[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - FK-1
902 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 2 รายการ

🔥โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส ใช้ได้กับทุกพืช เร่งพืชฟื้นตัว กลับมาโตไวให้ผลผลิตดี ด้วย FK-1
🔥โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส ใช้ได้กับทุกพืช เร่งพืชฟื้นตัว กลับมาโตไวให้ผลผลิตดี ด้วย FK-1
จัดส่งฟรีถึงบ้านทั่วไทย ชำระเงินปลายทางเฉพาะค่าสินค้า ราคา ไอเอส 450บาท FK-1 890บาท ทั้งชุด 1340บาท

สั่งซื้อได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือทักแชท
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือโทร 090-592-8614

อัตราผสม ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร

อัตราผสม FK-1 แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทั่วแปลงที่มีการระบาด เว้น 3 วันพ่นซ้ำ ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความรุนแรงของการระบาด
อ่าน:3506
โรคแคงเกอร์มะนาว โรคทุเรียนใบติด ใบไหม้ โรคพริก แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
โรคแคงเกอร์มะนาว โรคทุเรียนใบติด ใบไหม้ โรคพริก แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

http://www.farmkaset..link..
สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset
หรือทักแชทที่เพจ ฟาร์มเกษตร

ไอเอส 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร
ไอเอส 900 บาท บรรจุ 3 ลิตร
มาคา 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร
ไอกี้ 490 บาท บรรจุ 500 กรัม
FK-1 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม

อัตราการการใช้
ยาชนิดน้ำ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ยาชนิดผง 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
อ่าน:3743
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
ในปัจจุบัน การรักษาอาหารโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในพืชใบเขียวต่างๆทุกชนิด ประสิทธิภาพของยาอินทรีย์ในปัจจุบันนั้น ไม่ได้ด้อยกว่ายาเคมีเลย และที่สำคัญ ยาอินทรีนั้นปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย

โรคใบไหม้ เกิดได้กับพืชทั่วไป พืชใบเขียวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชสวน พืชไร่ ก็เกิดอาการโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราได้ในทุกๆพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ผลอย่าง ทุเรียน เงาะ ลำไย มังคุด พืชเศรษฐกิจอย่างเช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พืชไร่อย่างเช่น นาข้าว กาแฟ มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชผักสวนครัวต่างๆ เช่น พริก ก็เป็นได้ทั้งโรคกุ้งแห้ง แคงเกอร์ ใบไหม้ ใบเหี่ยว กะหล่ำ กวางตุ้ง พืชตระกูลแตงต่างๆ แตงกวา แตงโม แตงร้าน แตงไทย แคลตาลูป ฯลฯ อีกมากมายเลย ล้วนแล้วแต่มีปัญหาโรคใบไหม้ ได้ทั้งนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอาการร้อน ชื้น อบอ้าว โรคใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งเชื้อรานี้ สามารถแพร่กระจายไปตามลมที่พัดพา ไปติดในพื้นที่ต่างๆ จึงลุกลามได้อย่างรวดเร็ว

การป้องกัน รักษาโรคใบไหม้ ในพืชที่ปลูก
- หากเป็นการเริ่มปลูกรอบใหม่ การไถพลิกดินตากแดดสองสัปดาห์ ช่วยฆ่าเชื้อราในดินได้เป็นอย่างดี

- หากเป็นพืชที่มีสายพันธุ์หลากหลาย เช่น มันสำปะหลัง หรือยางพารา สามารถศึกษา เลือกใช้พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคได้สูง

- การเว้นระยะห่างของการปลูกพืชอย่างเพียงพอ ให้แดดส่องถึง อาการถ่ายเทได้ดี เป็นการทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา

- การให้น้ำในเวลาเช้าตรู่ เพื่อให้พืชมีเวลาแห้งระหว่างวัน

- เมื่อพบ โรคใบไหม้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อ ผสมกับ FK-1 ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุก 3-5 วัน ในช่วงของการรักษา ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง และหากพื้นที่รอบข้าง หรือแปลงข้างเคียงยังมีการระบาด ควรฉีดพ่นป้องกันอย่างต่อเนื้อง ทุกๆ 7 หรือ 15 หรือ 30 วัน ตามความรุนแรงของการระบาด

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือสั่งซื้อที่เพจ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..
หรือที่ ช็อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3692
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
การวินิจฉัย อาการขาดธาตุรองของพืช พืชขาด ธาตุแคลเซียม หรือขาด ธาตุแมกนีเซียม เราสามารถสังเกตุได้จากอาการของพืช การวินิจฉัยนี้ เป็นการสังเกตุอาการเบื้องต้อง ให้ผู้อ่านทำความเข้าใจว่า อย่างใจก็แล้วแต่ อาการที่พืชแสดงให้เราสังเกตุได้นั้น ยังประกอบด้วยปัจจัยพื้นฐานอีกหลายองค์ประกอบ ในบทความนี้ เป็นการสังเกตุอาการเบื้องต้น เป็นแนวทางให้เราพอจะสันนิษฐาน เพื่อแก้ปัญหาให้กับพืชที่เราปลูกได้

ผู้อ่านเคยสังเกตุไหมว่า ทำไมผู้ผลิตปุ๋ย จึงเลือกให้ธาตุอาหารรองกับพืช โดยการผสมในปุ๋ยสูตรหลัก โดยเน้นไปที่ธาตุรองเป็น ธาตุแคลเซียม และ ธาตุแมกนีเซียม เป็นพิเศษ ให้หลายๆผลิตภันฑ์ และหลายๆสูตรปุ๋ย สาเหตุเป็นเพราะว่า การวินิจฉัยว่าพืช ขาดธาตุแคลเซียม หรือ ขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น ค่อนข้างจะบ่งชี้ได้ยาก

เรื่องของปฏิสัมพันธ์ระหว่างธาตุนั้น จะเริ่มจากโบรอน ไปสู่ธาตุอื่นๆต่างๆ ดังนี้

โบรอน > ซิลิคอน > แคลเซียม > ไนโตรเจน > แมกนีเซียม > ฟอสฟอรัส > คาร์บอน > โพแทสเซียม

จะเห็นได้ว่า ธาตุแคลเซียม จะจับกับ ธาตุไนโตรเจน ซึ่งไนโตรเจนนั้น เป็นองค์ประกอบหลักของ กรดอะมิโน ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความเขียวของใบพืช ใช้ในการสังเคราะห์แสง

จะเห็นได้ว่า หากพืชขาด ธาตุแคลเซียม จะส่งผลกระทบต่อความเขียวของใบพืช ใบพืชอาจจะซีดเป็นสีเหลือง หรือสีน้ำตาล แต่อาการเหลือง หรือน้ำตาลของใบพืช จะแสดงออกโดยมีรายละเอียด หรือลักษณะเฉพาะแบบไหน?

ในส่วนของการสร้าง คลอโรฟิลล์ ก็ต้องใช้ ธาตุแมกนีเซียม ในการรับพลังงาน และสะสมพลังงานจากแสงอาทิตย์ ในโตรเจน ที่อยู่ในกรดอะมิโน จะจับกับ แมกนีเซียม เพื่อสร้างคลอโรฟิลล์ในพืช

ซึ่งก็หมายความว่า หากพืชขาด ธาตุแมกนีเซียม ก็จะแสดงอาการใบเหลืองเช่นกัน ส่วน อาการขาดไนโตรเจน ก็ใบซีด ใบเหลือง ชัดเจนอยู่แล้ว เพราะไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก แต่สำหรับคนที่ใส่ปุ๋ยทั่วๆไปสม่ำเสมอ อาการใบเหลืองจากการ ขาดไนโตรเจนนั้น น่าจะตัดออกไปได้ เหลือพิจารณาอยู่คือ ธาตุรอง สองธาตุ คือ แมกนีเซียม และ แคลเซียม นั้นเอง

พืชขาดธาตุแคลเซียม พืชขาดธาตุแมกนีเซียม
ความแตกต่างของอาการขาดธาตุ แคลเซียม เปรียบเทียบกับ ขาดธาตุแมกนีเซียม
อาการพืชขาดธาตุแคลเซียม
อาการใบเหลืองของพืช จะแสดงที่ด้านบนของใบพืช สัญญานที่บ่งบอกว่า พืช ขาดธาตุแคลเซียม คือ ใบพืชจะมีรอยสีน้ำตาล / เหลืองเป็นจุดๆ มักจะเกิดที่ส่วนยอดของต้นพืช

ลำต้นพืชจะอ่อนแอ เนื่องจากผนังเซลล์ไม่ดี

การเจริญเติบโตของพืชช้า (บนเงื่อนไขที่เราให้ธาตุหลัก N-P-K แล้ว แต่พืชก็ยังโตช้า)

แต่หากผู้อ่านมั่นใจว่า ให้แคลเซียมในปริมาณที่เพียงพอแล้ว ลองดูประเด็นของค่า pH ของดินบิเวณนั้น ว่าอยู่ในช่วง 5.2-6.1 หรือไม่

วิธีหนึ่งที่ใช้ทดลองได้คือ ทดลองให้อาหารเสริมแคลเซียมกับพืช (เช่นพวกสารปรับปรุงดิน ที่มีแคลเซียมผสมอยู่) หนึ่งสัปดาห์หลังจากนั้น ทดลองตรวจดินวัดค่า EC (ค่าการนำไฟฟ้า) บริเวณโซนรากพืช เปรียบเทียบกับ ดินโซนที่ห่างจากรากพืช หากค่า EC ไม่ลดลง สันนิษฐานได้ว่า พืชของคุณ ไม่ได้รับสารอาหารใดๆ (ซึ่งน่าจะเป็นแคลเซียม)

ห้อง LAB ตรวจวิเคราะห์ดินและปุ๋ย iLab
iLab ตรวจธาตุอาหารในดิน ตรวจวิเคราะห์ดิน
การเคลื่อนย้ายแคลเซียม
อาการขาดแคลเซียม มักจะประกฎในใบที่ใหม่กว่า เนื่องจากแคลเซียมที่เก็บไว้ในใบแก่ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายในยังใบที่กำลังเจริญเติบโตใหม่ได้ เนื่องจาก แคลเซียม เป็น ไอออนที่เคลื่อนที่ไม่ได้ในพืช

ใบพืชขาดธาตุแคลเซียม
อาการใบจุดสีน้ำตาล และใบจุดเหลือง ที่เกิดจากการขาดแคลเซียม
มักแสดงอาการบนใบใหม่
อาการพืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม
ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในพืชนั้น มีลักษณะคล้ายกับอาการขาดธาตุแคลเซียม คือ อาการจุดคล้ายสนิมสีน้ำตาล และจุดสีเหลืองกระจายทั่วใบพืช

ความแตกต่างที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ การเกิดจุดสีน้ำตาลที่เกิดจากการขาดแคลเซียม จะมีผลต่อการเจริญเติบโตตั้งแต่เริ่มต้น นั้นคือจะเกิดบนในใหม่ของพืช บนยอดใบที่แตกใหม่ แต่ในส่วนของ อาการพืชขาดแมกนีเซียมนั้น จะเกิดบนใบพืชที่สร้างไว้แล้ว หรือใบเก่า หรือใบแก่ของพืชนั้นเอง

การม้วนงอ ของใบพืช
เกิดสีเหลือง / นอกเส้นใบ ปัญหาของอาการขาดแมกนีเซียม จะส่งผลกระทบต่อส่วนล่างของพืช และใบแก่ของพืช ต่างจากอาการขาดแคลเซียม เพราะ แมกนีเซียม เป็น ไอออน (ion) ที่เคลื่อนที่ได้ในพืช

อาการใบเหลืองจากการขาดแมกนีเซียมนี้ สังเหตุได้ว่า อาการเหลือง จะอยู่รอบนอกของเส้นใบพืช

การเคลื่อนที่ของแมกนีเซียม
อาการขาดแมกนีเซียมในพืช จะปรากฎให้เห็นในใบแก่ของพืช เนื่องจาก แมกนีเซียม จะถูกจรรสรรให้กับการเจริญเติบโต การแตกยอด แตกใบใหม่ เพราะ แมกนีเซียม เป็น ไอออน (ion) ที่เคลื่อนที่ได้ในพืช

ใบพืชขาดธาตุแมกนีเซียม
อารการพืชขาดธาตุแมกนีเซียม
แคลเซียม และ แมกนีเซียม ต่างก็เป็นองค์ประกอบสำคัญในการเจริญเติบโตของพืช

อาการใบเหลืองของพืช มักจะเป็นสัญญาณ ของผลกระทบต่อ คลอโรพลาสต์ และ คลอโรฟิลล์ โดยมากแล้วมีสาเหตุจากการขาดธาตุรอง การใช้ FK-1 นั้น จะเติมได้ทั้งธาตุหลัก N-P-K พร้อมธาตุรอง แคลเซียม แมกนีเซียม และธาตุเสริมอื่นๆ เพื่อให้ครบถ้วนตามความต้องการของพืช ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้เร็ว มีความสมบูรณ์ แข็งแรง เมื่อพืชมีความแข็งแรง จึงส่งเสริมให้พืชต้านทานต่อโรคและแมลงได้ดีขึ้น

เรียบเรียงโดย ธนบัตร บัวแก้ว เผยแพร่ที่ FarmKaset.ORG และ farmkaset.blogspot.com

ปุ๋ยแก้พืชขาดธาตุรอง ธาตุแคลเซียม ธาตุแมกนีเซียม
สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset



FK iLab ตรวจวิเคราะห์ค่าดิน และปุ๋ย

FK iLab เป็นเว็บไซต์ให้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน และค่าธาตุอาหารในปุ๋ย ด้วย LAB มาตรฐาน ตรวจวิเคราะห์โดยนักวิชาการเฉพาะด้าน ที่มีความชำนาญ โดยผู้ใช้บริการสามารถ เลือกค่า ธาตุอาหารต่างๆที่ต้องการตรวจได้ บนเว็บไซต์ และส่งตัวอย่างดิน หรือปุ๋ยที่ต้องการตรวจไปยัง ห้องปฏิบัติการ ผ่านทางไปรษณีย์ และรออ่านผลตรวจได้ทางหน้าเว็บไซต์

สามารถใช้บริการได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือเข้าเว็บไซต์ FarmKaset.ORG และคลิกที่เมนู iLab



อ้างอิง

elitegardenwholesale.com/blogs/elite-blog/secondary-common-plant-deficiencies
อ่าน:4390
แก้ ทุเรียใบติด โรคใบติดทุเรียน เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ยับยั้งเชื้อรา ใช้ ไอเอส
แก้ ทุเรียใบติด โรคใบติดทุเรียน เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ยับยั้งเชื้อรา ใช้ ไอเอส
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนใบร่วง (Leaf blight leaf fall)

โรคของทุเรียนเหล่านี้ เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

ยับยั้งการระบาด หยุดการลุกลามของโรคใบติด หรืออาการใบไหม้ของทุเรียน

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมทั่วทั้งแปลงที่มีการระบาด ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ตามแต่ความรุนแรง ของการระบาด หากต้องการให้ฟื้นตัวเร็ว กลับมาเจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ ไอเอส

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3774
คำนิยม - ขอบคุณ คุณอนิรุทธิ์ จากเพชรบูรณ์ ใช้ ไอเอส มาคา FK-1 แก้ปัญหาโรคใบไหม้ และเพลี้ยไฟในนาข้าว
คำนิยม - ขอบคุณ คุณอนิรุทธิ์ จากเพชรบูรณ์ ใช้ ไอเอส มาคา FK-1 แก้ปัญหาโรคใบไหม้ และเพลี้ยไฟในนาข้าว
คำนิยม - ขอบคุณ คุณอนิรุทธิ์ จากเพชรบูรณ์ ใช้ ไอเอส มาคา FK-1 แก้ปัญหาโรคใบไหม้ และเพลี้ยไฟในนาข้าว
ลูกค้าท่านนี้ อยู่ จ.เพชรบูรณ์ พบปัญหาโรค ไหม้ข้าว หรืออาการข้าวใบไหม้ และเพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดดในนาข้าว สั่งซื้อ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคเชื้อรา เพื่อแก้ปัญหาโรคใบไหม้ พร้อมด้วย มาคา แก้ปัญหาเพลี้ยต่างๆ และ FK-1 เพื่อช่วยส่งเสริม ให้ข้าวฟื้นตัวจากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น ภาพด้านล่าง ทางลูกค้าได้เก็บภาพและส่งกลับมาให้ทางเพจของเรา ขอบคุณลูกค้าเป็นอย่างมากเลยนะคะ

สำหรับท่านที่สนใจสั่งซื้อได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614
อ่าน:3503
ทุเรียนกิ่งแห้ง สาเหตุเพราะ เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน (Fusarium solani) ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส
ทุเรียนกิ่งแห้ง สาเหตุเพราะ เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน (Fusarium solani) ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส
อาการกิ่งแห้งของทุเรียน และพบเชื้อราสีขาวบริเวณกิ่งเป็นหย่อมๆ ใบที่ติดปลายกิ่งทุเรียนเริ่มมีสีเหลือง และค่อยๆร่วงไป เป็นอาการของ โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ที่เกิดจาก เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน (Fusarium solani)

การป้องกันและกำจัดโรคทุเรียนกิ่งแห้ง

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมทั่วทั้งแปลงที่มีการระบาด ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ตามแต่ความรุนแรง ของการระบาด หากต้องการให้ฟื้นตัวเร็ว กลับมาเจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ ไอเอส

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:4525
โรคทุเรียนกิ่งแห้ง มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนโคนเน่า ทุเรียนผลเน่า โรคใบติดทุเรียน ก็เช่นกัน แก้ด้วย ไอเอส ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง
โรคทุเรียนกิ่งแห้ง มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนโคนเน่า ทุเรียนผลเน่า โรคใบติดทุเรียน ก็เช่นกัน แก้ด้วย ไอเอส ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง
ทุเรียนกิ่งแห้ง เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน เป็นเชื้อสาเหตุ

เชื้อราไฟทอปทอร่า พาลมิวอร่า (Phytophthora palmivora) ในทุเรียน เป็นต้นเหตุของ โรคโคนเน่า มีแผลสีน้ำตาลเข้มที่โคนต้นทุเรียน

ทุเรียนผลเน่า เกิดจากเชื้อรา ลาสิโอดิปโพลเดีย ทีโอโบรมี (Lasiodiplodia theobromae)

โรคใบติดทุเรียน อาการทุเรียนใบติด เกิดจาก เชื้อราไรซอคโทเนีย โซลาไน (Rhizoctonia solani)

สำหรับโรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอเอส (เฉพาะโรคทุเรียน ที่มีต้นเหตุจากเชื้อราต่างๆ) ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมบริเวณแปลงที่มีการระบาด สามารถฉีดพ่นผสมไปพร้อมกับ FK-1 เพื่อเร่งให้ทุเรียนฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรคต่างๆจากเชื้อรา

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ้างอิงข้อมูลโรคพืชจาก
thaifarmer.lib.ku.ac.th/news /5e17df218e29a10f270b4b8d
อ่าน:3885
ยาแก้ โรคกุ้งแห้งพริก หรือ โรคแอนแทรคโนส ในพริก (Anthracnose)
ยาแก้ โรคกุ้งแห้งพริก หรือ โรคแอนแทรคโนส ในพริก (Anthracnose)
อาการของ โรคพริกกุ้งแห้ง หรือ แอนแทรคโนสพริก ผลพริก จะเป็นแผลรูปวงรี หรือวงกลมสีน้ำตาล แผลจะขยายกว้างออกไปได้เรื่อยๆ ทำให้ผลเน่าจะหมด เนื้อเยื้อแผลยุบลึกลงไป มีเส้นใยราเป็นขนสั้นๆ ในสภาพอากาศชื้น จะมีสปอร์ของเชื้อราเป็นสีชมพูอ่อนหรือสีครีมอ่อนๆ ทำให้ผลพริกเน่า ลุกลามแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว ส่วนรอบๆแผลที่ไม่ถูกทำลายจะเจริญไปเรื่อยๆ ทำให้เกิดอาการโค้งงอบิดเบี้ยวโดยมีเซลล์ที่ตายอยู่ด้านในลักษณะคล้ายกุ้งแห้ง

สาเหตุของ โรคกุ้งแห้ง หรือ แอนแทรคโนสพริก เกิดจากเชื้อรา Collectrichum casici

การแพร่ระบาด โรคนี้ปกติจะเกิดขึ้นเฉพาะกับผลพริกในกรณีที่ระบาดรุนแรง และสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาจจะเข้าทำลายลำต้นและใบได้ โรคนี้ระบาดมากในฤดูฝน หรือในสภาพความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า 95% และอุณหภูมิ ระหว่าง 27 องศาเซลเซียส 32 องศาเซลเซียส

การป้องกันกำจัด โรคกุ้งแห้งในพริก หรือแอนแทรโนสพริก

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมทั่วทั้งแปลงที่มีการระบาด ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ตามแต่ความรุนแรง ของการระบาด หากต้องการให้พริกฟื้นตัวเร็ว กลับมาเจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ ไอเอส

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3732
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
โรคราน้ำค้างเมล่อน (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อ Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Roslowzew
อาการของโรค ราน้ำค้างในเมล่อน จะเกิดจุดสีน้ำตาล หรืออาจจะเป็นสีเหลือง เป็นจุดเล็กๆ และค่อยขยายใหญ่ขึ้น ขอบใบจะค่อยๆม้วนและร่วง

โรคเหี่ยว ในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sq. melonis ใบเมล่อนเหี่ยว เป็นสีเหลืองจากยอดลงมา ซอกใบเน่า โคนเน่า และตายในที่สุด

โรคราแป้งในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Erysiphe cichoracearum De candolle Sphaerotheca fuliginea อาการที่สังเกตุได้ จะเป็นจุดเหลืองที่ยอดอ่อน ลำต้น และจุดเหลืองจะใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ใบแห้งตาย

เมล่อนต้นแตก เมล่อนยางไหล เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella melonis จะเกิดจุดวงกลมสีน้ำตาล หรือสีดำ จากขอบใบและขยายสู่กลางใบ จนทำให้ใบร่วง

โรคเมล่อนต่างๆ ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังยั้งการระบาดของเชื้อรา ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรค และกลับมาเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี

แมลหวีขาว เป็นพาหะนำโรคมาติดสู่เมล่อนในแปลงของเรา เป็นแมลงศัตรูพืชที่ต้องกำจัด

เพลี้ยไฟเมล่อน สามารถระบาดแพร่กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว การพัดของกระแสลม ทำให้เพลี้ยระบาดไปได้ในพื้นที่กว้าง เพลี้ยไฟจะเข้าทำลายโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำให้ผลเมล่อนแคระ ไม่โต ต้นเมล่อนอ่อนแอ แห้งตายได้

ฉีดพ่นด้วย มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย และแมลงหวีขาว ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของแมลง

แมลงวันทอง จะเจาเข้าไปในผลเมล่อน เพื่อวางไข่ เป็นการเข้าทำลายเมล่อนโดยตรง

กำจัดหนอนต่างๆในเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ผสมด้วย FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน

ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรค แนะนำ สำหรับ เมล่อน

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3631
902 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 2 รายการ
|-Page 84 of 91-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เพลี้ยอ่อนแครอท เพลี้ยแครอท พบ เพลี้ยในแครอท มาคา จาก FK
Update: 2565/06/17 00:15:10 - Views: 3470
ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคใบจุดสนิม โรคราลิ้นจี่ กำจัดโรคลิ้นจี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/22 09:43:05 - Views: 3499
โรคมันสำปะหลัง: โรคใบด่างมันสำปะหลัง ยังไม่มียารักษาโดยตรง ต้อง กำจัดแมลงหวี่ขาว ซึ่งเป็นแมลงพาหะ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/01/19 10:21:31 - Views: 3739
แมลงวัน หนอนชอนใบผัก (Leaf Miner) ระบาด
Update: 2564/08/15 01:03:29 - Views: 4068
ท้าวเวสสุวรรณเหล็กน้ำพี้ ตระกูลเหล็กไหล เหมาะสำหรับการเสริมดวงชะตา ค้าขายดี มั่งคั่ง ปลอดภัยจากภัยอันตรายทั้งปวง
Update: 2567/02/15 13:52:36 - Views: 3630
รู้ทันศัตรูพืช! ป้องกันเพลี้ยและแมลงปากดูดอย่างได้ผล 🌿
Update: 2568/05/02 09:55:33 - Views: 37
ทำความรู้จักเพลี้ยอ่อน: วิธีการรู้และควบคุมแมลงศัตรูที่อาจทำให้พืชเสียหาย
Update: 2566/11/11 12:19:53 - Views: 3611
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะฝักถั่ว ใน ถั่วฝักยาว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/07 14:31:14 - Views: 3673
ฮิวมิค FK สารอินทรีย์เข้มข้น ช่วยให้มะพร้าวเจริญเติบโตแข็งแรง ผลผลิตดก และยังใช้ได้กับพืชทุกชนิด!
Update: 2567/10/22 09:34:42 - Views: 314
โรคผักบุ้ง โรคราสนิมขาวผักบุ้ง ผักบุ้งใบไหม้ ใบเหลือง จุดเหลือง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/11 22:07:25 - Views: 4270
การรับมือกับหนอนเจาะเมล็ดในทุเรียน: วิธีป้องกันและควบคุมศัตรูพืชที่อาจทำลายเมล็ดทุเรียนของคุณ
Update: 2566/11/08 09:28:08 - Views: 3514
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในต้นหม่อน มัลเบอร์รี่ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/14 14:50:57 - Views: 3528
โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นบอนสีและวิธีการป้องกัน
Update: 2566/11/23 09:01:01 - Views: 3484
กำจัดเพลี้ย ใน ฟักทอง เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/15 15:01:54 - Views: 3512
ยาฆ่าหนอน ใน ต้นกาแฟ และพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอกี้-บีที และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/04/10 14:42:44 - Views: 3623
ท้าวเวสสุวรรณ สลักบนแผ่นเหล็กน้ำพี้: พลังแห่งศรัทธาและความเชื่อ เทพแห่งโชคลาภและความมั่งคั่ง
Update: 2567/02/17 13:07:58 - Views: 3539
กล้วยใบม่วงหลังใบอ่อน เกิดจุดกระเป็นริ้วเขียวอมเหลือง เพราะ กล้วยขาดธาตุสังกะสี
Update: 2564/03/18 02:27:04 - Views: 3576
ปุ๋ย FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู โตไว แข็งแรง ออกดอก ติดผล ใช้ได้ปลอดภัย สำหรับไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผักสวนครัว พืชไร่ พืชสวน
Update: 2566/06/19 15:58:30 - Views: 3516
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับเกษตรกรที่ปลูกสละ ช่วยให้สละมีผลใหญ่ ผลดก คุณภาพดี และเพิ่มผลผลิต
Update: 2567/03/13 10:45:01 - Views: 3515
ศัตรูพืช และ การป้องกันกำจัด
Update: 2563/11/06 08:59:08 - Views: 3521
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022