[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ

โรคใบไหม้ในหน้าวัว และโรคใบไหม้ใน สาวน้อยปะแป้ง
โรคใบไหม้ในหน้าวัว และโรคใบไหม้ใน สาวน้อยปะแป้ง
โรคใบไหม้ในหน้าวัว และโรคใบไหม้ใน สาวน้อยปะแป้ง
โรคใบไหม้ในหน้าวัว และโรคใบไหม้ใน สาวน้อยปะแป้ง สาเหตุของโรค และ การป้องกันกำจัดโรค
อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
#ฟาร์มเกษตร #โรคใบไหม้หน้าวัว #โรคใบไหม้สาวน้อยปะแป้ง
อ่าน:5239
มันสำปะหลังอินทรีย์ จ.อุบลราชธานี พืชยกระดับรายได้เกษตรกร มีตลาดรองรับ
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 อุบลราชธานี (สศท.11) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า จังหวัดอุบลราชธานีนับเป็นแหล่งผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากข้อมูลของสำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี (ณ 31 มีนาคม 2564) พบว่า มีพื้นที่ปลูก 14_048 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 13_978 ไร่ ผลผลิตรวม 48_224 ตัน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมส่งเสริมการเกษตร และกรมวิชาการเกษตร ผสานความร่วมมือกับภาคเอกชนให้การสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต การใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิต รวมถึงการตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ นอกจากนี้ มีเกษตรกรบางพื้นที่ได้เข้าร่วมโครงการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ ของบริษัทที่เข้ามาส่งเสริมภายใต้การทำ Contract Farming เนื่องจากเกษตรกรมีแรงจูงใจในเรื่องราคาที่ให้ผลตอบแทนดีกว่ามันสำปะหลังทั่วไป และมีตลาดรองรับที่แน่นอน

จากการติดตามสถานการณ์การผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ปัจจุบันเกษตรกรหันมาปลูกมันสำปะหลังอินทร์กันมากขึ้น โดยบริษัทอุบลไบโอเอทานอล จำกัด (มหาชน) ได้ทำ Contract Farming กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร และอำนาจเจริญ ใน ?โครงการปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์? ตั้งแต่ปี 2559 โดยรับซื้อผลผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์จากเกษตรกรทั้งหมด ปัจจุบันมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 939 ราย พื้นที่ปลูก 5_656 ไร่ ดำเนินการมาแล้วทั้งหมด 5 รุ่น ซึ่งผลผลิตของเกษตรกรทั้ง 5 รุ่น ได้ออกสู่ตลาดช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมาประมาณ 21_000 ตัน สำหรับปี 2564 กำลังอยู่ในช่วงรับสมัครรุ่นที่ 6 และกำหนดการฝึกอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร สำหรับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี กรมวิชาการเกษตร ได้ร่วมมือกับบริษัทฯ ในการลงพื้นที่ ให้ความรู้กับเกษตรกรในเรื่องการผลิต การดูแล การป้องกันโรคแมลง การปรับปรุงบำรุงดิน และการใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิต รวมถึงการตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์

สำหรับราคามันสำปะหลังอินทรีย์เชื้อแป้ง 25% ที่บริษัทฯ ประกันราคาอยู่ที่ 3.25 บาท/กก. ซึ่ง สศก. โดย สศท.11 อุบลราชธานี ได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษาต้นทุน ผลตอบแทน และการตลาดของสินค้ามันสำปะหลังอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง พบว่า ต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ยอยู่ที่ 7_039 บาท/ไร่/รอบการผลิต เนื่องจากต้องจ้างแรงงานคนในการกำจัดวัชพืชจึงทำให้มีค่าแรงสูง ต้นทุนการผลิตจึงสูงกว่ามันสำปะหลังทั่วไป เกษตรกรนิยมปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม ระยะเวลาเพาะปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 8 ? 10 เดือน เก็บเกี่ยวช่วงเดือนมีนาคมของปีถัดไป ผลผลิตเฉลี่ย 3_800 กก./ไร่ ผลตอบแทน 12_350 บาท/ไร่/รอบการผลิต ผลตอบแทนเฉลี่ยสุทธิ (กำไร) 5_311 บาท/ไร่/รอบการผลิต ซึ่งขณะนี้ อยู่ระหว่างการเก็บเกี่ยวผลผลิตและเกษตรบางส่วนเริ่มเตรียมดินสำหรับทำการเพาะปลูกรอบถัดไป

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้สร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ โดยเน้นย้ำว่าปัจจุบันได้มีการแปรรูปมันสำปะหลังอินทรีย์เป็นแป้งออร์แกนิค ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากแป้งออร์แกนิคสามารถแปรรูปเป็นอาหารแห่งอนาคต (Future Food) และอาหารเพื่อสุขภาพได้หลากหลาย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในการเป็นส่วนผสมอาหารพรีเมี่ยม จึงนับว่าเป็นโอกาสดีของเกษตรกร ทั้งนี้ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ ได้ผ่านมาตรฐานอินทรีย์ไทย และมาตรฐานอินทรีย์สากล ได้แก่ 1) มาตรฐาน มกษ 9000-2552 หรือ Organic Thailand 2) มาตรฐานอินทรีย์ USDA-NOP (สหรัฐอเมริกา) 3) มาตรฐานอินทรีย์ EU (ยุโรป) 4) มาตรฐานอินทรีย์ JAS (ญี่ปุ่น) 5) มาตรฐานอินทรีย์ Korean (เกาหลี) และ 6) มาตรฐานอินทรีย์ China (จีน) จึงเป็นเครื่องการันตีและสร้างความมั่นใจกับผู้ค้าได้ว่า ผลผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ของเกษตรกรได้มาตรฐานและมีคุณภาพสูง

ผู้อำนวยการ สศท.11 กล่าวเพิ่มเติมว่า การปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ให้ได้คุณภาพนั้น เกษตรกรต้องใช้ความอดทน พิถีพิถันในทุกขั้นตอน และต้องจำกัดพื้นที่ปลูกเพื่อควบคุมมาตรฐาน รวมทั้งต้องมีการวางแผนล่วงหน้าช่วงเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้เปอร์เซ็นต์แป้งตามต้องการ ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการปรับเปลี่ยน 2 ? 3 ปี จึงจะได้ผลผลิตที่เป็นอินทรีย์ผ่านมาตรฐาน ทั้งนี้ หากเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจข้อมูลการผลิตและการตลาดมันสำปะหลังอินทรีย์ หรือสนใจเข้าร่วมโครงการฯ สามารถขอคำปรึกษาได้ที่คุณกัณฑ์พร กรรณสูต ตำแหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายประสานงานภาครัฐ บริษัท อุบลไบโอเอทานอล จำกัด (มหาชน) โทร 08 9962 6544

ข่าว : ส่วนประชาสัมพันธ์ / ข้อมูล : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 อุบลราชธานี

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:5231
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน หนึ่งในแมลงพาหะตัวร้ายที่แพร่กระจายเชื้อโรคไปสู่พืชผักและทำลายด้วยตัวมันเองได้ ซึ่งเพลี้ยอ่อนมีกระจายไปทั่วโลกมากกว่า 4_000 ชนิด และมีจำนวน 250 ชนิดที่คอยก่อกวนพืช โดยใช้ปากที่แหลมคมเจาะลำต้นอ่อนและโคนใบพืชเพื่อดูดอาหารจากเซลล์พืช จนทำให้ใบพืชผักโดนทำลายจนเสียหาย เพราะสามารถระบาดได้อย่างรวดเร็วและสร้างความเสียหายให้แก่พืชทั่วประเทศ

การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชนั้น เป็นเรื่องใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม จนพวกเราที่ประกอบอาชีพเกษตรกรต่างไม่อยากจะพบเจอ โดยเฉพาะกับแมลงศัตรูที่มีขนาดเล็กมากอย่างเพลี้ยอ่อนนี้ ถ้าเราไม่สังเกตอาจจะมองไม่เห็น ยิ่งเป็นเกษตรกรมือใหม่ด้วยแล้วอาจจะพลาดได้ เพราะแมลงขนาดที่เล็กและแพร่พันธุ์ได้เก่งชนิดนี้กลับสร้างความเสียหายแก่พืชผลเป็นอย่างมาก ทำให้การลงทุนทั้งเงินและแรงของเกษตรกรต้องขาดทุนไปทันที

เพลี้ยอ่อนเป็นแมลงตัวจิ๋ว ที่มีความยาวไม่เกิน 4 มิลลิเมตร หัวเล็กเท่าหัวเข็ม รูปร่างรีและโค้งมนป่องด้านท้าย สามารถออกลูกได้วันละ 10-11 ตัว สามารถออกลูกได้สูงสุดถึงตัวละ 450ตัว ทำให้มีการแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็วและเกิดความเสียหายลุกลามได้ เพลี้ยชนิดนี้จะสามารทำลายพืชได้ทุกระยะเน้นทำลายจุดสำคัญของพืช ทั้งลำต้น ใบ ดอก ผล โดยเจาะกินน้ำหวานที่ใต้ใบที่มันอาศัยอยู่ โดยทั่วไปเพลี้ยผัก จะมีจำนวนน้อยลงเมื่อเริ่มมีฝนเข้ามาชะล้างและมีภูมิอากาศมากขึ้น และจะมีจำนวนมากขึ้นในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น

การควบคุมและกำจัดเพลี้ยอ่อนนั้น เริ่มจากการหมั่นสำรวจพืชผลเพื่อจะได้สังเกตเห็นว่ามีเพลี้ยอ่อนเกาะติดพืชผลหรือไม่ และป้องกันด้วยการขยันรดน้ำ พ่นน้ำที่ยอดผัก เพื่อทำลายถิ่นที่อยู่ของเพลี้ยที่อาศัยใต้ใบ เป็นการชะล้างออกในระดับหนึ่ง และนำแมลงห้ำที่นักล่า อย่างตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ด้วงเต่าลายสมอ ด้วงเต่าลายหยัก และด้วงเต่าอื่นๆ รวมทั้ง ตัวอ่อนแมลงวันดอกไม้ มาปล่อยไว้ในแปลงเพาะปลูก เพื่อห้ำหั่นกับเพลี้ยตั้งแต่ต้น และนำแมลงเบยอย่างแตนเบียนดักแด้ มาปล่อยไว้ด้วย ก่อนที่จะมีการระบาด และหากมีการระบาดแล้ว ต้องใช้จุลินทรีย์จากเชื้อรา เช่น บิวเวอเรียหรือเม็ตตะไรเซี่ยม มาทำลายทันทีก่อนที่จะระบาดหนัก หรือจะนำสมุนไพรไทยเราอย่าง หางไหลสัดส่วน 1 กิโลกรัมผสมกับน้ำ 20 ลิตร เพื่อฉีดพ่นกำจัด หากมีความจำเป็นเร่งรีบอาจจะต้องใช้สารเคมีเข้าช่วย แต่อยากให้เลือกเป็นวิธีการสุดท้ายครับ โดยให้พ่นในสัดส่วนที่ข้างกระป๋องระบุไว้เท่านั้นนะครับ เพื่อไม่ให้เกิดความเป็นพิษต่อพืชผล ตัวเรา และสิ่งแวดล้อมครับ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
#แอนแทรคโนสทุเรียน #โรคทุเรียน #ใบจุดทุเรียน
อ่าน:5168
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:5111
ยากำจัดโรคใบจุด ใน กระหล่ำปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ยากำจัดโรคใบจุด ใน กระหล่ำปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ยากำจัดโรคใบจุด ใน กระหล่ำปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
กะหล่ำปลีเป็นผักยอดนิยมที่อ่อนแอต่อโรคต่างๆ ทั้งโรครา โรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อรา ปัญหาเหล่านี้ไม่เพียงแต่ส่งผลต่อคุณภาพและรูปลักษณ์ของกะหล่ำปลีเท่านั้น แต่ยังทำให้อายุการเก็บรักษาลดลง ซึ่งนำไปสู่ความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่สำคัญสำหรับเกษตรกร อย่างไรก็ตาม ด้วยการวิจัยและการพัฒนาที่กว้างขวาง จึงได้มีการค้นพบโซลูชันใหม่ที่มีชื่อว่า IS IS เป็นสารอินทรีย์ที่ได้จากส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด ซึ่งช่วยยับยั้งเชื้อรา โรค และใบจุดในกะหล่ำปลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้จะสำรวจเทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมเบื้องหลัง IS และประโยชน์มากมายสำหรับทั้งเกษตรกรและผู้บริโภค

วิทยาศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลัง IS:

IS ทำงานโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมบนพื้นผิวของใบกะหล่ำปลีที่ไม่เหมาะสำหรับการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเชื้อรา ด้วยการเลือกสารดับเพลิงที่มีประสิทธิภาพสูงอย่างระมัดระวัง IS จึงควบคุมสภาวะที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของเชื้อรา ซึ่งจะช่วยยับยั้งการพัฒนาของเชื้อรา ด้วยการกำหนดเป้าหมายที่พื้นผิวของใบพืช IS ช่วยให้มั่นใจได้ถึงประสิทธิภาพสูงสุดและยึดเกาะได้ดีกว่า ให้การป้องกันการติดเชื้อราที่เหนือกว่า

ประโยชน์ของ IS:

ออร์แกนิกและปลอดภัย: IS มาจากส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด ทำให้เป็นโซลูชันที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ใช้ รวมถึงเกษตรกร คนงาน และผู้บริโภค

การป้องกันโรค: IS ยับยั้งเชื้อรา โรค และใบจุดในกะหล่ำปลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ IS กับพืชกะหล่ำปลี เกษตรกรสามารถลดการติดเชื้อราเหล่านี้ได้อย่างมาก ซึ่งนำไปสู่พืชผลที่มีสุขภาพดีและมีคุณภาพสูงขึ้น

อายุการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ้น: การติดเชื้อราอาจทำให้กะหล่ำปลีเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็วส่งผลให้อายุการเก็บรักษาสั้นลง IS ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกัน ป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อรา และยืดอายุความสดและอายุของกะหล่ำปลีที่เก็บเกี่ยว

เพิ่มผลผลิตพืช: โดยการลดผลกระทบของการติดเชื้อรา IS ช่วยให้พืชกะหล่ำปลีเจริญเติบโตได้อย่างเหมาะสม สุขภาพพืชที่ดีขึ้นและความมีชีวิตชีวานำไปสู่ผลผลิตพืชที่สูงขึ้นซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรในเชิงเศรษฐกิจ

ทางออกที่ยั่งยืน: ด้วยธรรมชาติอินทรีย์และองค์ประกอบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม IS สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่ยั่งยืน ส่งเสริมการใช้ส่วนผสมจากธรรมชาติและลดการพึ่งพาสารเคมีสังเคราะห์ ส่งเสริมระบบนิเวศเกษตรกรรมที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น

บทสรุป:

IS สารอินทรีย์ที่สกัดจากส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด เป็นโซลูชั่นที่ก้าวล้ำในการยับยั้งเชื้อรา โรค และใบจุดในกะหล่ำปลี ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงและการเลือกใช้สารดับเพลิงอย่างระมัดระวัง IS สร้างสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของเชื้อราบนผิวใบกะหล่ำปลี เทคโนโลยีนี้ไม่เพียงแต่ให้การควบคุมการติดเชื้อราอย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น แต่ยังช่วยเพิ่มการยึดเกาะกับพื้นผิวของพืชอีกด้วย ด้วยคุณประโยชน์มากมาย รวมถึงความปลอดภัย การป้องกันโรค อายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ้น ผลผลิตพืชที่เพิ่มขึ้น และความยั่งยืน IS นำเสนอนวัตกรรมที่มีแนวโน้มสำหรับอุตสาหกรรมการเกษตร การนำระบบ IS มาใช้ เกษตรกรสามารถปกป้องพืชกะหล่ำปลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทำฟาร์มที่ดีต่อสุขภาพและยั่งยืนยิ่งขึ้น

ไอเอส ขนาด 3 ลิตร
อัตรส่วนการใช้ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
1 แกลลอน ผสมน้ำได้ 1200 ลิตร ใช้ได้ 15 ไร่


สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
การคำนวณสูตรปุ๋ย เป็นการหาอัตราส่วนของการใช้แม่ปุ๋ย 3 สูตร เพื่อผสมเป็นปุ๋ยสูตรใดๆ ตามต้องการ ปุ๋ยสูตรต่างๆที่มีขายในท้องตลาด เกิดจากการใช้แม่ปุ๋ยต่างๆ ผสมเป็นสูตรที่กำหนด เพื่อให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การนำไปใช้ โดยหลักการง่ายๆแล้ว สูตรปุ๋ยจะถูกออกแบบมาเพื่อให้บำรุงพืชตามช่วงการเจริญเติบโตของพืช ในช่วงอายุต่างๆกัน

เม่ปุ๋ยที่นิยมใช้มากที่สุดจะมีอยู่ 3 สูตรดังนี้
1. แม่ปุ๋ย N หรือไนโตรเจน ใช้ สูตร 46-0-0 มีชื่อเรียกว่า ปุ๋ยยูเรีย
2. แม่ปุ๋ย P หรือฟอสฟอรัส ใช้ สูตร 18-46-0 มีชื่อเรียกว่า DAP ปุ๋ยแด๊ป
3. แม่ปุ๋ย K หรือโพแทสเซียม ใช้ สูตร 0-0-60 มีชื่อเรียกว่า MOP ปุ๋ยม็อป

ตัวเลขข้างกระสอบปุ๋ย 3 หลัก จะจัดเรียงธาตุอาหารเป็น
N-P-K = ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โพแทสเซียม ตามลำดับ

จะเห็นได้ว่าตัวเลขสูตรในแม่ปุ๋ย มีเปอร์เซ็นของธาตุอาหารไม่เท่ากันในแต่ละหลัก การผสมปุ๋ยเป็นสูตรต่างๆ จึงไม่ได้ตรงไปตรงมา เช่น การเอาแม่ปุ๋ยทุกสูตร ในปริมาณเท่ากันทั้ง 3 สูตร มาผสมกัน จะไม่ได้ปุ๋ยสูตรเสมอ ที่มีธาตุอาหารทุกธาตุเท่าๆกัน เช่นสูตร 15-15-15 ไม่ได้หมายความว่า จะเอาแม่ปุ๋ยต่างๆมาอย่างละเท่าๆกัน แล้วเติม ฟิลเลอร์ลงไป หลายๆคนเข้าใจผิดในจุดนี้

แม่ปุ๋ย P หากเลือกให้ DAP ซึ่งเป็นสูตร 18-46-0 ก็เป็นตัวเลขที่ทำให้ต้องถอดค่าออกมาสองรอบ เนื่องจากใน DAP เป็นแม่ปุ๋ยฟอสฟอรัสก็จริง แต่ก็มี ไนโตรเจนปนอยู่ด้วย 18 เปอร์เซ็นต์ เราจึงต้องถอดอัตราส่วนของ ฟอสฟอรัสที่ได้ และถอดอัตราส่วน ไนโตรเจนที่ได้ออกมากอีกรอบ แล้วนำอัตราส่วน ไนโตรเจนที่ได้จาก DAP ไปร่วมกับอัตราส่วน ไนโตรเจนที่ได้จาก ยูเรีย อีกรอบหนึ่ง ถึงจะได้ค่า N หรือไนโตรเจนรวม ที่ถูกต้อง

N-P-K หมายความง่ายๆอย่างไร
จำแบบง่ายๆ
ปุ๋ย N สูง ใช้ เร่งโต เพิ่มความเขียว แตกยอดผลิตใบสร้างเนื้อเยื่อ
ปุ๋ย P สูง ใช้ ส่งเสริมระบบราก เร่งการออกดอก
ปุ๋ย K สูง ใช้ เร่งผลผลิต ผลโต น้ำหนักดี และยังส่งเสริมภูมิต้านทานด้วย

ถาม: เวลาต้องการเร่งโต เร่งเขียว ทำไมไม่ใส่ 46-0-0 ไปเลยล่ะ ก็ในเมื่อต้องการให้มันโต?
ตอบ: จะดีกว่าไหม ในต้องที่เร่งโต เราส่งเสริมระบบรากไปด้วยพร้อมกัน พืชจะได้กินอาหารได้ดีขึ้น โตได้มากขึ้นกว่าใส่ยูเรียเพียวๆ พร้อมกันนั้นก็ให้โพแทสเซียมนิดหน่อย จะได้ต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น จึงมีการคิดค้นปุ๋ย 16-16-8 หรือ 16-8-8 หรือ 15-15-15 ขึ้นมา ใส่แล้วได้ผลดีกว่าใช้แม่ปุ๋ยเพียวๆ หรืออย่างปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เป็นสูตร 20-20-20 เป็นตัวเลขที่สูงมาก ใช้แม่ปุ๋ยหลัก Urea_ DAP_ MOP ผสมไม่ได้ เพราะความเข็มข้นไม่เพียงพอ ปุ๋ยสูตรลักษณะนี้ เกิดจากการผสมจากแม่ปุ๋ยอื่นๆที่หาซื้อได้ยากเช่น MAP โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟส หรืออื่นๆ

ถาม: ตอนเร่งให้ผลโต น้ำหนักดี ทำไมไม่ใช้ 0-0-60 ไปเลยล่ะ?
ตอบ: การบวนการสร้างแป้งและน้ำตาล เพิ่มผลผลิต ใช้ โพแทสเซียมสูงที่สุดก็จริง แต่ระบบรากที่ดี ทำให้พืชแข็งแรง ไนโตรเจน ช่วยหล่อเลี้ยงความเขียว ทำให้ต้นไม่โทรมในขณะสร้างผล และไนโตรเจนยังเพิ่มคลอโรฟิลล์ เมื่อพืชใบเขียว รับแสงแดด ปรุงอาหารได้ดี จึงทำให้กระบวนการสร้างแป้งและน้ำตาล และเคลื่อนย้ายมาสะสมเป็นผลผลิต ทำได้ดี สมบูรณ์กว่าการใช้ โพแตสเซียมเพียวๆ จึงได้มีการคิดสูตรอย่างเช่น 13-13-21 หรือ 8-8-24 หากเป็นปุ๋ยฉีดพ่นทางใบก็ FK-3 ที่เป็นสูตร 5-10-40 ก็ใช้เร่งผลผลิตได้เป็นอย่างดี

การคำนวณสูตรปุ๋ย ทุกวันนี้ไม่ต้องคิดเองแล้ว ใช้เว็บแอพคำนวณได้เลย ที่ เว็บแอพฯผสมปุ๋ย
ดอกทานตะวัน ความนิยมปลูกและทานดอกทานตะวันทั่วโลก
ดอกทานตะวัน ความนิยมปลูกและทานดอกทานตะวันทั่วโลก
ดอกทานตะวันเป็นพืชขนาดใหญ่ที่มีดอกสีเหลืองสดใสนั้น มีประวัติศาสตร์อันยาวนานใอเมริกาเหนือ โดยมีหลักฐานว่า ชนพื้นเมืองอเมริกันนำดอกไม้ชนิดนี้ไปใช้เป็นอาหารและยาตั้งแต่เมื่อประมาณ 1_000 ปีก่อนคริสตกาล

ในส่วนของเมล็ดทานตะวันนั้น เชื่อกันว่า นักสำรวจชาวสเปนน่าเป็นผู้นำเข้ามาในยุโรปโดยในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 และเมื่อเวลาผ่านไป ดอกทานตะวันก็ได้ไปเติบโตอยู่ในยุโรปตะวันออกอีกด้วย จนปัจจุบัน ยูเครนเป็นผู้ผลิตน้ำมันดอกทานตะวันรายใหญ่ที่สุดของโลกไปแล้ว

นอกจากนี้ ดอกทานตะวันยังได้รับความนิยมมากขึ้นในโซเชียลมีเดีย เพราะผู้คนมากมายต่างชื่นชอบการถ่ายภาพตัวเองในทุ่งทานตะวันที่สดใส โดยภาพถ่ายดังกล่าวถูกเรียกว่า Sunflower Selfies

แต่ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ภาพดอกทานตะวันได้ปรากฏในโซเชียลมีเดียด้วยเหตุผลที่แตกต่างออกไป นั่นก็คือ เพื่อแสดงการสนับสนุนยูเครนหลังจากการรุกรานของรัสเซีย

ผู้เชี่ยวชาญด้านสวนและนักเขียนอย่าง เจสสิก้า ดามิอาโน (Jessica Damiano) เพิ่งจะเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับการปลูกดอกทานตะวันให้กับเอพี ซึ่งเธอระบถว่า การปลูกทานตะวันนั้นเป็นเรื่องง่าย และสามารถปลูกในกระถางได้ หากเป็นพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก

วิธีปลูก
หากต้องการปลูก ให้เริ่มจากการเพาะเมล็ดทานตะวัน โดยแช่เมล็ดลงไปในน้ำที่มีอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 2-8 ชั่วโมงเพื่อเริ่มกระบวนการปลูก จากนั้นหยอดเมล็ดลงไปในดินที่ลึก 2.5 ซม. และห่างกัน 15 ถึง 30 ซม. นอกจากนี้ ควรปลูกทานตะวันที่ภายนอกบ้านหลังจากช่วงเกิดน้ำค้างแข็งได้ผ่านพ้นไปแล้ว หรือเริ่มปลูกในบ้านเป็นเวลา 3 สัปดาห์ก่อนวันสุดท้ายของการเกิดน้ำค้างแข็ง และที่สำคัญ ต้องรักษาดินให้ดินเปียกอยู่ตลอดเวลา แต่อย่าเปียกจนเกินไป จนกว่าเมล็ดจะเริ่มงอกออกมา

เมื่อความหนาวเย็นจนทำให้เกิดน้ำค้างแข็งผ่านพ้นไปแล้ว ก็สามารถย้ายต้นทานตะวันออกมานอกบ้านได้ โดยเลือกบริเวณที่ต้นไม้จะได้รับแสงแดดโดยตรงเป็นเวลาอย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง

เมื่อต้นทานตะวันเริ่มเติบโตขึ้น พวกมันจะมีรากยาวซึ่งจะฝังลึกลงไปในพื้นดิน ดังนั้น ก่อนที่จะปลูก จำเป็นต้องมีการเคลียร์พื้นที่โดยการขุดดินลงไปอย่างน้อย 33 ซม. เพื่อนำหินออกจากชั้นดิน

นอกจากนี้ ควรผสมปุ๋ยหมักจำนวนมากลงในดินที่ปลูกต้นทานตะวัน เนื่องจากปุ๋ยหมักช่วยให้สารอาหารที่สำคัญและยั่งยืนซึ่งจะช่วยพืชเติบโตได้ตลอดฤดูกาล โดยส่วนที่ขาดไม่ได้คือ การรดน้ำเมื่อดินเริ่มแห้ง และควรให้น้ำในปริมาณราว 250 มิลลิเมตร ต่อสัปดาห์ คอยสังเกตปริมาณน้ำฝนที่ได้รับในแต่ละสัปดาห์ และควรมีวัสดุคลุมดินที่หนาประมาณ 5 เซนติเมตรในการช่วยให้ดินกักเก็บน้ำได้

อย่างไรก็ดี ต้นทานตะวันอาจไม่ต้องการสารอาหารเพิ่มเติมหากปลูกพร้อมกับปุ๋ยหมัก แต่ถ้าหากไม่ได้ใส่ปุ๋ยหมักในระหว่างกระบวนการปลูก ก็ควรให้ปุ๋ยเอนกประสงค์หนึ่งหรือสองครั้งในช่วงฤดูเพาะปลูก

ทั้งนี้ ดอกทานตะวันบางชนิดสามารถเติบโตได้สูงถึงสามเมตร ซึ่งหมายความตัวต้นอาจต้องการการปกป้องจากลมแรง ดังนั้นการปลูกดอกทานตะวันชนิดนี้ไว้ใกล้ ๆ กับโครงสร้างหรืออาคารที่จะช่วยปกป้องพวกมันจากลมได้จะเป็นการดีที่สุด หรือจะผูกต้นทานตะวันไว้กับอะไรที่สูง ๆ เพื่อช่วยค้ำลำต้นก็ได้ และเมื่อดอกไม้บานแล้ว ก็สามารถตัดไปไว้ในบ้าน โดยนำไปใส่ลงในภาชนะที่มีน้ำ ก่อนที่จะเพลิดเพลินไปกับความสดใสและสวยงามของดอกทานตะวัน

วิธีรับประทาน
นอกจากดอกทานตะวันจะมีความสวยงามแล้ว เรายังสามารถนำมารับประทานได้อีกด้วย

เมื่อดอกไม้เริ่มร่วงหล่นตอนสิ้นสุดฤดูกาล ส่วนหลังของดอกจะเป็นสีน้ำตาล และเมล็ดของมันจะเริ่มงอกออกมาจากหัว โดยให้ตัดดอกออกจากต้น แล้วนำไปใส่ถุงหรือภาชนะก่อนจะนำเมล็ดออกจากดอกโดยการถูด้วยมือหรือใช้แปรงที่แข็ง ๆ จากนั้น จึงนำเมล็ดไปล้างแล้วตากข้ามคืนให้แห้ง

เราสามารถรับประทานเมล็ดทานตะวันได้ทั้งแบบสุกและแบบดิบ ซึ่งถ้าหากต้องการอบเมล็ดทานตะวัน เราต้องใช้เตาอบที่ตั้งอุณหภูมิไว้ที่ 165 องศาเซลเซียส โดยเมื่อเตาอบร้อน แล้วให้อบเมล็ดทานตะวันจนเป็นสีน้ำตาล ซึ่งกระบวนการนี้ใช้เวลาตั้งแต่ 15 ถึง 30 นาที

และหากต้องการให้เมล็ดทานตะวันมีรสเค็ม ก็ให้ต้มเมล็ดทานตะวันในน้ำเกลือเป็นเวลา 90 นาทีถึง 2 ชั่วโมง จากนั้นก็ปล่อยให้แห้งแล้วนำไปอบในเตาอบ ก่อนที่จะนำมารับประทาน


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ข้อมูลรูปภาพจาก http://ไปที่..link..
อ่าน:5011
ยากำจัดโรคราน้ำค้าง ใน กระหล่ำปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ยากำจัดโรคราน้ำค้าง ใน กระหล่ำปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ยากำจัดโรคราน้ำค้าง ใน กระหล่ำปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
การเจริญเติบโตของเชื้อราและโรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลีอาจเป็นปัญหาที่สำคัญ เนื่องจากไม่เพียงแต่ส่งผลต่อคุณภาพและรูปลักษณ์ของผักเท่านั้น แต่ยังก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพอีกด้วย เพื่อตอบสนองต่อปัญหานี้ การวิจัยและพัฒนาอย่างกว้างขวางได้นำไปสู่การสร้าง IS ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่ได้จากส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด ด้วยเทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรม IS สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการสร้างสภาวะที่ไม่เอื้ออำนวยบนพื้นผิวของใบพืช นอกจากนี้ ระบบ IS ยังช่วยเพิ่มการยึดเกาะกับพื้นผิวของใบไม้ ทำให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นในขณะที่มั่นใจในความปลอดภัยของผู้ใช้

ความท้าทายของเชื้อราและโรคราน้ำค้างในการผลิตกะหล่ำปลี

กะหล่ำปลีเป็นผักที่บริโภคกันอย่างกว้างขวางซึ่งทราบกันดีว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพ มีความไวต่อการแพร่ระบาดของเชื้อราและโรคราน้ำค้าง เชื้อราเหล่านี้รวมถึงสปีชีส์ต่างๆ เช่น Botrytis cinerea และ Alternaria brassicicola เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่ชื้นและสามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว นำไปสู่การสูญเสียพืชผลอย่างมาก เชื้อราและโรคราน้ำค้างไม่เพียงแต่ทำลายรูปลักษณ์ของกะหล่ำปลีเท่านั้น แต่ยังสามารถสร้างสารพิษที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์เมื่อบริโภคเข้าไปด้วย

การแก้ไขปัญหาด้วย IS

IS ซึ่งเป็นผลมาจากการวิจัยและพัฒนาอย่างครอบคลุม นำเสนอวิธีแก้ปัญหาที่เป็นนวัตกรรมใหม่สำหรับการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราและโรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี ส่วนประกอบที่เป็นเอกลักษณ์ซึ่งได้มาจากส่วนผสมจากธรรมชาติล้วนทำให้มั่นใจได้ว่าปลอดภัยสำหรับผู้ใช้และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

การควบคุมสิ่งแวดล้อมบนใบพืช

IS ทำงานโดยการควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบกะหล่ำปลี ทำให้เกิดสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเชื้อรา ด้วยการปรับค่า pH ระดับความชื้น และปัจจัยอื่นๆ IS จะขัดขวางสภาวะที่เหมาะสมที่เชื้อราต้องการในการเจริญเติบโต เทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมใหม่นี้ยับยั้งเชื้อราและโรคราน้ำค้างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ต้องพึ่งสารเคมีรุนแรงหรือสารอันตราย

เพิ่มความยึดมั่นและประสิทธิภาพ

คุณสมบัติที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของ IS คือความสามารถในการยึดติดกับผิวใบพืชได้ดีกว่า คุณลักษณะนี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของสาร ทำให้มั่นใจได้ว่าสารยังคงสัมผัสกับพื้นที่เป้าหมายเป็นระยะเวลานาน ด้วยการยึดเกาะที่ดีขึ้น IS สามารถให้การป้องกันเชื้อราและโรคราน้ำค้างได้ยาวนานขึ้น ช่วยลดความจำเป็นในการทาซ้ำบ่อยๆ

ข้อได้เปรียบของออร์แกนิก

IS โดดเด่นกว่าโซลูชันที่ใช้สารเคมีแบบดั้งเดิมเนื่องจากธรรมชาติของสารอินทรีย์ การใช้ส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมดไม่เพียงแต่รับประกันความปลอดภัยของผู้บริโภคเท่านั้น แต่ยังส่งเสริมแนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืนและคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมอีกด้วย เมื่อเลือก IS เกษตรกรสามารถลดการพึ่งพาสารกำจัดศัตรูพืชสังเคราะห์ ลดผลกระทบด้านลบที่อาจเกิดขึ้นต่อระบบนิเวศและสุขภาพของมนุษย์

บทสรุป

IS สารอินทรีย์ที่พัฒนาขึ้นจากการวิจัยและพัฒนาอย่างครอบคลุม นำเสนอวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราและโรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี ด้วยการสร้างสภาวะที่ไม่เอื้ออำนวยต่อเชื้อราบนผิวใบพืช ระบบ IS จึงช่วยลดความเสี่ยงของการเข้าทำลายได้อย่างมาก ขณะเดียวกันก็เพิ่มการยึดเกาะและประสิทธิภาพ องค์ประกอบอินทรีย์ของ IS ช่วยให้มั่นใจได้ถึงความปลอดภัยของผู้ใช้และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่ยั่งยืน ด้วย IS เกษตรกรสามารถปกป้องพืชกะหล่ำปลีของพวกเขาและส่งมอบผลผลิตคุณภาพสูงให้กับผู้บริโภค ปราศจากผลกระทบที่เป็นอันตรายของเชื้อราและโรคราน้ำค้าง

ไอเอส ขนาด 3 ลิตร
อัตรส่วนการใช้ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
1 แกลลอน ผสมน้ำได้ 1200 ลิตร ใช้ได้ 15 ไร่


สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
แก้วมังกร เปลือกเน่า ราสนิม โรคเชื้อราในแก้วมังกร กำจัดด้วย ไอเอส
แก้วมังกร เปลือกเน่า ราสนิม โรคเชื้อราในแก้วมังกร กำจัดด้วย ไอเอส
แก้วมังกร เปลือกเน่า ราสนิม โรคเชื้อราในแก้วมังกร กำจัดด้วย ไอเอส

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ ปลอดภัย ฉีดพ่นกำจัดโรคต่างๆในแก้วมังกร ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา และโรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:4951
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ
|-Page 17 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
Update: 2564/06/18 08:43:44 - Views: 3154
ผักโขมใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคผักโขม จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/12 11:43:04 - Views: 3073
กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/07/14 08:25:47 - Views: 3087
การป้องกันและกำจัด โรคยางพาราเปลือกเน่า โรคยางพาราเปลือกแห้ง
Update: 2566/03/04 11:36:06 - Views: 3130
โรคมันสำปะหลัง: โรคใบด่างมันสำปะหลัง ยังไม่มียารักษาโดยตรง ต้อง กำจัดแมลงหวี่ขาว ซึ่งเป็นแมลงพาหะ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/01/19 10:21:31 - Views: 3139
หนอนเจาะดอกมะลิ ดอกมะลิจะเป็นสีน้ำตาลแห้ง ยากำจัด หนอนมะลิ ใช้ ไอกี้ บำรุง ฟื้นตัวด้วย FK-T
Update: 2565/07/23 17:30:43 - Views: 3164
12 อาการต้นไม้ขาดธาตุอาหาร พร้อมวิธีดูแลต้นไม้ให้ฟื้นคืนชีพ
Update: 2565/07/26 00:53:17 - Views: 2970
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ปุ๋ยโพแทสเซียว 0-0-60 สูตรเร่งผลใหญ่ เพิ่มผลผลิต ดกเต็มต้น
Update: 2567/03/05 12:32:23 - Views: 123
ปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี ปุ๋ยน้ำสำหรับกะหล่ำปลี และ พืชตระกูลกะหล่ำ ฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/15 00:25:59 - Views: 3230
🐛กำจัดหนอน! ทำไมพืชยังเหี่ยวเฉา ใบเหลืองร่วง โตช้า แคระแกรน ทั้งที่บำรุงอย่างดี.. เป็นหนอนรึเปล่านะ?
Update: 2564/06/11 00:57:49 - Views: 3083
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 9325
โรคถั่วฝักยาว ราแป้งถั่วฝักยาว อาการใบเหลือง ใบไหม้ ในถั่วฝักยาว
Update: 2564/08/22 22:28:51 - Views: 3329
ยากำจัดหนอนชวนชม หนอนกินใบ และหนอนต่างๆ ต้นชวนชม ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/29 03:30:57 - Views: 3383
ประโยชน์ของการปลูกพืชคลุมดินในระบบเกษตร
Update: 2566/01/05 08:22:35 - Views: 3118
ปุ๋ยสำหรับ อะโวคาโด FK-1 เร่งต้น เร่งใบ สร้างคลอโรฟิลล์ ส่งเสริมระบบราก ส่งเสริมผลผลิต ผสมน้ำ ฉีดพ่นทางใบ หรือราดลงโคน
Update: 2566/10/21 08:06:44 - Views: 225
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตรสำหรับมะม่วงทุกช่วงอายุ
Update: 2567/02/13 09:06:55 - Views: 174
สารจับใบ ไดโนเร็กซ์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึม ปลอดภัยไม่มีสารเคมี 100%
Update: 2565/12/12 12:52:42 - Views: 3150
การป้องกันและกำจัดโรคใบเหลืองในอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส
Update: 2566/01/07 07:45:36 - Views: 3342
การต่อสู้กับเชื้อราที่ทำลายต้นแก้วมังกร: ทำความรู้จักและป้องกันโรคในสวน
Update: 2566/11/10 09:36:45 - Views: 312
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/24 11:03:59 - Views: 3093
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022