หงุดหงิดงุ่นง่าน รวมถึงช่วยลดอาการนอนไม่หลับได้ ช่วยบำรุงสายตา กระดูก และผิวพรรณ

.

มีงานวิจัยว่า ปวยเล้ง ช่วยบำรุงสมอง ลดโอกาสในการเกิดโรคสมองเสื่อม หรืออัลไซเมอร์ได้ และยังช่วยป้องกันโรคมะเร็ง เบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้อีกด้วย

.

แม้ว่าปวยเล้งจะมีประโยชน์มากมาย แต่ผู้ที่เป็นโรคเกาต์ หรือโรคนิ่ว อาจจะต้องหลีกเลี่ยงการทานปวยเล้ง หรือควบคุมการทานไม่ให้มากเกินไป เพราะปวยเล้งมีกรดออกซาลิคอยู่มากพอสมควร ซึ่งเมื่อรวมตัวกับแคลเซียม ก็อาจเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคนิ่วได้ และอาจทำให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็ก และโฟเลตได้น้อยลง นอกจากนี้ยังมีกรดยูริกหรือทำให้อาการของโรคเกาต์แย่ลงได้

.

การทานปวยเล้ง ควรจะลวกน้ำร้อนก่อน และนำมาปรุงอาหาร เพราะความร้อนจะช่วยทำลายกรด ออกซาลิกได้มากถึง 80% จากนั้นเรามาทำอาหารทาน ก็ได้ทั้งประโยชน์ที่มาก และความอร่อยตามความชอบได้เลย

อ่าน:3467
โรคราชนิดต่างๆในลำไย ราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส
โรคราชนิดต่างๆในลำไย ราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส
โรคราชนิดต่างๆในลำไย ราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส

โรคต่างๆของลำไย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ไม่ว่าจะเป็นราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ราน้ำฝน โรครากเน่าโคนเน่า โรคต่างๆเหล่านี้ มีสาเหตุมากจากเชื้อรา ต่างชนิดกัน สามารถป้องกันและกำจัดได้ด้วย ไอเอส

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3478
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 349 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เกษตรเตือนภัยโรคพืช โรคเน่าคอดินพืช-ผัก
Update: 2564/08/12 22:08:07 - Views: 3545
ที่สุดของ ปุ๋ยเร่งผล สำหรับพืชออกผลทุกชนิด ให้ โพแทสเซียม มากถึง 40% เร่งผลโต น้ำหนักดี โปรดอ่านวิธีใช้ ; ไลน์ @FarmKaset
Update: 2565/02/17 00:18:03 - Views: 3778
โรคใบจุดสีม่วงหอมใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม : PURPLE BLOTCH DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 05:03:12 - Views: 3503
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในการควบคุมวัชพืชในสวนแตงโม
Update: 2567/02/13 09:13:23 - Views: 3531
แมลงศัตรูพืช ในมันสำปะหลัง เราป้องกันและกำจัดได้อย่างไรบ้าง?
Update: 2563/06/14 16:43:43 - Views: 3548
โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนใบไหม้ การดูแลบำรุงรักษา โรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
Update: 2564/12/06 22:28:36 - Views: 3566
การรดน้ำให้ต้นไม้ พืชที่เราปลูก ต้องรดน้ำมากน้อยเท่าไร จึงจะเหมาะสม
Update: 2565/08/16 18:22:10 - Views: 3647
ป้องกัน รักษา ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป โรคยอดไม้กวาดทุเรียน
Update: 2564/09/30 01:30:40 - Views: 3883
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน อโวคาโด เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/25 14:58:09 - Views: 3407
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 5141
โรคโกโก้ โกโก้ใบเหลือง โกโก้ใบไหม้ แอนแทรคโนสโกโก้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
Update: 2564/08/28 21:47:30 - Views: 3739
โรคราแป้งยางพารา
Update: 2564/08/22 21:55:07 - Views: 3508
การควบคุมเพลี้ยอ่อนในสวน: วิธีและกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพ
Update: 2566/11/22 13:09:22 - Views: 3453
ผู้ปลูกดอกเบญจมาศ ในช่วงฝนตกต่อเนื่อง เตือน ระวังโรคใบจุด ในดอกเบญจมาศ
Update: 2566/11/07 14:17:56 - Views: 3408
การใช้ Metalaxyl ผสม Starfer Fertilizer 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดโรคพืชในต้นพุทรา
Update: 2567/02/29 14:56:15 - Views: 3469
ฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด สารปรับปรุงดิน ฟื้นระบบราก ปลดปล่อยธาตุอาหาร เพิ่มผลผลิต สำหรับต้นแตงไทย
Update: 2567/02/13 09:28:41 - Views: 3470
การป้องกันกำจัด โรคราสีชมพูในทุเรียน
Update: 2566/05/15 09:52:19 - Views: 3478
การรับมือกับโรคเชื้อราในต้นผักสลัด: วิธีป้องกันและการดูแลเพื่อสวนผักที่แข็งแรง
Update: 2566/11/18 09:48:07 - Views: 3599
ทุเรียน ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/25 11:33:37 - Views: 3579
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
Update: 2564/08/09 10:19:41 - Views: 3702
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022