[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ

โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
กรมส่งเสริมการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ข้าวกำลังออกรวง แนะให้เกษตรกรหมั่นลงพื้นที่เพื่อสำรวจแปลง เพื่อป้องกันโรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง ซึ่งโรคไหม้ข้าวสามารถพบได้ในหลายช่วงอายุของการปลูกข้าวตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ ไปจนถึงระยะออกรวง การระบาดของโรคพบได้ในสภาพแปลงนาที่มีต้นข้าวหนาแน่น อับลม แปลงนาที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง สภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และมีชื้นสูงในตอนกลางคืน กระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี โดยลักษณะอาการในแต่ละระยะการเจริญเติบโตมีลักษณะ ดังนี้

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าอาการของโรครุนแรงต้นกล้าจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบ แต่ถ้าเป็นโรคตอน รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายปริมาณมาก ยิ่งในช่วงนี้ทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้าวอยู่ในระยะออกรวงจึงอาจทำให้การระบาดของโรคไหม้ข้าวระยะคอรวงเพิ่มมากขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบมาก ในนาน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.

อาการ

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

การป้องกันกำจัด

ใช้พันธุ์ต้านทานโรค
ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 ชัยนาท 1 ปราจีนบุรี 1
พลายงาม คลองหลวง 1 พิษณุโลก 1

ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สุรินทร์ 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวแพร่ สันปาตอง 1
หางยี 71 กู้เมืองหลวง ขาวโปร่งไคร้ น้ำรู

ภาคใต้ เช่น ดอกพะยอม

ข้อควรระวัง : ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 และชัยนาท 1 ที่ปลูกในภาคเหนือตอนล่าง พบว่า แสดงอาการรุนแรงในบางพื้นที่ และบางปี โดยเฉพาะเมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย เช่น ฝนพรำ หรือหมอก น้ำค้างจัด อากาศเย็น ใส่ปุ๋ยมากเกินความจำเป็น หรือเป็นดินหลังน้ำท่วม

หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม คือ 15-20 กิโลกรัม/ไร่ ควรแบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป ถ้าสูงถึง 50 กิโลกรัม/ไร่ โรคไหม้จะพัฒนาอย่าง
รวดเร็ว

คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน ไตรไซคลาโซล คาร์เบนดาซิม
โพรคลอราซ ตามอัตราที่ระบุ ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาดและพบแผลโรคไหม้ทั่วไป 5 เปอร์เซ็นต์

ของพื้นที่ใบ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน อีดิเฟนฟอส ไตรไซคลาโซล
ไอโซโพรไทโอเลน คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระบุ

ที่มา http://www.farmkaset..link..


ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
โรคใบด่างมันสำปะหลัง สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส Cassava mosaic virus ; CMV

อาการ : ใบด่างเหลือง ผิดรูป ยอดเเตกใหม่ แสดงอาการด่างเหลืองชัดเจน ลำต้นเเคระเเกร็น ไม่เจริญเติบโต

การเเพร่ระบาด :
1. ท่อนพันธ์ุ จากต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรค
2. เเมลงหวี่ขาวยาสูบ นำเชื้อไวรัสจากต้นเป็นโรคไปสู่ต้นปกติ

ความเสียหาย : มันสำปะหลังไม่สร้างหัว หัวลีบเล็ก หรือหัวไม่มีเเป้ง ผลผลิตลดลงหากเป็นโรคตั้งเเต่ระยะเล็ก จะเสียหายถึง 80-100%

การปฏิบัติเพื่อกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง :

1. สำรวจเเปลงมันสำปะหลังของตนเองอย่างสม่ำเสมอ หากพบต้นมันสำปะหลังแสดงอาการใบด่างให้รีบเเจ้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านทันที

2. กำจัดต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคและเเมลงหวี่ขาวยาสูบ

3. คัดเลือกท่อนพันธ์ุสะอาด ใช้ท่อนพันธุ์จากเเปลงที่ไม่เคยเป็นโรคหรือใช้ท่อนพันธ์ุที่ทราบเเหล่งที่มา

ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร
และ http://www.farmkaset..link..

โรคใบด่างมันสำปะหลัง ยังไม่มียารักษาโดยตรง ทำได้โดยการ ป้องกัน กำจัด แมลงหวี่ขาว และ เพลี้ย พาหะของโรค

ฉีดพ่น มาคา เพื่อป้องกัน กำจัด แมลงหวีขาว และ เพลี้ยต่างๆ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง เพิ่มผลผลิต

สามารถผสม มาคา และ FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
โรคราสนิม
โรคราสนิม
โรคราสนิม (Soybean Rust) ชื่อเชื้อสาเหตุ เชื้อรา Phakopsora pachyrhizi Sydow

ลักษณะอาการของโรค

อาการของโรคจะพบได้บนใบกิ่งก้านและลำต้น แต่ส่วนใหญ่จะพบบนใบอาการครั้งแรกจะสังเกตเห็นได้ โดยใต้ใบจะมีจุดสีน้ำตาลเทาเล็ก ๆ โดยจะเริ่มจากใบที่อยู่ด้านล่าง ๆ ของลำต้น จุดนี้จะขยายขึ้นมีลักษณะนูนดูคล้ายผงสีน้ำตาลคล้ายสีสนิมเหล็ก ซึ่งอาจพบได้ทั้งด้านบนและด้านใต้ใบ แต่จะพบเห็นได้ชัดเจนที่ด้านใต้ใบ (ภาพที่ 1) ในระยะหลังนี้เมื่อลองใช้มือลูบที่บริเวณจุดนูนเหล่านี้จะพบผงสปอร์สีน้ำตาลคล้ายสนิมเหล็กติดมือมา ใบถั่วเหลืองที่เป็นโรคมาก ๆ จะมีอาการเหลือง แห้ง และจะล่วงก่อนกำหนด อาจทำให้ฝักและเมล็ดที่ได้จะมีขนาดเล็กลง ผลผลิตลดลง

อาการของโรคราสนิมในระยะเริ่มแรกจะใกล้เคียงกับโรคใบจุดนูน ทำให้เกิดการสับสนในการวินิจฉัยได้ อย่างไรก็ตามหากดูด้วยแว่นขยายจะพบว่าเนื้อเยื่อรอบจุดแผลของโรคราสนิม จะไม่มีลักษณะช้ำน้ำให้เห็น และลักษณะของจุดแผลจะค่อนข้างแหลม

การแพร่ระบาด

โรคราสนิมแพร่ระบาดได้ดีในสภาพพื้นที่ที่มีความชื้นสูง อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ โดยอุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 18-21 องศาเซลเซียส ในการแพร่ระบาดจะอาศัยลมเป็นตัวการพัดพาสปอร์จากต้นถั่วเหลืองที่เป็นโรค เชื้อนี้ไม่สามารถอาศัยอยู่ในเมล็ด แต่สปอร์อาจปะปนไปกับเมล็ดพันธุ์ได้

การป้องกันกำจัด

1. ใช้ถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60_ สจ.4 และ สจ.5 ปลูกในแหล่งและฤดูที่มีโรคนี้ระบาดมาก ถั่วเหลืองทั้ง 3 พันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อโรคราสนิมดีกว่าพันธุ์แนะนำอื่น ๆ

2. หลีกเลี่ยงการปลูกถั่วเหลืองปลายฤดูฝน

3. ไม่ควรปลูกถั่วเหลืองช้ำในที่เดิมตลอดปี

4. ในช่วงระยะออกดอกและเริ่มมีฝักเล็ก ควรหมั่นตรวจแปลง หากพบถั่วเหลืองแสดง อาการของโรคราสนิม และสภาพอากาศชื้น อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ อาจใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดเชื้อราฉีดพ่น ได้แก่ mancozeb_ oxycarboxin_ piperazin และ triadimefon

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัดโรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราสนิมของไม้ดอก บางชนิด ในประเทศไทย
โรคราสนิมของไม้ดอก บางชนิด ในประเทศไทย
ทำการเก็บตัวอย่างโรคราสนิมบนใบพืช ชบา ทานตะวัน พิกุล ลั่นทม และนางแย้ม นำไปบันทึกข้อมูลด้วยกล้องดิจิตอลและเครื่องสแกนเนอร์แล้วถ่ายภาพเชื้อจากสไลด์เชื้อราสาเหตุด้วยกล้องดิจิตอลที่ติดตั้ง microscope adapter นำข้อมูลภาพลักษณะอาการโรคและเชื้อสาเหตุไปประกอบข้อมูลอื่นๆในเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรม Microsoft word จัดหน้ากระดาษขนาด A4 ให้ข้อมูลภาพลักษณะอาการของโรค และภาพลักษณะสำคัญของเชื้อโรคประกอบด้วยด้วยข้อมูลอื่นๆของตัวอย่างโรคและแนะแนวทางในการป้องกันกำจัดโรค ประโยชน์ที่ได้รับ นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนวิชาด้านโรคพืช เช่นวิชาการวินิจฉัยโรคพืช ข้อมูลที่ได้ใช้เผยแพร่ให้เกษตรกรและนักวิชาการเกษตรได้เรียนรู้ชนิดของโรค เพื่อการควบคุมโรคพืชได้ง่ายขึ้น

ผลการวิจัยตรวจพบเชื้อราสนิมและส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อ ดังนี้

โรคราสนิมชบา : Puccinia sp พบระยะ uredinium_ urediniospore และราปฏิปักษ์ Darluca sp.
โรคราสนิมทานตะวัน : Puccinia helianthพบระยะ uredinium และ urediniospore
โรคราสนิมพิกุล : Maravalia mimusops พบระยะ uredinium และ urediniospore
โรคราสนิมลั่นทม : Coleosporium plumeriae. พบระยะ uredinium และ urediniospore
โรคราสนิมนางแย้ม : Endophyllum superficiale (Coleosporium clerodendri) พบ ระยะ uredinium และ urediniospore
ข้อมูลของโรคราสนิมทั้ง 5 ชนิดเมื่อรวบรวมในกระดาษขนาด A4 ดังภาพแสดง
ชื่อโรค ราสนิม (Rust) ชื่อพืช ชบา (Shoe Flower) ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus rosa-sinensis L.


คำอธิบายภาพ 1) ลักษณะอาการของโรค 2) ภาพขยายอาการของโรค 3) กลุ่มของ urediniospore ซึ่งเกิดอยู่ใน uredinium 4) กลุ่ม pycnidium ของ เชื้อรา Daluca filum ที่เข้าทำลาย ราสนิม 5) กลุ่มของสปอร์ (urediniospore)
ลักษณะอาการ : ระยะแรกเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆ บนใบ ต่อมาแผลจะขยายตามเส้นใบเป็นขีดเส้นสีน้ำตาลเข้มหรือสีสนิมรอบๆ จุดเป็นสีเหลืองอ่อนถ้ารุนแรงแผลจะติดต่อกันทั้งใบจนใบกลายเป็นสีแดงสนิมด้านล่างใบจะเป็นแผลนูนขรุขระกว่าด้านบนต่อใบเป็นสีน้ำตาลแห้งตายทั้งใบ
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Puccinia sp.
ลักษณะสำคัญของเชื้อสาเหตุ : เชื้อราอยู่ในระยะ uredinium ซึ่งสร้าง urediniospore ที่มีรูปร่างแบบ ellipsoid สีเหลืองส้มถึงสีน้ำตาล โรคราสนิมบางชนิดมักถูกทำลายอย่างรุนแรงโดยศัตรูธรรมชาติ เป็นเชื้อรา ชื่อ Darluca filum ทำลายสปอร์ระยะ urediniospore ทำให้ชะงักการสร้างสปอร์ จึงเป็นการควบคุมทางชีววิธีทางธรรมชาติอีกวิธีหนึ่ง
สถานที่พบ : จังหวัดกรุงเทพมหานคร วันที่ : 2 สิงหาคม 2549
วิธีการป้องกันกำจัด : เก็บใบที่เป็นโรคเผาทิ้ง ถ้าเป็นรุนแรงให้ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดราสนิม เช่น Triadimefon เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง : -
ชื่อโรค ราสนิม (Rust) ชื่อพืช ทานตะวัน (Sun Flower) ชื่อวิทยาศาสตร์ Helianthus annuus


คำอธิบายภาพ 1) ลักษณะอาการของโรค 2) ภาพขยายอาการของโรค 3) กลุ่มของ urediniospore ซึ่งเกิดอยู่ใน uredinium 4) และ 5) กลุ่มของสปอร์ (urediospore)
ลักษณะอาการ : ระยะแรกเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆ บนใบ ต่อมาแผลจะขยายตามเส้นใบเป็นขีดเส้นสีน้ำตาลเข้มหรือสีสนิมรอบๆ จุดเป็นสีเหลืองอ่อนถ้ารุนแรงแผลจะติดต่อกันทั้งใบจนใบกลายเป็นสีแดงสนิมด้านล่างใบจะเป็นแผลนูนขรุขระกว่าด้านบนต่อใบเป็นสีน้ำตาลแห้งตายทั้งใบ
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Puccinia helianthi
ลักษณะสำคัญของเชื้อสาเหตุ : เชื้อราอยู่ในระยะ uredinium ซึ่งสร้าง urediniospore ที่มีรูปร่างแบบ ellipsoid สีเหลืองส้มถึงสีน้ำตาล
สถานที่พบ : จังหวัดนครราชสีมา วันที่ : 15 กันยายน 2550
วิธีการป้องกันกำจัด : เก็บใบที่เป็นโรคเผาทิ้ง ถ้าเป็นรุนแรงให้ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดราสนิม เช่น triadimefon เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง : Hirutsuka_ N._ S. Sato_ M. Kakishima_ S. Kaneko_ T. Sato_ and T. Hirutsuka. 1992. The Rust Flora of Japan.
Tsukuba Shuppankai Press. Japan. 1206 p.
ชื่อโรค ราสนิม (Rust) ชื่อพืช พิกุล (Bullet wood) ชื่อวิทยาศาสตร์ Mimusops elengi Linn.


คำอธิบายภาพ 1) ลักษณะอาการของโรค 2) ภาพขยายอาการของโรค 3) กลุ่มของ urediniospore ซึ่งเกิดอยู่ใน uredinium 4) และ 5) กลุ่มของสปอร์ (urediospore)
ลักษณะอาการ : ระยะแรกเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆ บนใบ ต่อมาแผลจะขยายตามเส้นใบเป็นขีดเส้นสีน้ำตาลเข้มหรือสีสนิมรอบๆ จุดเป็นสีเหลืองอ่อนถ้ารุนแรงแผลจะติดต่อกันทั้งใบจนใบกลายเป็นสีแดงสนิมด้านล่างใบจะเป็นแผลนูนขรุขระกว่าด้านบนต่อใบเป็นสีน้ำตาล
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Maravalia mimusops
ลักษณะสำคัญของเชื้อสาเหตุ : เชื้อราอยู่ในระยะ uredinium ซึ่งสร้าง urediniospore ที่มีรูปร่างแบบ ellipsoid สีเหลืองส้มถึงสีน้ำตาล
สถานที่พบ : จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ : 5 มกราคม 2550
วิธีการป้องกันกำจัด : เก็บใบที่เป็นโรคเผาทำลาย ถ้าเป็นรุนแรงให้ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดราสนิม เช่น Triadimefon เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง : Thaung_ M.M. 2005. Rusts_ smuts and their allies in Burma. Australasian Mycologist 24(2): 29-45
ชื่อโรค ราสนิม (Rust) ชื่อพืช ลั่นทม (Temple tree) ชื่อวิทยาศาสตร์ Plumerica acuminate


คำอธิบายภาพ 1) ลักษณะอาการของโรค 2) ภาพขยาย uedinium 3) กลุ่มของ urediniospore ซึ่งเกิดอยู่ใน uredinium 4)-5) กลุ่มของสปอร์ (urediniospore) 6) ภาพขยาย urediniospore
ลักษณะอาการ : ระยะแรกเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆกระจัดกระจายบนใบ ด้านล่างใบจะเป็นแผลนูนสีสนิมทำให้ใบเป็นสีน้ำตาลแห้งตายทั้งใบ
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Coleosporium plumeriae.
ลักษณะสำคัญของเชื้อสาเหตุ : เชื้อราอยู่ในระยะ uredinium ซึ่งสร้าง urediniospore ที่มีรูปร่างแบบ ovaid สีเหลืองส้มถึงสีน้ำตาล
สถานที่พบ : กรุงเทพมหานคร วันที่ : 21 สิงหาคม 2549
วิธีการป้องกันกำจัด : เก็บใบที่เป็นโรคทำลาย ถ้าเป็นรุนแรงให้ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดราสนิม เช่น triadimefon เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง : To-anan_ C._ N. Visarahanonth_ J. Engkhaninun_ and M. Kakishima. 2004. First Report of plumeria rust_ caused by
Coleosporium plumeriae in Thailand. Nat. Hist. J. Chulalongkorn Univ. 4(1) : 41-46.
ชื่อโรค ราสนิม (Rust) ชื่อพืช นางแย้ม ชื่อวิทยาศาสตร์ Clerodendrum chinensis


คำอธิบายภาพ 1) ลักษณะอาการของโรค 2) ภาพขยายอาการของโรค 3)_4) และ 5) กลุ่มของ urediniospore ซึ่งเกิดอยู่ใน uredinium 6) สปอร์ (urediospore)
ลักษณะอาการ : ระยะแรกเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆ บนใบ ต่อมาแผลจะขยายตามเส้นใบเป็นขีดเส้นสีน้ำตาลเข้มหรือสีสนิมรอบๆจุดเป็นสีเหลืองอ่อนถ้ารุนแรงแผลจะติดต่อกันทั้งใบจนใบกลายเป็นสีแดงสนิมด้านล่างใบจะเป็นแผลนูนขรุขระกว่าด้านบนต่อใบเป็นสีน้ำตาลแห้งตายทั้งใบ
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Endophyllum superficiale (Coleosporium clerodendri)
ลักษณะสำคัญของเชื้อสาเหตุ : เชื้อราอยู่ในระยะ uredinium ซึ่งสร้าง urediniospore ที่มีรูปร่างแบบ ellipsoid สีเหลืองส้มถึงสีน้ำตาล
สถานที่พบ : จังหวัดกรุงเทพมหานคร วันที่ : 9 ตุลาคม 2549
วิธีการป้องกันกำจัด : เก็บใบที่เป็นโรคทำลาย ถ้าเป็นรุนแรงให้ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดราสนิม เช่น Triadimefon เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง : พัฒนา สนธิรัตน_ ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน_ ธนวัฒน์ กำแหงฤทธิรงค์_ วิรัช ชูบำรุง และอุบล คือประโคน. 2537.
ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. กลุ่มงานวิทยาไมโค. กองโรคพืชและจุลชีววิทยา. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. 285 น.

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัดโรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคบวบ ราน้ำค้างบวบ ราแป้งบวบ บวบใบไหม้ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคบวบ ราน้ำค้างบวบ ราแป้งบวบ บวบใบไหม้ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
บวบหอม บวบเหลี่ยม บวบขม บวบงู ซูกินี่ เป็นพืชระสั้น ได้ผลผลิตเร็ว สามารถปลูกหลังการปลูกข้าวโพด หรือหลังการทำนาได้ บวบ ก็มีปัญหาทางด้าน โรคและแมลงอยู่บ้าง ที่สามารถป้องกัน กำจัดได้ หากเข้าใจพื้นฐาน ของโรคพืช และแมลงศัตรูพืช

โรคราน้ำค้างของบวบ เป็นโรคประจำชนิดหนึ่งที่มักพบเสมอๆ เกิดจากราชั้นต่ำที่มีชื่อว่า ซูโดเพอเรอโนสปอร่า อาการมักแสดงบนใบ มีแผลเหลี่ยมเล็ก สีเหลือง บางครั้งเป็นแผลสีขาว หรือสีเทา ต่อมา ใบเหลือง แห้ง แผลจะเกิดในขอบเขตเส้นใบ เช่นเดียวกับแตงกวา

โรคราต่างๆนี้ ส่งผลให้ บวบ ติดผลน้อย ผลเล็ก ความหวานลดลง หากโรคราเหล่านี้ระบาดเร็ว จะส่งผลให้ใบเหลืองแห้งตายทั้งต้น เถาตายก่อนเก็บเกี่ยว

โรคราน้ำค้าง (downy mildew of grapes) มี Plasmopara viticola เป็นเชื้อราสาเหตุของโรค โรคราน้ำค้าง และแสดงอาการเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบ ด้านบนใบจะเป็นเป็นสีเหลืองจ้ำๆ ช่อดอก และผลอ่อนจะเหี่ยวแห้ง และมีอาการใบไหม้ โรคราน้ำค้าง ระบมาดมากในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ฤดูฝน

โรคราแป้ง (เชื้อรา Oidium sp.) พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราน้ำค้างบวบ #ราแป้งบวบ #ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
การปลูกบวบ
การปลูกบวบ
ในช่วงภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง ควรต้องระวังสุขภาพกันสักหน่อย เพราะทั้งหวัด ทั้งไข้ และไหนจะโรคภูมิแพ้หรือหอบหืดอีก อุบัติเหตุจากยวดยานก็เยอะ ก็คงต้องระมัดระวังกันนะค่ะ ทำร่างกายให้อบอุ่นไว้ หากไม่สบายแล้วจะเสียทั้งเวลาและเสียงานหมด

หากท่านรู้สึกอึดอัด คัดจมูก หรือเป็นหวัด ก็ลองใช้ยาแก้หวัดแบบโบราณดู อาจได้ผลดีก็ได้ แถมไม่มีผลข้างเคียงแต่อย่างใด

วิธีไล่หวัดแบบโบราณ

ผู้เฒ่าผู้แก่ ท่านบอกว่า เอาหัวหอมหรือหอมแดง มาปอกสัก 4-5 หัว ทุบให้พอแตก แล้วเอาน้ำตั้งไฟให้เดือด จากนั้นเอาหัวหอมใส่แล้วยกลง ให้เอาผ้าขาวม้าหรือผ้าขนหนูเช็ดตัวก็ได้ คลุมหัวแล้วก้มหน้าไปที่หัวหอมที่เราทำไว้ทันที ระวังอย่าเอาหน้าไปใกล้มาก เพราะไอน้ำที่ยังร้อนอยู่จะลวกหน้าเอา สูดเอากลิ่นหัวหอมเข้าช้าๆ ลึกๆ เรื่อยๆ จนหมดกลิ่น หรือจนน้ำนั้นเย็น จะทำให้ท่านโล่งจมูก

อาหารโบราณอีกอย่างหนึ่งตอนหน้าฝนที่ทำง่ายๆ และอร่อยด้วย และรับรองว่าหาคนเคยกินยาก จะเป็นขนมหวานก็ไม่เชิง กินกับข้าวก็อร่อย กินเปล่าๆ ก็อร่อย ซึ่งมันก็คือ บวบต้มน้ำตาลนั่นเอง!! ทุกท่านเคยได้ยินกันบ้างหรือป่าว!! และส่วนใหญ่จะบอกว่าไม่รู้จักเลย… สำหรับวิธีการทำก็ไม่ได้ยากอะไร

เริ่มแรก โดยการนำเอาบวบเหลี่ยมหรือบวบหอมก็ได้ มาปอกเปลือกออกแล้วล้างสักหน่อย จากนั้นให้ฝานเป็นชิ้นๆ พอคำ อย่าให้ใหญ่มาก (หั่นเหมือนกับจะผัดนั่นแหล่ะค่ะ) เอาน้ำใส่หม้อตั้งไฟให้เดือด (ใช้หม้อเล็กๆ ก็พอ อย่าทำทีละมากๆ เพราะต้องกินร้อนๆ จึงจะอร่อย)

เมื่อน้ำเดือดพล่านแล้ว ให้เอาน้ำตาลมะพร้าวหรือน้ำตาลปี๊บ ปริมาณของน้ำตาลก็ให้กะเอาขนาดเท่าหัวแม่มือเรา

หากน้ำในหม้อมีอยู่ประมาณสักสองชามแกง ใช้น้ำตาลเท่าหัวแม่มือโตๆ จะอร่อยดี เอาน้ำตาลใส่ลงในน้ำเดือด พอน้ำตาลละลายหมดก็เอาบวบใส่ลงไปพอประมาณ รอจนบวบสุก แต่อย่าให้เปื่อย กะว่าพอใส่บวบลงไปสักพัก แล้วน้ำเดือดอีกครั้งก็ยกลง

ทีนี้ก็ตักใส่ถ้วยนั่งซดกันร้อนๆ อร่อย และยังไล่หวัด แถมให้ความอบอุ่นได้ดีอีกด้วย ได้ประโยชน์ทางยาด้วย

เพราะบวบนั้น มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ช่วยเจริญอาหาร เป็นกากใยอีกด้วย ใช้กินคู่กับอาหารรสเผ็ดๆ ก็ดี เช่น กินน้ำพริกผักจิ้ม แล้วซดบวบต้มน้ำตาลร้อนๆ ตามไป รับรองอร่อยเหาะเลยค่ะ

มาปลูกไว้กินเองค่ะ

บวบ เป็นผักพื้นบ้านที่มีความหลากหลายทางสายพันธุ์ และก็เป็นผักพื้นบ้านที่น่าปลูกมากอีกอย่างหนึ่ง บวบเป็นผักที่มีแคลเซียม เหล็ก และฟอสฟอรัสมาก รวมทั้งกาก (fiber) ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ อีกทั้งการปลูกก็ง่าย และเลือกสายพันธุ์ปลูกได้หลายสายพันธุ์อีกด้วยนะคะ

วิธีการปลูกบวบ ไม่ว่าท่านจะเลือกปลูกบวบหอม หรือบวบเหลี่ยม นั้น มีขั้นตอนการปลูกที่คล้ายๆ กัน และบวบทั้งสองชนิดนี้เป็นพืชที่ต้องใช้ค้างช่วย เพราะบวบเป็นไม้เถา การปลูกบวบนอกจากต้องเตรียมดินแล้ว ท่านยังต้องเตรียมไม้ไผ่ไว้ทำค้างให้บวบเลื้อยพันอีกด้วย ซึ่งก็หาซื้อได้แถวๆ ที่เขาขายต้นไม้ ดินปลูก ปุ๋ย หรืออุปกรณ์ปลูกต้นไม้นั่นแหล่ะ!!

เริ่มแรก ต้องเตรียมดินกันก่อน โดยพรวนดินให้ร่วนซุย แล้วผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักสักหน่อย จากนั้นก็ยกร่อง ตากดินไว้สัก 1 สัปดาห์ จากนั้นก็ขุดหลุมให้ลึกสักฝ่ามือ แล้วเอาเมล็ดพันธุ์บวบหยอดลงไป 3-5 เมล็ด กลบด้วยดินร่วนที่ผสมปุ๋ยไว้แล้ว รดน้ำให้ชุ่ม คลุมหลุมด้วยหญ้าหรือฟางพอประมาณ รดน้ำให้ชุ่มสม่ำเสมอทุกวัน เช้า-เย็นยิ่งดี จะทำให้งอกเร็วขึ้น

เมื่อต้นกล้าบวบงอกขึ้นมามีใบจริงสัก 2 ใบ ให้ถอนต้นกล้าหรือต้นอ่อนที่ไม่แข็งแรงทิ้งไป ให้เหลือเพียงหลุมละ 2 ต้น ก็พอ จะได้โตดี เมื่อบวบเริ่มเลื้อยก็ให้ทำค้างให้บวบเลื้อยขึ้นพัน

ส่วนท่านที่ใช้กระถางปลูกบวบ ก็ให้เอาดินถุงที่ซื้อมา ผสมกับใบไม้แห้งและปุ๋ย เคล้าให้เข้ากัน แล้วแหวกให้เป็นหลุม เอาเมล็ดบวบหยอดลงไปสัก 3-4 เมล็ด แล้วกลบดิน คลุมด้วยฟางหรือหญ้า รดน้ำให้ชุ่ม ตั้งไว้ในที่ที่โดนแดดตอนเช้า ไม่นานต้นกล้าบวบก็จะงอกขึ้นมา

พอมีใบจริงสัก 2 ใบ ก็ถอนต้นที่ไม่แข็งแรงออกไป และรดน้ำไปเรื่อยๆ พอต้นเริ่มทอดยอดจะเลื้อย ก็เอาไม้ไผ่มาปักคร่อมเป็นสามเส้าทำเป็นค้างให้บวบเลื้อยพันได้

การปลูกบวบต้องหมั่นรดน้ำให้สม่ำเสมอ เพราะบวบเป็นพืชที่ชอบน้ำ ไม่นานก็จะมีลูกบวบที่ออกลูกห้อยระย้า ทีนี้ก็เก็บไปผัด ไปแกง หรือไปทำเมนูอื่นๆ ตามใจท่านแหละกันค่ะ

ชนิดของบวบไทย
พืชผักที่คนไทยเรียกกันว่า บวบ นั้น มีหลายชนิด แต่อยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ cucurbitaceac และเป็นไม้เถา ดอกสีเหลืองเช่นเดียวกัน เช่น

1. บวมเหลี่ยม นิยมปลูกทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ส่วนชื่อเรียกก็ตามแต่ละภูมิภาคท้องถิ่นนั้นๆ

2. บวมหอม หรือ บวมกลมนิยมปลูกในภาคเหนือและอีสานมากกว่าภาคอื่นๆ

3. บวมขมเป็นบวบชนิดเดียวกับบวบหอม แต่บวบผลเล็ก สั้น และมีรสขมมาก มักขึ้นเองในป่า หรือตามที่รกร้างว่างเปล่า ไม่ใช่กินเป็นผัก แต่ใช้เป็นยาหรือประโยชน์ด้านอื่น

4. บวบงูมีลักษณะกลม ยาว ปลายแหลมและบิด สีผลเขียวลายขาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียอาคเนย์และจีน นิยมปลูกทั่วไปโดยเฉพาะภาคอีสาน ภาคเหนือ

5. บวบหอม และบวมงู ใช้ปรุงอาหารได้คล้ายคลึงกับบวบเหลี่ยม เพียงแต่มีกลิ่น รส แตกต่าง ออกไปบ้าง ขึ้นอยู่กับผู้กินว่าจะชอบชนิดใดมากกว่ากัน

มากด้วยคุณค่า และสารพัดประโยชน์
บวบมีหลายชนิดและใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง แต่คนไทยรู้จักบวบในฐานะเป็นผักอย่างหนึ่งมากที่สุด บวบเหลี่ยมนับเป็นผักที่รู้จักแพร่หลาย หาซื้อได้ในตลาดทั่วประเทศไทย และมีให้กินได้ตลอดปี

ผลอ่อนของบวบเหลี่ยมใช้ประกอบอาหารได้หลายประเภท เช่น ใช้เป็นผักจิ้มกับเครื่องจิ้มต่างๆ เช่น น้ำพริกปลาร้า กะปิ ปลาเจ่า และอื่นๆ ได้อีกหลายเมนู (คนใต้มักจะนำเอาผลอ่อนของบวบเหลี่ยมมาจิ้มกินกับน้ำพริก หรือเหนาะแกงใต้รสเผ็ดๆ)

สำหรับคนทางภาคอีสานบางท้องถิ่น เขามักจะใช้ยอดอ่อนของบวบเป็นผัก เช่น นำไปนึ่ง ลวก แล้วเอามาจิ้มกับน้ำพริกปลาร้า หรือใส่ในแกงอ่อม แกงเหน่อไม้ใบย่านาง และอื่นๆ ได้อีกหลายเมนู ต้องขอบอกว่าแซบดีอยู่เด้อค่า

นอกจากใช้เป็นผักแล้ว บวบยังมีประโยชน์ต่อมนุษย์อีกหลายประการ เช่น เมื่อผลบวบแก่จนแห้งแล้วจะมีเส้นใยที่เหนียว โปร่ง และยืดหยุ่นได้ดี นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ใช้ถูตัวแทนฟองน้ำ ซึ่งปัจจุบันนิยมใช้กันมาก (งานโอท็อปมีเยอะมากค่ะ)

สมัยเด็กๆ ผู้เขียนยังพอจำความได้ว่า แม่จะนำใยบวบแก่มาตากแดดให้แห้ง จากนั้นนำมาตัดเป็นแผ่นๆ แล้วให้เอามาขัดถูล้างถ้วย ชาม แทนฝอยขัดชนิดต่างๆ และก็ใช้ได้ดีอีกด้วยค่ะ ซึ่งพอเลิกใช้แล้วก็เอาไปใส่ต้นไม้ ปล่อยให้มันย่อยสลายเส้นใยไปตามธรรมชาติเอง

ในสมัยปัจจุบัน ยังมีการนำมาใช้ตกแต่งเป็นดอกไม้ประดิษฐ์รูปแบบต่างๆ ได้อีกด้วย รวมทั้งใช้รองป้านชา และยัดในรองเท้า เพื่อรักษารูปทรงได้

ประโยชน์หลักอีกด้านหนึ่งของบวบที่ทุกท่านรับรู้ก็คือ ด้านสมุนไพร เช่น ในประเทศจีนเขาจะนำผลบวบแก่มาเผาให้เป็นเถ้า (นิยมใช้บวบหอม) แล้วนำมาใช้เป็นยาถ่ายพยาธิและยาขับลม น้ำคั้นจากผลสดใช้เป็นยาระบาย เมล็ดแก่ ใช้ทำให้อาเจียนและเป็นยาถ่าย และน้ำมันที่บีบจากเมล็ดยังใช้ทาแก้โรคผิวหนังได้อีกด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในบวบ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
การปลูกมะระ
การปลูกมะระ
มะระ (Bitter Gourd) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Momordica charantia

มะระเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลแตง (Cucurbitaceae) เป็นพืชเมืองร้อน มักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้น และดินแดนแทบทุกชนิดแต่เจริญเติบโตได้ดีในดินร่อนปนทรายที่มีการระบายน้ำดี pH ระหว่าง 5.5-7.2 มะระเป็นพืชฤดูเดียว มีการเจริญแบบเลื้อย มีลำต้นเป็นเถา มีมือเกาะช่วยพยุงลำต้น เมื่อปลูกจึงต้องทำค้างมีดอกตัวผู้และตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน เป็นพืชที่ต้องการความเอาใจใส่มาก เพราะมีแมลงหลายชนิดคอยรบกวน หากขาดความเอาใจใส่เรื่องการป้องกันกำจัดแมลง การปลูกมะระจะไม่ได้ผล ไม่คุ้มกับการลงทุน

มะระสามารถแบ่งได้ 2 ประเภทดังนี้
1. มะระจีน ผลยาวใหญ่ เนื้อหนา ส่วนใหญ่มีน้ำตาทางยาวสลับน้ำตาละเอียด
2. มะระขี้นก ผลเล็ก น้ำตาแหลม เนื้อบาง

การเพาะกล้า
เตรียมวัสดุเพาะกล้า แล้วนำเมล็ดที่รากงอกแล้วไปเพาะในหลังจากต้นกล้างอก รดน้ำให้ชุ่ม
ควรทำหลังคาพลาสติกป้องกันฝน ถ้าต้นกล้าไม่สมบูรณ์ให้รดด้วยปุ๋ย 21-0-0 อัตรา 50 กรัม/น้ำ 20 ลิตรแล้วรดน้ำล้างใบ ควรรดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ

การเตรียมแปลง
ถ้าดินมีสภาพเป็นกรดควรใส่ปูนขาวอัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนการไถพรวน การไถครั้งแรกควรเป็นการไถพลิกดิน แล้วตากทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เพื่อเป็นการลดปริมารณวัชพืช ทำการหว่านปุ๋ยตรากระต่าย 15-15-15 อัตรา 50-80 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ปุ๋ยคอก 1 ตันต่อไร่ แล้วใช้จอบหมุนพรวนกลบ (ไม่ควรไถพรวนดินจนแตกย่อย เพราะจะทำให้ดินแน่นในภายหลัง รากพืชจะไม่สามารถหยั่งได้ลึกเพียงพอ) ยกแปลงเป็นแปลงคู่ระยะระหว่างแปลงกว้าง 2-3 เมตร ร่องน้ำ 0.5 เมตร ปลูกแปลงละ 1 แถวระยะระหว่างต้น 100 cm.(เหมือนบวบ) รองก้นหลุมด้วยปุ๋ย 15-15-15

การย้ายกล้า
เมื่อต้นกล้ามีอายุประมาณ 2 สัปดาห์ ควรย้ายปลูกในเวลาเย็น เมื่อปลูกเสร็จควรรดน้ำทันทีช่วงแรกควรรดน้ำให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ

การห่อผล
เมื่อมะระออกดอกและติดผลขนาดโตยาวประมาณ 3 นิ้ว ควรใช้กระดาษทำเป็นถุง ขนาด 15 x 30 ซม. ปากถุงเปิดทั้งสองด้าน นำถุงที่ได้สวมผลมะระแล้วใช้ไม้กลัดๆปากถุงให้แขวนอยู่บนก้านของผล การห่อผลนี้จะช่วยไม่ถูกรบกรวนจากแมลงศัตรูพืชและยังทำให้ผลมีสีเขียวอ่อนน่ารับประทาน

การให้น้ำ
มะระเป็นพืชที่ต้องการน้ำมาก ต้องให้น้ำเช้า-เย็นทุกวัน ยกเว้นที่ฝนตก ต้นมะระยิ่งโตยิ่งต้องการน้ำมาก การให้น้ำต้องให้โดนยอดและโดยใบ โดยเฉพาะในช่วงติดผล ซึ่งอายุประมาณ 35-40 วัน มะระจะขาดน้ำไม่ได้เลย เพราะถ้าขาดน้ำลูกจะคดงอเหี่ยวไม่สมบูรณ์ มะระต้องการน้ำก็จริง แต่ไม่ควรให้น้ำขังแฉะในแปลง เพราะจะทำให้เน่าตายได้ ฉะนั้นในแปลงปลูกจึงควรมีทางระบายน้ำด้วย

การให้ปุ๋ย
การใส่ปุ๋ยแยกใส่ระยะตามความต้องการของมะระ คือ
· ปุ๋ยรองพื้น ปุ๋ยคอก 1 ตัน/ไร่ และปุ๋ยตรากระต่ายสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่
· อายุ 15-20 วัน หลังจากย้ายกล้าปลูก ใช้ปุ๋ยตรากระต่ายสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ โดยรอบโคน
· เริ่มติดลูกชุดแรก อายุประมาณ 40-45 วัน ใช้ปุ๋ยตรากระต่ายสูตร 15-15-15 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่
· เก็บเกี่ยวผลผลิต 2-3 ครั้ง อายุประมาณ 65-70 วัน ใช้ปุ๋ยตรากระต่าย สูตร 15-15-15

การเก็บเกี่ยว
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 45-50 วันหลังหยอดเมล็ดและแล้วแต่สายพันธุ์

โรคราน้ำค้าง
เกิดจากเชื้อรา Pseudoperospoa cubensis ระบาดในช่วงอุณหภูมิต่ำและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสูง ในระยะแรกแผลเป็นสีน้ำตาล ช้ำน้ำระหว่างเส้นใบ แผลเป็นเหลี่ยม ในระยะการระบาด เมื่อพลิกใบจะเห็นสปอร์สีดำและเส้นใยสีขาวในบริเวณแผล เมื่อระบาดหนักใบจะแห้งกรอบบริเวณขอบใบ ทำให้พืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ถ้าเป็นมากใบ เถาจะแห้งและตายในที่สุด ทำให้ผลผลิตลดลง

โรคราแป้ง
เกิดจากเชื้อรา Oidium ซึ่งสร้างสปอร์สีขาวคล้ายผงแป้งเคลือบอยู่บนใบและหลุดปลิวแพร่ระบาดไปในอากาศได้ง่าย เกิดเส้นใยสีขาวคล้ายผลแป้งโดยเฉพาะด้านบนใบและตามผล แผลมีลักษณะเป็นจุดกลมสีขาว ซึ่งจะขยายออกไปจนคลุมเต็มใบ ทำให้ใบแห้งกรอบเป็นสีน้ำตาล ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและทำให้ใบแห้งหมดทั้งเถา โรคนี้มักพบบนใบแก่ระบาดมากปลายฤดูฝนต่อกับต้นฤดูหนาว

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างมะระ และ โรคราแป้งมะระ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคเชื้อราต่างๆในพืช

บำรุงมะระ ให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลิต ฉีดพ่น FK-1
มะระขี้นก
มะระขี้นก
มีข้อมูลว่ามะระขี้นกเป็นสมุนไพรที่ใช้กันมานานนับพันปี ในเอเชีย อาฟริกา และละตินอเมริกา ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวรวมกับข้อมูลการค้นคว้าถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกที่ได้มีการค้นคว้ากันมากในอดีตพอจะสรุปได้ว่า ถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกนั้นอยู่ในเขตร้อนของเอเชียและทางตอนเหนือของแอฟริกาเขตร้อน ซึ่งอาจรวมไปถึงเขตร้อนในอเมริกาใต้หรือแถบประเทศลาตินอเมริกาอีกด้วย เพราะในปัจจุบันนั้นมะระขี้นกสามารถเพาะปลูกหรือมีให้เห็นได้ในประเทศเขตร้อนชื้น เช่น ประเทศในแถบอเมริกาใต้ เช่น บราซิล _ อาร์เจนตินา _ ปารกวัย ฯลฯ แอฟริกาตะวันออก เช่น เคนยา _ แทนซาเนีย _ อูกานดา ฯลฯ และเอเชีย เช่น พม่า _ ไทย _ ลาว _ กัมพูชา เป็นต้น

ชื่ออื่น ๆ / ชื่อท้องถิ่น มะไห่ _ มะห่อย _ ผักไห่ _ ผักไซ (ภาคเหนือ) _ มะระหนู _ มะร้อยรู (ภาคกลาง) _ ผักสะไล _ ผักไส่ (ภาคอีสาน) _ ระ (ภาคใต้) _ ผักไห (นครศรีธรรมราช) _ ผักเหย (สงขลา) _ สุพะซู _ สุพะซู _ สุพะเด (กะเหรี่ยง - มะฮ่องสอน) _ โกควยเกี๋ย _ โคงกวย (จีน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantin Linn
ชื่อสามัญ Bitter cucumber_ Balsam pear_ Balsam apple_ Bitter melon_ Bitter gourd_ Carilla fruit
วงศ์ Cucurbitaceae

ประโยชน์สรรพคุณของมะระขี้นก
แก้ท่อน้ำดีอักเสบ
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ช่วยแก้ไข แก้ตัวร้อน ดับพิษร้อน แก้ปากเปื่อย เป็นขุม
แก้พิษฝี
บำรุงน้ำดี แก้ตับม้ามพิการ
แก้อักเสบฟกบวม แก้ปวดเนื่องจากลมคั่งในข้อ
แก้หอบหืด
ช่วยบำรุงร่างกาย บำรุงโลหิตระดู
แก้ตับม้ามอักเสบ
ช่วยขับพยาธิ
แก้เจ็บปวดจากพิษต่างๆ
เป็นยาระบายอ่อนๆ
แก้เบาหวาน
แก้ไข้หวัด
ช่วยต้านไวรัสเอดส์ ต้านมะเร็ง
ใบช่วยสมานแผล
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด และเป็นยาระบาย
ช่วยป้องกันและรักษาโรคมาลาเรีย
รักษาอาการอาการกรดไหลย้อนหรือแผลในกระเพาะอาหาร
ลดการสร้างน้ำตาลจากตับ เสริมการเผาผลาญน้ำตาล


มะระขี้นกสามารถนำมารับประทาน หรือนำมาประกอบเป็นอาหารได้ เช่น ใบอ่อน ยอดอ่อน และผลอ่อน นึ่งหรือลวกให้สุก รับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริกปลาร้า น้ำพริกปลาทู น้ำพริกตาแดง และยังสามารถใช้เป็นส่วนผสมของแกงแค และคั่วแคได้มะระขี้นกมีรสขมมากกว่ามะระจีน จึงนิยมกินในหมู่ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ผลอ่อนนำไปต้มหรือเผากินได้ทั้งลูก ผลแก่ต้องนำมาผ่ากลาง คว้านเมล็ดออกเสียก่อน การลดความขมของมะระขี้นกนั้นทำได้โดยต้มน้ำให้เดือดจัด ใส่เกลือสักหยิบมือ ลวกมะระในน้ำเดือดสักครู่ แต่มะระจะยังคงมีผลสีเขียวสด การปรุงแกงจืดมะระขี้นกยัดไส้หมูสับ ต้องต้มนานหน่อยให้ความขมจางลง หรือปรุงอาหารเผ็ด เช่น พะแนงมะระขี้นกยัดไส้ หรือเป็นแกงเผ็ดก็ได้ ถ้าจะนำไปปรุงอาหารผัด เช่น ผัดกับไข่ ให้ต้มน้ำแล้วเททิ้งหนึ่งครั้ง หรือคั้นกับน้ำเกลือแล้วล้างออกเพื่อลดความขมก็ได้ อีกทั้งสมัยโบราณมีการนำมะระขี้นกมาปรุงเป็นกับข้าวต้มเค็มกินด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัด โรคมะระขี้นก ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น มะระขี้นกใบไหม้ โรคราแป้งมะระขี้นก โรคราน้ำค้างมะระขี้นก

FK-1 ฉีดพ่นมะระขี้นก เพื่อ บำรุง เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต เสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคและแมลง
โรคซูกินี่ (Zucchini) ราแป้งซูกินี่ ราน้ำค้างซูกินี่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคซูกินี่ (Zucchini) ราแป้งซูกินี่ ราน้ำค้างซูกินี่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้าง (downy mildew of grapes) มี Plasmopara viticola เป็นเชื้อราสาเหตุของโรค โรคราน้ำค้าง และแสดงอาการเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบ ด้านบนใบจะเป็นเป็นสีเหลืองจ้ำๆ ช่อดอก และผลอ่อนจะเหี่ยวแห้ง และมีอาการใบไหม้ โรคราน้ำค้าง ระบมาดมากในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ฤดูฝน

โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.) พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

การป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้าง
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างบวบ #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ
|-Page 289 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เพลี้ยในแตงกวา: กลยุทธ์และวิธีการควบคุมเพื่อรักษาความสมบูรณ์และผลผลิต
Update: 2566/11/14 12:34:04 - Views: 309
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
Update: 2564/08/09 05:46:38 - Views: 3772
ยากำจัดหนอนชวนชม หนอนกินใบ และหนอนต่างๆ ต้นชวนชม ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/29 03:30:57 - Views: 3374
3 หลักปฏิบัติ กำจัด โรคใบด่างมันสำปะหลัง โดย กรมส่งเสริมการเกษตร
Update: 2563/06/15 10:14:35 - Views: 2969
อะโวคาโด้ ผลใหญ่ ผลดก ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/29 10:32:42 - Views: 82
3 สมาคมโรงงานน้ำตาล จัดโครงการสร้างความเข้าใจให้สถาบันการเงิน หนุนความเชื่อมั่น สร้างความแข็งแกร่งระยะยาวให้กับอุตสาหกรรม
Update: 2563/06/30 09:37:31 - Views: 3051
พุทรา ใบไหม้ ราแป้ง ราดำ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในพุทรา ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
Update: 2565/11/09 11:57:22 - Views: 3018
เพลี้ยศัตรูพืชในต้นมะกรูด การควบคุมและป้องกันการระบาดของพลี้ย
Update: 2566/11/09 10:21:53 - Views: 501
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ให้เหมาะกับดิน และสภาพพื้นที่ปลูก
Update: 2564/08/31 21:55:46 - Views: 4653
การใช้สารอินทรีย์ และ ธาตุอาหารพืช เพื่อต่อสู้และป้องกัน โรคข้าวใบไหม้ อย่างได้ผล
Update: 2566/01/07 12:37:38 - Views: 3053
การควบคุมวัชพืชในสวนพุทราด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:18:18 - Views: 151
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยจักจั่น ในถั่วลิสง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/06 13:12:22 - Views: 3020
โรคราน้ำค้างแตงโม แตงโมใบไหม้ โรคเชื้อราในแตงโม ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/26 10:43:05 - Views: 3150
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท
Update: 2563/05/07 20:49:32 - Views: 3001
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
Update: 2565/07/25 07:21:31 - Views: 3285
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้และใบจุดในมะขามหวานด้วย ไอเอส และ FK-1 เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด
Update: 2566/02/22 08:40:34 - Views: 3023
การไถกลบตอซัง เพื่อปรับปรุงดินและเพิ่มผลผลิตข้าว
Update: 2564/08/24 01:25:40 - Views: 3256
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: เทคโนโลยีช่วยปรับปรุงดินและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช สำหรับผักกวางตุ้ง
Update: 2567/02/13 09:29:27 - Views: 163
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 7924
ควบคุมวัชพืชในสวนพริกด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและรักษาสวนพริก
Update: 2567/02/13 09:22:56 - Views: 165
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022