[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ

โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
เตือนเกษตรกรชาวสวนกล้วยทุกภาคของประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดในเขตภาคใต้ เช่นจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และภาคเหนือแถบชายแดนประเทศพม่า เช่น จังหวัดเชียงรายโดยเฉพาะแหล่งปลูกกล้วยหอม ที่สำคัญ เฝ้าระวังโรคเหี่ยวสายพันธุ์ TR4 ในกล้วยหอม ซึ่งเป็นโรคพืชกักกันไม่เคยพบการระบาดในประเทศไทยมาก่อน และกำลังแพร่ระบาดอยู่ในหลายประเทศแถบอาเซียน ได้แก่ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย จีน ไต้หวัน อินเดีย ปากีสถาน และเมียนมา

ดังนั้น เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยโดยเฉพาะกล้วยหอมเขียวหรือกล้วยหอมคาเวนดิชซึ่งเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคเหี่ยว ควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ าเสมอ เมื่อสงสัยว่ากล้วยอาจเป็นโรคนี้ระบาด ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัด เพื่อตรวจสอบวินิจฉัยการระบาด และแจ้งให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป และขอให้เกษตรกรห้ามนำพันธุ์กล้วยที่มาจากประเทศที่พบการระบาดเข้ามาปลูกในประเทศไทยโดยเด็ดขาด

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Fusarium oxysporum f. sp. cubense Tropical race four (TR4)

ลักษณะอาการ

โรคนี้เกิดจากระบบท่อลำเลียงของพืชถูกทำลาย โดยเชื้อเข้าสู่รากและแพร่กระจายสู่ระบบท่อน้ำพืช เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการเนื้อเยื่อตายเป็นสีน้ำตาลในท่อลำเลียงของลำต้นเทียมกล้วย และลุกลามขึ้นสู่ก้านใบอาการภายนอกทำให้โคนใบแก่ด้านนอกมีสีซีดเหลือง และผืนใบเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลโดยเริ่มจากขอบใบเข้าสู่กลางใบ และใบหักพับภายใน ๑ - ๒ สัปดาห์ ทำให้เห็นอาการใบเหลืองจากใบล่างขึ้นไป ต่อมาใบและกิ่งเริ่มเหี่ยว และร่วง เซลล์ตามขอบใบตาย และทำให้ต้นตายในที่สุด บางครั้งอาจพบอาการผลอาจเน่าและร่วง รากอาจจะเจริญออกทางด้านข้างและเน่าภายหลัง

การแพร่ระบาด

การแพร่กระจายของเชื้อเกิดจากการน าเอาเหง้าหรือส่วนขยายพันธุ์ที่ติดเชื้อไปปลูกนอกจากนั้นเชื้อยังติดไปกับดิน เศษซากพืช หรือ น้ำที่ท่วมขังแปลง ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค คือพันธุ์พืชที่อ่อนแอความชื้นในดินสูง การระบายน้ำในดินต่ำ เชื้อรา Fusarium สายพันธุ์ TR4 มีความสามารถอยู่รอดในดินได้นานมากกว่า ๑๕ ปี

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะน าวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้

๑. หมั่นส ารวจแปลงอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
๒. หากต้องการปลูกกล้วยในพื้นที่ใหม่ ควรเลือกแปลงปลูกที่ไม่เคยพบโรคนี้มาก่อน
๓. ปรับสภาพดินไม่ให้เป็นกรดจัด โดยใส่ปูนขาว หรือโดโลไมท์
๔. รองก้นหลุมปลูกด้วยเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ ใช้เชื้อสดผสมกับรำข้าวละเอียดและปุ๋ยอินทรีย์(ปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยคอกเก่า) ในอัตราส่วน ๑ : ๔ : ๑๐๐ โดยน้ าหนักอัตรา ๑๐๐ - ๒๐๐ กรัมต่อหลุม
๕. ควรเลือกหน่อกล้วยจากแหล่งปลูกที่ไม่เคยมีการระบาดของโรคนี้ หรือไม่น าหน่อพันธุ์จากต้นตอที่เป็นโรคไปปลูก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคกล้วย โรคตายพราย โรคใบจุดกล้วย
โรคกล้วย โรคตายพราย โรคใบจุดกล้วย
โรคกล้วย โรคตายพราย โรคใบจุดกล้วย
โรคตายพราย (Panama disease หรือ Fusarium wilt) เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sp. Cubense เข้าทำลายราก และมีการเจริญเข้าไปในท่อน้ำ ท่ออาหาร ทำให้เกิดอุดตัน ใบจึงมีอาการขาดน้ำ เหี่ยวเฉา และเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หักพับ การเจริญจะชะงักงัน และตายในที่สุด โรคนี้สามารถระบาดไปทางดิน ดังนั้นต้นที่อยู่ในบริเวณนั้นจะถูกโรคนี้ทำลายหมด จึงควรทำความสะอาดโคนกอกล้วย อย่าให้รก ทำทางระบายน้ำให้ดี

โรคใบจุด (Leaf spot) โรคใบจุด มีหลายชนิด เช่น โรคซิกาโตกาสีเหลือง เฟโอเซปทอเรียใบจุด ใบจุดสีดำ ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีกระ แต่ละโรคเกิดจากเชื้อราต่างชนิดกัน ส่วนใหญ่โรคที่พบในกล้วยหอมทอง คือ โรคเฟโอเซปทอเรียใบจุด เกิดจากเชื้อรา Phaeoseptoria musae ลักษณะอาการคือ ใบเกิดเป็นจุดเล็กขนาดเท่าหัวเข็มหมุด สีน้ำตาลดำ รูปร่างยาวรี เมื่อความชื้นเหมาะสมแผลตรงกลางจะแห้งเป็นสีน้ำตาลอ่อนปนเทา ขอบแผลเป็นแถบสีน้ำตาลเข้ม และรอบนอกเป็นสีเหลือง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคใบจุดของกล้วยหอมทอง
โรคใบจุดของกล้วยหอมทอง
โรคใบจุดของกล้วยหอมทอง
ลักษณะอาการโรคใบจุด จะเป็นจุดสีน้ำตาล และขยายขนาดออกตามความยาวของเส้นใบ ซึ่งจะส่งผลผกระทบต่อปริมาณและคุณภาพของผลผลิต

1. เริ่มแรกเป็นจุดสีน้ำตาลเข้มถึงดำ (เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร)

2. ขยายขนาดตามความยาวของเส้นใบ มีรูปร่างไข่หรือรี สร้างวงเเหวนสีเหลืองล้อมรอบแผล และบริเวณกลางแผลมีอาการเนื้อเยื่อตายเป็นสีเทาเมื่ออายุเเผลมากขึ้น

3. เมื่อเเต่ละเเผลขยายขนาดเชื่อมต่อกันจะปรากฏลักษณะอาการไหม้เป็นสีน้ำตาลเข้มผืนใหญ่ ส่วนมากมักพบอาการไหม้จากขอบใบและมักเริ่มจากปลายใบ

การระบาดของโรคใบจุดกล้วยหอมทอง

- พบการระบาดในช่วงฤดูฝน (มีความชื้นสัมพัทธ์ในแปลงมากกว่า 80%)

- การตัดเเต่งใบกล้วยเเล้วสุมไว้ข้างๆต้น ทำให้เชื้อราเกิด การเเพร่กระจายอย่างต่อเนื่อง

- สภาพอากาศมีความชื้นสูงทำให้สร้างส่วนขยายพันธุ์ (สอปร์) ได้จำนวนมาก

- สปอร์ของเชื้อราปลิวไปทำลายบริเวณใบล่างของต้นกล้วยข้างเคียง

- ใช้หน่อกล้วยจากแปลงที่เป็นโรคมาปลูกในเเปลงอื่นๆ ทำให้เชื้อราเเพร่กระจายเป็นปริมาณกว้าง

การป้องกัน กำจัด โรคใบจุดกล้วยหอมทอง

1. สำรวจแปลงกล้วยตัดใบที่เป็นโรคนำไปเผาทำลายให้ไกลเเหล่งปลูก เพื่อขจัดเเหล่งสะสมของเชื้อราเนื่องจากเชื้อรามีชีวิตอยู่ได้ในซากใบกล้วยที่ตายเเล้ว

2. กำจัดวัชพืชใต้ทรงพุ่มของต้นกล้วย เพื่อลดความชื้นในเเปลงเนื่องจากเชื้อราสาเหตุของโรคจะเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชื้นสูง

3. ฉีดพ่นสารป้องกัน กำจัด และยับยั้งโรคโรคพืชจากเชื้อรา

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและกำจัดโรคพืช จากเชื้อรา ใช้ ฉีดพ่น เพื่อป้องกัน และยับยั้งการระบาดของ โรคใบจุดกล้วยหอมทอง
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
แก้วมังกร จะพบโรคจุดสีน้้าตาลระบาด อาการเริ่มแรกที่กิ่งและผลเป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กๆ สีน้้าตาลคล้ายสีสนิมเหล็ก บางครั้งพบแผลสีเหลืองฉ่้าน้้า เมื่ออาการรุนแรงแผลจะเน่า โดยถ้าเป็นที่กิ่งจะท้าให้เนื้อเยื่อตรงแผลหลุดเห็นเป็นรูหรือเว้าแหว่ง ส้าหรับผลถ้าอาการรุนแรงจะท้าให้กลีบผลไหม้แห้งเป็นสีดำและผลเน่าในที่สุด

สาเหตุหลักเกิดจากดินแปลงที่ท้านามาก่อน หรือดินไม่ได้ยกร่อง หรือดินมีการระบายน้้าไม่ดี และเกษตรกรที่ชอบใช้ปุ๋ยยูเรียจ้านวนมาก หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ท้าให้เกิดโรคได้ง่าย เพราะแก้วมังกรเป็นพืชอวบน้้า

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรค ราสนิมแก้วมังกร โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคแก้วมังกรต้นจุด และผลเน่า
โรคแก้วมังกรต้นจุด และผลเน่า
โรคแก้วมังกรต้นจุด และผลเน่า
ฤดูฝนอากาศมีความชื้นสูง เอื้อต่อการระบาดของโรคพืชจากเชื้อรา กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกรเฝ้าระวังการระบาดของโรคลำต้นจุดสีน้ำตาลและผลเน่า

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของแก้วมังกร เริ่มแรกจะแสดงอาการที่กิ่งหรือผลมีจุดสีเหลือง จากนั้นพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กสีน้ำตาลคล้ายสีสนิมเหล็ก บางครั้งพบแผลสีเหลืองฉ่ำน้ำ หากอาการรุนแรง

แผลจะเน่า ถ้าเป็นที่กิ่งจะทำให้เนื้อเยื่อตรงแผลหลุดเห็นเป็นรูหรือเว้าแหว่ง สำหรับผลที่มีอาการรุนแรง จะทำให้กลีบผลไหม้แห้งเป็นสีดำ และผลเน่าในที่สุด

การป้องกันโรค ให้เกษตรกรเลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แข็งแรงปลอดโรค และลดการให้ปุ๋ยไนโตรเจน เพราะจะทำให้แก้วมังกรซึ่งเป็นพืชอวบน้ำอ่อนแอต่อโรคได้ง่ายขึ้น และให้หมั่นสำรวจทำความสะอาดกำจัดวัชพืชโคนต้น เก็บกวาดเศษซากพืชส่วนที่เป็นโรคใต้ต้นออกไปทำลายนอกแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้นที่จะทำให้เชื้อราระบาด

หากพบโรคให้ตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคอย่างระมัดระวัง ให้เกิดแผลน้อยที่สุด เพราะแผลจะเป็นช่องทางให้เชื้อเข้าทำลายได้ง่าย ควรตัดตรงส่วนที่เป็นรอยต่อข้อระหว่างกิ่ง และนำส่วนที่เป็นโรคไปทำลายนอกแปลงปลูก และควรล้างทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้ทางการเกษตรให้สะอาด แล้วนำไปผึ่งแดดให้แห้งหลังการใช้งานทุกครั้ง

พร้อมทั้งควรให้น้ำแก้วมังกรเฉพาะในช่วงเช้า ไม่ควรให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เพื่อลดการสะสมความชื้นในทรงต้น

กรณีมีการระบาดมาก หลังจากตัดแต่งกิ่ง ให้พ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด โรคแก้วมังกรต้นจุด โรคแก้วมังกรผลเน่า
โรคแก้วมังกร โรคจุดสีน้ำตาลในแก้วมังกร
โรคแก้วมังกร โรคจุดสีน้ำตาลในแก้วมังกร
โรคแก้วมังกร โรคจุดสีน้ำตาลในแก้วมังกร
แก้วมังกร จะพบโรคจุดสีน้ำตาล ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ระบาด อาการเริ่มแรกที่กิ่งและผลเป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กๆ สีน้ําตาลคล้ายสีสนิมเหล็ก บางครั้งพบแผลสีเหลืองฉ่ำน้ํา เมื่ออาการรุนแรงแผลจะเน่า โดยถ้าเป็นที่กิ่งจะทําให้เนื้อเยื่อตรงแผลหลุดเห็นเป็นรูหรือเว้าแหว่ง สำหรับผลถ้าอาการรุนแรงจะทําให้กลีบผลไหม้แห้งเป็นสีดำและผลเน่าในที่สุด

การป้องกัน

1.เลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แข็งแรงปลอดโรค

2.ลดการให้ปุ๋ยไนโตรเจน เนื่องจากเป็นพืชอวบน้ําอาจ ทําให้พืชอ่อนแอเกิดโรคง่ายขึ้น

3.หมั่นกำจัดวัชพีชในแปลงปลูกเพื่อลดความชื้น

4.งดให้น้ําช่วงบ่ายหรือเย็น ให้เฉพาะช่วงเช้า เพื่อลดความชื้นสะสมในทรงพุ่ม

5.ตรวจแปลงอย่างสม่ําเสมอเมื่อพบโรคตัดแต่ง ส่วนที่เป็นโรคอย่างระมัดระวังให้มีแผลน้อยที่สุด การตัด แต่งกิ่งควรตัดตรงส่วนที่เป็นรอยต่อของข้อระหว่างกิ่ง แล้วนำส่วนท ี่เป็นโรคไปเผาทําลายนอกแปลงปลูก

6.ไม่นําเครื่องมือตัดแต่งที่ใช้กับต้นเป็นโรคไปใช้ต่อกับต้นปกติและควรทําความสะอาดก่อนนำไปใช้ใหม่ทกครั้ง

7.กรณีพบโรคเพียงเล็กน้อย ป้องกันการระบาดโรคโดยตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคออกไปเผาทําลาย แล้วพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคแก้วมังกร โรคจุดที่น้ำตาล ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
ผู้ป่วย หรือคนที่เป็น ไขมันในเลือดสูง กินน้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อน ได้หรือไม่
ผู้ป่วย หรือคนที่เป็น ไขมันในเลือดสูง กินน้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อน ได้หรือไม่
โดยปกติแล้วไขมันในอาหารแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทซึ่งมีประเภทหลัก ๆ คือ saturated fat_ trans fat และ cholesterol ซึ่งการรับประทานไขมันในอาหารแต่ละประเภทนี้จะส่งผลต่อระดับค่าไขมันในเลือดแตกต่างกันไป จากคำถามเรื่องน้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนนั้นมีส่วนประกอบดังนี้ – น้ำมะพร้าวอ่อนปริมาณ 100 กรัมนั้นจะให้พลังงาน 16 กิโลแคลอรี่ จะมีส่วนประกอบหลักคือน้ำ และมีส่วนประกอบอื่นๆ คือคาร์โบไฮเดรต 3.9 กรัม_ โปรตีน 0.1 กรัม_ และวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ – เนื้อมะพร้าวอ่อนปริมาณ 100 กรัมนั้นจะให้พลังงาน 81 กิโลแคลอรี่ จะมีส่วนประกอบหลักคือน้ำ และมีส่วนประกอบอื่นๆ คือไขมัน 5.9 กรัม_ คาร์โบไฮเดรต 3.8 กรัม_ ไฟเบอร์ 3.2 กรัม_ โปรตีน 1.8 กรัม_ และวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าส่วนประกอบหลักในน้ำมะพร้าวคือคาร์โบไฮเดรตและมีส่วนประกอบของไขมันน้อยมาก ดังนั้นการรับประทานน้ำมะพร้าวจะส่งผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าระดับไขมันในเลือด แต่ในเนื้อมะพร้าวอ่อนนั้นจะมีส่วนประกอบหลักคือไขมันและคาร์โบไฮเดรต โดยไขมันที่ได้จากมะพร้าวนั้นคือ saturated fat เป็นหลัก ซึ่ง saturated fat จะสามารถเพิ่มระดับไขมันในเลือดได้ ในคนปกติทั่วไปนั้นจะแนะนำให้ทาน saturated fat ไม่เกิน 7% ของปริมาณแคลอรี่ที่ได้รับต่อวันหรือประมาณ 16 กรัม นอกจากนี้แล้วในเนื้อมะพร้าวยังประกอบด้วยน้ำตาลซึ่งสามารถส่งผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดได้เช่นกัน ดังนั้นหากเป็นไปได้ผู้ป่วยไขมันสูงควรหลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อมะพร้าวทั้งอ่อนและแก่จะดีที่สุด Keywords: saturated fat_ trans fat_ cholesterol_ คาร์โบไฮเดรต_ ไขมัน_ น้ำมะพร้าว_ เนื้อมะพร้าว_ โปรตีน_ ไฟเบอร์_ วิตามินและแร่ธาตุ_ พลังงาน_ แคลอรี่

Reference:

1. Dignan C_ Burlingame B_ Kumar S_ Aalbersberg W. The Pacific Islands Food Composition Tables. FAO Publications_ Rome 2004.

2. American Heart Association National Center.
http://www.farmkaset..link..

ที่มา http://www.farmkaset..link..
ขิง สมุนไพรไทย บรรเทาอาการโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ได้
ขิง สมุนไพรไทย บรรเทาอาการโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ได้
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคที่มีการอักเสบของส่วนต่างๆในร่างกาย เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายทำงานผิดปกติและไปทำลายอวัยวะต่างๆ ในผู้ป่วยบางรายพบว่ามีภาวะที่มีผลกระทบต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย เช่น ผิวหนัง ดวงตา ปอด หัวใจ และหลอดเลือด

ปัจจุบันโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ยังไม่มีการรักษาที่หายขาดได้ แต่มีความเป็นไปได้ที่จะบรรเทาโรคให้ดีขึ้น หากเริ่มต้นการรักษาอย่างทันท่วงทีและรักษาด้วยยาปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค หากการรักษาด้วยยาไม่ได้ผลในการป้องกันและชะลอการถูกทำลายของข้อ แพทย์อาจพิจารณาให้ทำการผ่าตัดเพื่อรักษาข้อที่มีการเสื่อมหรือถูกทำลาย นอกจากนี้ยังมีการรักษาโดยใช้การแพทย์ทางเลือก เช่น สมุนไพร

จากการศึกษาวิจัยทางคลินิกล่าสุด พบว่า การรับประทานขิง (ในรูปผง) ปริมาณ 1_500 มก./วัน เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ช่วยลดการดำเนินของโรค ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ได้ โดยไปมีผลยับยั้งการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภาวะการอักเสบ ดังนั้น ขิง จึงเป็นพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพในการบรรเทาอาการของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ได้

เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.เอกราช บำรุงพืชน์

เอกสารอ้างอิง

Aryaeian N_ Shahram F_ Mahmoudi M_ Tavakoli H_ Yousefi B_ Arablou T_ Jafari Karegar S. The effect of ginger supplementation on some immunity and inflammation intermediate genes expression in patients with active Rheumatoid Arthritis. Gene. 2019;698:179-185.

http://www.farmkaset..link..

ที่มา http://www.farmkaset..link..
เชื้อราเข้ากัดกิน มะพร้าว
เชื้อราเข้ากัดกิน มะพร้าว
เชื้อราเข้ากัดกิน มะพร้าว
เกษตรกรชาวนสวนมะพร้าว ระวังโรครผลรวง ที่เกิดจากเชื้อราเข้าทำลาย ทำให้ผลผลิตเสียหาย จึงต้องเฝ้่ดูแลพืชอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ

กรมวิชาการเกษตร ขอเตือนเจ้าของสวน มะพร้าว ทุกระยะเจริญเติบโตจนถึงระยะให้ผลผลผลิต ระวังโรคผลร่วง โดยสังเกตบริเวณขั้วผลเกิดแผลสีน้ำตาลแห้งและเมื่อลุกลามไปบนผลทําให้ผลเน่าและร่วงหล่น ขณะเดียวกันในผลอ่อนที่ยังไม่มีการสร้างเนื้อมะพร้าว เชื้อจะเข้าทําลายเปลือกและกะลาอ่อน เมื่อความชื้นสูงมักจะพบเส้นใยสีขาวฟูที่แผลบนเปลือกผล ในผลที่มีกะลาแข็งเชื้อราจะเข้าทางตาของผลทําให้เนื้อมะพร้าวเกิดเน่า

แนวทางป้องกัน
1) ถ้าสภาพอากาศชื้นมีฝนตกติดต่อกัน ควรหมั่นตรวจผลมะพร้าว โดยเฉพาะทะลายที่มีผลดก เมื่อพบโรคให้ตัดทิ้งนําไปเผาทําลายทันที
2) ตัดแต่งคอมะพร้าวให้สะอาด โล่ง โปร่ง ให้แสงแดดผ่านเข้าถึง
3) เก็บผลมะพร้าวที่ร่วงออกจากแปลงไปเผาทําลาย 4) ถ้าพบอาการของโรคบนผลที่ยังไม่ร่วง ให้ตัดออกจากต้น รวมทั้งส่วนอื่นๆ ที่พบโรค เช่น ใบ ก้านใบ ออกไปเผาทําลายนอกแปลงปลูกแล้วพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดโรคพืช

ที่มา
- กรมวิชาการเกษตร
- http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจาก เชื้อราต่างๆ
โรคมะพร้าวใบจุด โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคมะพร้าวผลร่วง เป็นโรคมะพร้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคมะพร้าวใบจุด โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคมะพร้าวผลร่วง เป็นโรคมะพร้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคมะพร้าวใบจุด โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคมะพร้าวผลร่วง เป็นโรคมะพร้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคยอดเน่า เกิดจากเชื้อรา pythium sp. และมักเกิดกับมะพร้าวพันธุ์ที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ เช่น พันธุ์มลายูสีเหลืองต้นเตี้ย โรคนี้ มักพบในระยะต้นกล้า ในสภาพที่มีฝนตกชุก และอากาศมีความชื้นสูง ลักษณะอาการของโรคนี้ ที่สังเกตได้คือ ระยะแรก จะพบแผลเน่าสีดำบริเวณตรงโคนยอด และจะขยายลุกลามต่อไปจนทำให้ใบย่อยแห้งเป็นสีน้ำตาล สามารถดึงหลุดออกได้ง่าย ต้นกล้าจะเหี่ยวเฉา และแห้งตายไปในที่สุด หากเกิดกับมะพร้าวใหญ่ ทางใบมะพร้าวที่เกิดใหม่ แต่ใบจะผิดปกติ ก้านทางจะสั้น มีใบย่อยเล็กๆ เกิดเฉพาะบริเวณปลายก้านทาง วิธีป้องกันรักษา คือในช่วงการย้ายต้นกล้า ต้องอย่าให้หน่อช้ำ เพราะโรคอาจจะเข้าทำลายได้ง่าย หากพบอาการของโรคในระยะแรก ให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออก แล้วฉีดพ่นด้วยสารฆ่าเชื้อรา ที่มีสารประกอบทองแดง และทำการเผาส่วนต้นกล้าหรือส่วนที่เป็นโรค เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดต่อไป

โรคใบจุด เกิดจาเชื้อรา Heiminthosporium sp. จะทำให้เกิดความเสียหาย และคุกคามอย่างรวดเร็วแก่มะพร้าวในระยะต้นกล้ามาก ลักษณะอาการของโรคนี้ ที่สังเกตได้คือ เริ่มแรกจะเกิดจุดแผลสีเหลืองอ่อน ขนาดหัวเข็มหมุด ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง มีวงสีเหลืองล้อมรอบแผล และจะขยายใหญ่ออกไปเรื่อยๆ มีลักษณะค่อนข้างกลม กลางแผลจะมีจุดสีน้ำตาลแดง ขอบแผลสีน้ำตาลเข้ม ในที่สุดจะขยายรวมกันทำให้ใบแห้ง ต้นมะพร้าวชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด วิธีป้องกันรักษา ให้ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น เธอร์แรม ฉีดพ่นทุก 10-14 วัน

โรคผลร่วง เกิดเชื้อรา Phytopthora palmivora ลักษณะอาการของโรคนี้ มะพร้าวจะล่วงก่อนกำหนด อายุของมะพร้าวที่ล่วงตั้งแต่ 3 ถึง 9 เดือน ผลมะพร้าวที่เก็บเกี่ยวได้อายุ 12 เดือน ดังนั้น ผลมะพร้าวที่ร่วง จึงอ่อนมาก ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ วิธีป้องกันรักษา สภาพที่จะเกิดโรคผลร่วงระบาด คือมะพร้าวมีผลดกมาก และฝนตกชุกติดต่อกันเป็นเวลาหลายวัน ให้หมั่นตรวจ โดยสุ่มดู หากพบมะพร้าวที่เป็นโรคให้ตัดออก และนำผลไปเผาทิ้งนอกแปลงมะพร้าวทันที

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ
|-Page 280 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรคราน้ำค้างแตงโม แตงโมใบไหม้ โรคเชื้อราในแตงโม ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/26 10:43:05 - Views: 3150
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท
Update: 2563/05/07 20:49:32 - Views: 3001
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
Update: 2565/07/25 07:21:31 - Views: 3285
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้และใบจุดในมะขามหวานด้วย ไอเอส และ FK-1 เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด
Update: 2566/02/22 08:40:34 - Views: 3023
การไถกลบตอซัง เพื่อปรับปรุงดินและเพิ่มผลผลิตข้าว
Update: 2564/08/24 01:25:40 - Views: 3256
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: เทคโนโลยีช่วยปรับปรุงดินและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช สำหรับผักกวางตุ้ง
Update: 2567/02/13 09:29:27 - Views: 163
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 7924
ควบคุมวัชพืชในสวนพริกด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและรักษาสวนพริก
Update: 2567/02/13 09:22:56 - Views: 165
ต่างชาติเมิน เปิดศูนย์วิจัยในไทย ชี้รัฐไม่หนุนลงทุนศึกษา-สลดอีก 168ปี ถึงตามเกาหลีทัน
Update: 2563/06/25 16:26:13 - Views: 5422
ยากำจัดโรคช่อดอกแห้ง ใน เงาะ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/05 15:54:02 - Views: 7226
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสีชมพู ใน ยางพารา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/17 14:39:39 - Views: 3453
โรคราน้ำค้างข้าวโพดฝักอ่อน : DOWNY MILDEW DISEASE
Update: 2564/08/09 05:05:36 - Views: 3064
คุณค่าทางสารอาหารและประโยชน์ต่อสุขภาพ ทานตะวัน
Update: 2565/11/14 14:10:58 - Views: 2968
เตือน!! ระวังเพลี้ยแป้ง บุก สวนมะนาว สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
Update: 2566/11/01 14:23:41 - Views: 459
ประโยชน์ของปุ๋ยเร่งรากและเร่งดอกสำหรับแตงกวา
Update: 2566/11/21 14:58:55 - Views: 260
ป้องกัน กำจัด โรคผลเน่าในทุเรียน อาการทุเรียนผลเน่า (Fruit Rot)
Update: 2564/04/24 21:38:16 - Views: 3631
พริกยอดหงิก ใบหงิก ขอบใบม้วน เพราะเพลี้ยดูดกินน้ำเลี้ยง กำจัดด้วย มาคา
Update: 2562/08/10 10:25:33 - Views: 3213
พืชเป็นโรค หมายความว่าอย่างไร ?
Update: 2564/04/24 02:41:12 - Views: 2984
การป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้างในแตงกวา
Update: 2566/01/12 10:06:49 - Views: 3113
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: การปลดปล่อยธาตุอาหารแบบธรรมชาติเพื่อพัฒนาผลผลิตที่ยั่งยืน
Update: 2567/02/13 09:54:19 - Views: 163
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022