[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ

หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟอง เดี่ยวๆ หรือกลุ่มเล็กๆ ทั้งบนใบ และใต้ใบพืช แต่จะพบใต้ใบพืช เป็นส่วนใหญ่ หนอนมีลักษณะ เรียวยาว หัวแหลมท้ายแหลม ส่วนท้ายมีปุ่มยื่นออกเป็น 2 แฉกเมื่อถูกตัวจะดิ้นอย่างแรง และสร้างใยพาตัวขึ้นลงระหว่างพื้นดินกับใบพืชได้ หนอนกัดกิน ผิวใบทำให้ผักเป็นรูพรุนคล้าย ร่างแห จากนั้นเข้าดักแด้บริเวณ ใบพืช โดยมีใยบางๆ ปกคลุมติด ใบพืช

แนวทางป้องกัน/แก้ไข :

๑. การใช้กับดักชนิดต่างๆ ได้แก่ - กับดักกาวเหนียวสีเหลือง เป็นกับดักทรงกระบอก หรือ กระป๋องน้ ามันเครื่องสีเหลืองทาด้วยกาวเหนียว ทุก ๗- ๑๐ วันครั้ง สามารถจับผีเสื้อหนอนใยผักได้เฉลี่ย ๑๖ ตัว ต่อวันต่อกับดัก โดยจับผีเสื้อเพศเมีย : เพศผู้ ได้ ๐.๗๙ : ๑ และเมื่อติดตั้งกับดักกาวเหนียวสีเหลืองจ านวน ๘๐ กับดักต่อไร่สามารถลดการใช้สารฆ่าแมลงมากกว่า ๕๐ เปอร์เซ็นต์

- กับดักแสงไฟ หลอดสีน้ าเงิน ๒๐ วัตต์ เป็นหลอดเรือง แสงที่เหมาะสมในการใช้จับผีเสื้อหนอนใยผักมากที่สุด มี ราคาถูกกว่าหลอด blacklight-blue ๒๐ วัตต์ และ ปลอดภัยไม่มีอันตรายจากแสงอุลตร้าไวโอเล็ต ในการติดตั้งกับดักแสงไฟควรติดตั้งรอบนอกแปลงผัก และควรดำเนินการติดตั้งพร้อมกันในพื้นที่

๒. การใช้โรงเรือนตาข่ายไนล่อน หรือการปลูกผักกางมุ้ง โดยการปลูกผักในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่ายไนล่อน ขนาด ๑๖ mesh (๒๕๖ ช่องต่อตารางนิ้ว) สามารถ ป้องกันการเข้าทำลายของหนอนใยผักและหนอนผีเสื้อ อื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้โรงเรือนตาข่ายไนล่อน ต้องปิดอย่างมิดชิดตลอดเวลาเพื่อป้องกันผีเสื้อเพศเมียเล็ดลอดเข้าไปวางไข่

๓. การใช้ศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ - การใช้เชื้อแบคทีเรีย (บาซิลลัส ทูริงเยนซิส) ปกติใน ธรรมชาติจะพบเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ซึ่งมีประสิทธิภาพใน การกำจัดหนอนใยผัก แต่เนื่องจากสภาพแวดล้อมเป็น ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อปริมาณเชื้อแบคทีเรียที่จะทำให้ หนอนใยผักตาย ปัจจุบันจึงมีการผลิตเชื้อแบคทีเรียในรูป การค้าออกจำหน่ายที่สำคัญมี ๒ สายพันธุ์ คือ Bacillus thuringiensis subsp. aizawai และ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki อัตรา ๑๐๐-๒๐๐ มิลลิลิตรต่อน้ำ ๒๐ ลิตร (ไม่ควรใช้ในแหล่งปลูกผักภาคกลาง ในช่วงที่มีการระบาดมากพิจารณาการใช้อัตราสูง และช่วงเวลาพ่นถี่ขึ้น หรือพ่นสลับสารฆ่าแมลง)

๔. การใช้วิธีทางเขตกรรม สามารถช่วยลดการระบาดของ หนอนใยผักได้ เช่น การไถพรวนดินตากแดด หรือการ ทำลายซากพืชอาหาร หรือการปลูกพืชหมุนเวียน ทั้งนี้ เพื่อขัดขวางการขยายพันธุ์อย่างต่อเนื่องของหนอนใยผัก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที คือ Bacillus thuringiensis subsp. aizawai และ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki สำหรับ ป้องกัน และกำจัดหนอน
หนอนห่อใบข้าว (rice leaffolder, LF) ป้องกัน กำจัด ด้วย ไอกี้
หนอนห่อใบข้าว (rice leaffolder, LF) ป้องกัน กำจัด ด้วย ไอกี้
หนอนห่อใบข้าว (rice leaffolder, LF) ป้องกัน กำจัด ด้วย ไอกี้
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cnaphalocrocis medinalis (Guenee) วงศ์ :Pyralidae อันดับ :Lepidoptera ชื่อสามัญอื่น : หนอนม้วนใบข้าว หนอนกินใบข้าว

หนอนห่อใบข้าว Cnaphalocrocis medinalis (Guenee) ตัว เต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกสีน้ำตาลเหลืองมีแถบสีดำพาดที่ปลายปีก ตรงกลางปีกมีแถบสีน้ำตาลพาดขวาง 2-3 แถบ ขณะเกาะใบข้าวปีกจะหุบเป็นรูปสามเหลี่ยม มักเกาะอยู่ในที่ร่มใต้ใบข้าว เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าเพศเมียเล็กน้อย เพศเมียวางไข่เวลากลางคืนประมาณ 300 ฟองบนใบข้าว ขนานตามแนวเส้นกลางใบและสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ไข่มีลักษณะเป็นรูปจานสีขาวขุ่นเป็นกลุ่ม ประมาณ 10-12 ฟอง บางครั้งวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ 4-6 วัน หนอนที่ฟักจากไข่ใหม่ๆ มีสีขาวใส หัวมีสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มที่มีสีเขียวแถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม หนอนโตเต็มที่จะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกสัมผัส หนอนมี 5-6 ระยะ ส่วนใหญ่มี 5 ระยะ หนอนวัยที่ 5 เป็นวัยที่กินใบข้าวได้มากที่สุด ระยะหนอน 15-17 วัน หนอนเข้าดักแด้ในใบข้าวที่ห่อตัวนั้น ระยะดักแด้ 4-8 วัน ตัวเต็มวัยจะหลบซ่อนบนต้นข้าวและวัชพืชตระกูลหญ้าในเวลากลางวัน และจะบินหนีเมื่อถูกรบกวน

ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกสีน้ำตาลอ่อนมีแถบสีดำพาดที่ปลายปีก ตรงกลางปีกมีแถบสีน้ำตาลพาดขวาง 2-3 แถบ เมื่อเกาะใบข้าวปีกจะหุบเป็นรูปสามเหลี่ยม มักเกาะอยู่ในที่ร่มใต้ใบข้าว ตัวเมียวางไข่บนใบข้าว ขนานตามแนวเส้นใบและสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ไข่มีสีขาวขุ่นค่อนข้างแบนเป็นกลุ่ม แต่บางครั้งก็วางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ 4-6 วัน หนอนที่ฟักจากไข่ใหม่ๆ มีสีขาวใส หัวมีสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มที่มีสีเขียวแถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม หนอนมี 5-6 ระยะ ส่วนใหญ่มี 5 ระยะ หนอนวัยที่ 5 เป็นวัยที่กินใบข้าวได้มากที่สุด ระยะหนอน 15-17 วัน หนอนเข้าดักแด้ในใบข้าวที่ห่อตัวนั้น ระยะดักแด้ 4-8 วัน

ลักษณะการทำลายและการระบาด

ผีเสื้อหนอนห่อใบข้าวจะเคลื่อนย้ายเข้าแปลงนา ตั้งแต่ข้าวยังเล็กและวางไข่ที่ใบอ่อน โดยเฉพาะใบที่ 1-2 จากยอด เมื่อตัวหนอนฟักออกมาจะแทะผิวใบข้าวส่วนที่เป็นสีเขียว ทำให้เห็นเป็นแถบยาวสีขาว มีผลให้การสังเคราะห์แสงลดลง หนอนจะใช้ใยเหนียวที่สกัดจากปาก ดึงขอบใบข้าวทั้งสองด้านเข้าหากันเพี่อห่อหุ้มตัวหนอนไว้หนอนจะทำลายใบข้าว ทุกระยะการเจริญเติบโตของข้าวถ้าหนอนมีปริมาณมากจะใช้ใบข้าวหลายๆ ใบมาห่อหุ้มและกัดกินอยู่ภายใน ซึ่งปรกติจะพบตัวหนอนเพียงตัวเดียวในใบห่อนั้น ในระยะข้าวออกรวงหนอนจะทำลายใบธงซึ่งมีผลต่อผลผลิตเพราะทำให้ข้าวมีเมล็ดลีบ น้ำหนักลดลง หนอนห่อใบสามารถเพิ่มปริมาณได้ 2-3 อายุขัยต่อฤดูปลูก พบระบาดในนาเขตชลประทาน โดยเฉพาะแปลงข้าวที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง หนอนใช้ใบข้าวห่อหุ้มตัวและกัดกินอยู่ภายใน บริเวณที่ถูกทำลายจะเป็นทางขาวยาวขนานกับเส้นกลางใบ ทำให้การสังเคราะห์แสงของต้นข้าวลดลง

พืชอาหาร
ข้าว ข้าวป่า ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย หญ้าข้าวนก หญ้าคา หญ้าชันกาด หญ้าไซ หญ้าตีนกา หญ้าตีนนก หญ้าปล้องหิน หญ้าตีนติด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ป้องกันกำจัด หนอนชอนใบมะนาว ด้วย ยาฉุน กับเหล้าขาว 40 ดีกรี
ป้องกันกำจัด หนอนชอนใบมะนาว ด้วย ยาฉุน กับเหล้าขาว 40 ดีกรี
ป้องกันกำจัด หนอนชอนใบมะนาว ด้วย ยาฉุน กับเหล้าขาว 40 ดีกรี
หนอนชอนใบ เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็กชนิดหนึ่ง เมื่อขยายปีกออกเต็มที่วัดได้ 6.0-6.8 มิลลิเมตร ลำตัวสีนวล ปีกคู่หน้าเล็กกว่าปีคู่หลัง เมื่อผสมพันธุ์แล้ว เพศเมียจะวางไข่คราวละ 1 ฟอง มีขนาดเล็กมากเท่าหัวเข็มหมุดสีเหลืองอ่อนไว้ที่ใบอ่อน แล้วฟักออกเป็นตัวภายในเวลา 3 วัน ตัวหนอนเจาะเข้าระหว่างผิวใบไปดูดกินน้ำเลี้ยงภายใน ทิ้งซากเป็นรอยคดเคี้ยวไปมา มีระยะเป็นตัวหนอน 7-10 วัน จากนั้นจะเข้าดักแด้

วิธีป้องกันกำจัด ให้เด็ดใบที่มีหนอนชอนใบเข้าทำลายเผาทิ้งไป ถ้าปลูกใกล้บ้านน้อยต้นแนะนำให้ใช้น้ำยาฉุน เตรียมยาฉุน หรือยาเส้น มีขายตามร้านของชำทั่วไปครึ่งถุงแช่ในน้ำสะอาด 1 ลิตร ทิ้งไว้ 3 ชั่วโมง คั้นแล้วกรองเอาน้ำสีชา ใส่กระบอกฉีด เติมเหล้าขาว 40 ดีกรี อัตรา 1 ช้อนโต๊ะ เขย่าให้เข้ากัน ฉีดพ่นทั้งทรงพุ่ม ตั้งแต่มะนาวผลิใบตั้งแต่วันแรก แล้วฉีดตามอีก 2 ครั้ง ห่างกันทุก 3 วัน เมื่อใบมะนาวมีอายุครบ 9-10 วัน ใบมะนาวจะปลอดภัยจากการเข้าทำลายจากหนอนชอนใบ

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..

หากไม่มีเวลาทำเอง หรือปลูกเป็นจำนวนมาก ใช้ ไอกี้-บีที จากเรา ซึ่งเป็น แบคทีเรียแกรมบวก กำจัดหนอน ปลอดภัย ไร้สารพิษนะคะ

ทำไม ชื่อสายพันธุ์ โควิด-19 จึงเป็น แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า
ทำไม ชื่อสายพันธุ์ โควิด-19 จึงเป็น แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า
เราก็สงสัยอยู่นานพอสมควร ในครั้งแรก ที่ได้ยินว่า โควิด-19 กลายพันธุ์ พบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย มีชื่อว่า โควิด-19 สายพันธุ์ เดลต้า (Delta) ซึ่งมีการระบาดรุนแรง และรวดเร็วกว่าเดิม และวัคซีนที่มีปัจจุบัน หลายตัว ก็อาจจะไม่สามารถป้องกันได้

สักพักหนึ่ง ก็ได้ยินมาอีกว่า มี โควิด-19 สายพันธุ์ แอลฟ่า เบต้า แกมม่า ตามมาอีก และยังมีอีกเยอะเลย

จริงๆแล้ว เป็นอักษร กรีก นะ

จะเรียงเป็น ตัวอักษรเล็ก ตัวอักษรใหญ่ คำอ่านอังกฤษ คำอ่านไทยนะ
α Α alpha แอลฟา
β B beta บีตา
γ Γ gamma แกมมา
δ Δ delta เดลตา

จริงๆมีอีกเยอะ ที่นิยมใช้กัน เช่น λ แลมด้า Ω โอเมก้า Σ ซิกม่า ทำนองนี้

มันก็แปลกดี แต่คงมีเหตุผล ที่ตัวอักษรกรีก นิยม นำไปใช้ในหลายๆวงการเลย คณิตศาสตร์ วงการแพทย์ ซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์

อย่างเช่นในวงการซอฟแวร์คอมพิวเตอร์

ซอฟแวร์ที่เป็น เวอร์ชั่น แอลฟ่า (alpha) นั้น เช่น ระบุว่า Version 1.1 alpha หมายถึง ซอฟแวร์ตัวนี้ ถูกปล่อยให้ใช้เป็นการทดสอบ ภายในองค์กร หรือในกลุ่มคนในวงจำกัดเท่านั้น เนื่องจาก กำลังพัฒนา หรือพัฒนาเสร็จแล้ว แต่.. ยังไม่แน่ใจว่าจะมี Bug หรือข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในระหว่างใช้งานหรือไม่

ซอฟแวร์ที่เป็น เวอร์ชั่น เบต้า (beta) นั้น เช่น ระบุว่า Version 1.2 beta หมายถึง ซอฟแวร์ตัวนี้ ถูกปล่อยให้ผู้ใช้จำนวนมาก สามารถนำไปใช้งานจริงได้แล้ว แต่ว่า.. ผู้ใช้โปรดรู้ไว้นะ ว่ายังเป็น beta version อยู่ อาจจะมี bug มีข้อผิดพลาดอยู่บ้าง ถ้าเจออย่างว่ากันนะ แจ้งให้ทราบด้วยยิ่งดี

หลังจาก ปล่อยตัว beta ไปสักระยะ จนมั่นใจแล้ว ว่าไม่มี bug หรือข้อผิดพลาดเลย ก็อาจจะปล่อยตัวเต็มมาขาย เป็นเวอร์ชั่น 2.0 เช่นนี้ เป็นต้น

ที่นี้ โรค โควิด-19 ล่ะ แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า นี่คืออะไร ?

จริงๆแล้วเป็นการตั้งชื่อให้แตกต่าง เพื่อให้ทราบว่า เป็นโควิด-19 แต่ละสายพันธุ์ เพื่อให้ทราบที่มา และสื่อสารกันเข้าใจ เหมือนการตั้งชื่อทั่วไปเลย และ บังเอิญ เขาก็เลือกใช้ ตัว อักษร กรีก เหล่านี้ มาห้อยทายคำว่า โควิด-19 เพื่อบอกถึงสายพันธุ์ต่างๆ

แทนที่จะระบุไปเลย ว่า โควิด-19 สายพันธุ์อินเดีย โควิด-19 สายพันธุ์อังกฤษ มันอาจจะทำให้หลายๆคนมองภาพ และไปโทษเอาว่า นี่นะ โควิด-19 สายพันธุ์นี้ เป็นเพราะประเทศนี้ ประเทศนั้น มันอาจจะทำให้เกิดความแตกแยก โทษกันไป โทษกันมา เหมือนการไปว่าเขาด้วย ก็เลยเอาตัวอักษรกรีก มาระบุลงไป แทนการเรียกสายพันธุ์ต่างๆ
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัดลำพูน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดลำพูน รายงานว่า ฤดูฝนลำไยแตกใบอ่อน ต้องระวังเจ้าหนอนตัวนี้ครับ หนอนคืบกินใบลำไยเป็นหนอนที่พบประจำในสวนลำไยโดยเฉพาะในช่วงลำไยแตกใบอ่อนหนอนจะเข้าทำลายเป็นกลุ่มใหญ่กัดกินใบอ่อน แต่ละต้นทำให้ใบอ่อนถูกทำลายเสียหายในเวลาอันรวดเร็วถ้าเข้าทำลายต้นลำไยที่มีขนาดเล็กจะทำให้ต้นชงักการเจริญเติบโต ถ้าเข้าทำลายลำไยที่เตรียมเป็นใบชุดที่จะใส่สาร จะทำให้ลำไยใส่สารแล้วไม่ออกดอก

หนอนคืบกินใบ (แมลงบุ้งลำไย) ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxyodes scrobicularta Fabr. หนอนผีเสื้อชนิดนี้ระบาดอยู่ทั่วไปตามแหล่งปลูกลำไยและลิ้นจี่ พบมากในบางแห่งโดยเฉพาะระยะที่ลำไยแตกยอดอ่อน ระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงตุลาคม ทำลายโดยกัดกินใบอ่อนให้เสียหาย ทำให้ยอดชะงักการเจริญเติบโต ตัวแก่เป็นผีเสื้อกลางคืน อาศัยผลลำไยและลิ้นจี่เป็นอาหาร ตัวสีน้ำตาลอ่อน มีคู่ที่สองสีน้ำตาลลายดำ ขอบปีกด้านบนเป็นแถบสีดำ ขนาดของผีเสื้อกางปีกกว้างประมาณ 5 ซม. ลำตัวมีขนสีเหลืองปกคลุม ตัวผู้และตัวเมียมีขนาดไล่เรี่ยกัน ตัวเมียจะวางไข่ไว้เดี่ยวๆ ไข่มีขนาดเล็กกลมสีขาวไม่มีสิ่งปกคลุม และมักจะไข่ไว้บนยอดอ่อนใบอ่อน หนอนเมื่อฟักไข่ออกมาใหม่ๆ ตัวจะมีสีเขียวอ่อน เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองปนน้ำตาล มีแถบสีน้ำตาลตลอดลำตัว ขนาดตัวหนอนที่โตเต็มที่ยาวประมาณ 3 - 4 ซม. ระยะตัวหนอน 9 - 14 วัน ตัวหนอนจะเข้าทำลายใบอ่อนและยอดอ่อน มีนิสัยชอบทิ้งตัวเมื่อได้รับความกระทบกระเทือนใกล้เข้าดักแด้ตัว จะเปลี่ยนเป็นสีม่วงใช้ใบห่อหุ้มแล้วเจริญเป็นดักแด้

การป้องกันกำจัด เขย่ากิ่งให้หนอนร่วงหล่นแล้วเก็บรวบรวมไปทำลายหรือนำไปเป็นอาหารสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ เก็บรวบรวมดักแด้ไปทำลาย เช่น ฝัง หรือเผาไฟ เมื่อลำไยแตกยอดอ่อน ถ้าพบมีการระบาดควรจะพ่นยาฆ่าแมลงคาร์บาริลใน อัตรา 30 - 45 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แต่ถ้าหนอนระบาดมากทำความเสียหายให้อย่าง รุนแรงควรพ่นด้วยยาฆ่าแมลงโมโนโครโตฟอสในอัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร และจากการวิจัยของ รศ.ดรจริยา วิสิทธ์พานิช และคณะ พบว่าแมลงศัตรูลำไยระยะใบอ่อนที่ระบาดเป็นประจำในช่วงที่ลำไยแตกใบอ่อนคือ หนอนคืบลำไย หนองคืบเขียวกินใบ แมลงค่อมทอง แมลงนูน และอาการโรคพุ่มไม้กวาด กลุ่มหนอนกัดกินใบ เช่น หนอนคืบ หนอนมังกร ทำลายโดยกัดกินใบอ่อนหมดทั้งต้นได้ภายใน 2-3 วัน หนอนมังกร หนอนคืบ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
หนอนผีเสื้อ หนอนคูน
หนอนผีเสื้อ หนอนคูน
หนอนผีเสื้อ หนอนคูน
ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา (ชื่อสามัญ: The Lemon Emigrant_ ชื่อวิทยาศาสตร์: Catopsilia pomona) จะวางไข่สีขาว รูปร่างรี ที่มีขนาดเล็กมาก เป็นฟองเดี่ยว ๆ มักพบติดที่ขอบใบอ่อนของต้นคูน หรือขี้เหล็ก ไข่ใช้เวลา 2-3 วัน ฟักเป็นตัวหนอน ซึ่งจะมี 2 แบบ คือ หัวสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวสีเหลืองปนเขียว มีแถบสีน้ำตาล-ดำที่ข้างลำตัว และลำตัวสีเขียว มีแถบสีขาวพาดข้างลำตัว โดยตัวหนอนจะอาศัยกินใบของพืชอาหารจนโกร๋น ในกรณีที่เกิดการระบาด ซึ่งตัวหนอนจะใช้เวลาประมาณ 10-15 วัน (อาจสั้นกว่านี้ ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม) จึงเข้าดักแด้ สีเขียวอ่อน ห้อยอยู่ที่ใต้ใบแก่ที่เหลืออยู่ หรือที่ก้านใบ ซึ่งจะใช้เวลาไม่เกิน 7 วัน (แล้วแต่ช่วงเวลา) จึงลอกคราบเป็นผีเสื้อออกบินอีกครั้งหนึ่ง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
แมลงวัน หนอนชอนใบผัก (Leaf Miner) ระบาด
แมลงวัน หนอนชอนใบผัก (Leaf Miner) ระบาด
แมลงวัน หนอนชอนใบผัก (Leaf Miner) ระบาด
พืชผัก เช่น พืชตระกูลกะหล่ำ หอมต้น มะเขือเทศ มะเขือเปราะ มะระ พริก บวบ กระเจี๊ยบ โหระพา แมงลัก ถั่วต่างๆ ดาวเรือง เบญจมาศ กุหลาบ เยอบีร่า ระวัง หนอนชอนใบผัก เข้าทำลาย

ในสภาพอากาศร้อน ชื้น มีฝน เหมาะกับการระบาดของหนอนต่างๆ หนอนชอนใบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Liriomyza brassicae (Riley)
วงศ์ : Agromyzidae
อันดับ : Diptera

รูปร่างลักษณะ
หนอนแมลงวัน หนอนชอนใบ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงวันขนาดเล็กมีขนาด ๑ – ๒ มิลลิเมตร

หนอน ชอนไชไปตามเนื้อเยื่อพืช พืชที่โดนหนอนชอนใบทำลาย ใบจะเป็นรอยลาย ร่วงหล่นลงดิน ส่งผล สร้างความเสียหายต่อผลผลิต

การแพร่ระบาด และการทำลาย

หนอนชอนใบ สร้างความเสียหายมากในมะเขือเทศ ดอกเบญจมาศ เข้าทำลาย พืชผัก ไม้ดอก พบระบาดทั่วทุกภาคในประเทศไทย

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
แตนเบียนบราคอน ปล่อยในไร่ ใช้ ควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวได้
แตนเบียนบราคอน ปล่อยในไร่ ใช้ ควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวได้
แตนเบียนบราคอน ปล่อยในไร่ ใช้ ควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวได้
แตนเบียนบราคอน เป็นศัตรูธรรมชาติที่สามารถควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ แตนเบียนบราคอน จะใช้เข็มแทงเข้าไปในตัวหนอน ปล่อยสารชนิดหนึ่ง ทำให้หนอนเป็นอัมพาต

ชื่อสามัญ : Bracon Wasp
ชื่อวิทยาศาสตร์ :: Bracon hebetor Say

ความสำคัญ

เป็นศัตรูธรรมชาติที่สามารถควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแตนเบียนบราคอนซึ่งเป็นแตนเบียนชนิดภายนอก จะวางไข่บนตัวหนอนหัวดำมะพร้าวโดยก่อนวางไข่ แตนเบียนเพศเมียจะใช้เข็มแทงเข้าไปในตัวหนอน และปล่อยสารชนิดหนึ่งออกมาทำให้หนอนเป็นอัมพาตแล้วจึงวางไข่บนตัวหนอน เมื่อไข่ฟักออกมาเป็นตัวหนอนจะดูดกินน้ำเลี้ยงในตัวหนอนจนทำให้หนอนตาย เมื่อครบอายุหนอนของแตนเบียนจะปล่อยตัวออกจากหนอนหัวดำมะพร้าวและถักรังเพื่อเข้าดักแด้ และออกเป็นแตนเบียนบราคอนรุ่นต่อไป นอกจากนี้ยังสามารถทำลายหนอนได้อีกหลายชนิด เช่น หนอนผีเสื้อข้าวสาร หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนเจาะยอดมะเขือ เป็นต้น

ลักษณะการทำลาย

แตนเบียนเพศเมียจะใช้เข็มแทงเข้าไปในตัวหนอนและปล่อยสารชนิดหนึ่งออกมา ทำให้หนอนเป็นอัมพาต แล้วจึงวางไข่บนตัวหนอน เมื่อไข่ฟักออกมาเป็นตัวหนอนจะดูดกินน้ำเลี้ยงในตัวหนอนจนทำให้หนอนตาย เมื่อครบอายุหนอนของแตนเบียนจะปล่อยตัวออกจากหนอนหัวดำมะพร้าว และถักรังเพื่อเข้าดักแด้ และออกเป็นแตนเบียนบราคอนรุ่นต่อไป

การใช้ควบคุมศัตรูพืช

ปล่อยในอัตรา 200 ตัว/ไร่

ปล่อยในช่วงเช้า ให้กระจายทั่วแปลง ติดต่อกัน 5-7 ครั้ง ทุก 7 วัน )

อ้างอิง http://farmkaset_link..
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน นำไปประกอบอาหาร ต้ม ทอด ตำน้ำพริก การศึกษา พบว่า จากการบริโภคหนอนรถด่วนนี้จะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนจำพวกกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย 8 ชนิด

อันดับ Lepidoptera
วงศ์ Pylalidae
ชื่อวิทยาศาสตร์ Omphisa fuscidentalis
โดย วรวุฒิ วรคุตตานนท์

หนอนรถด่วน หรือ Bamboo Caterpillar เป็นหนอนของผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่ง ซึ่งตัวหนอนกินเยื่อไผ่เป็นอาหาร ชาวจีนฮ่อเรียก จูซุง คนพม่าเรียก ลาโป้ว และชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า คลีเคล๊ะ ส่วนคนไทยเรียกว่าหนอนรถด่วน เพราะ ตัวหนอนมีรูปร่างลักษณะคล้ายโบกี้รถไฟนั่นเอง หนอนรถด่วนเป็นหนอนผีเสื้อที่มีวงจรชีวิตที่ยาวนานถึงหนึ่งปีเต็ม เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ผีเสื้อจะจับคู่ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูฝนจากนั้นเพศเมียก็จะวางไข่บนหน่อไม้เมื่อตัวอ่อนฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปอยู่ในหน่อไม้เพื่อกินเยื่อไผ่เป็นอาหารหนอนจะผ่านการลอกคราบถึง 5 ครั้งใช้เวลา ถึง 10 เดือน จากนั้นจะเข้าสู้ระยะดักแด้เพื่อเปลี่ยนสรีระร่างกายประมาณ 40 – 60 วัน และลอกคราบออกเป็นตัวเต็มวัยในที่สุด ผีเสื้อมีอายุ 1 – 2 สัปดาห์ ไผ่ที่พบหนอนรถด่วน ได้แก่ ไผ่ซาง ไผ่หก ไผ่บง ไผ่ไร่รอ และไผ่สีสุก พบที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 430 – 1300 เมตร ชาวไทยภาคเหนือนิยมบริโภคหนอนรถด่วนมายาวนาน วิธีนำไปประกอบอาหารได้แก่ ต้ม ทอด ตำน้ำพริก การศึกษา พบว่า จากการบริโภคหนอนรถด่วนนี้จะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนจำพวกกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย 8 ชนิด และที่ไม่จำเป็นต่อร่างกายอีก 9 ชนิด ดังนี้

ประเภทกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายเมื่อเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ตามน้ำหนัก ได้แก่ ทรีโอนีน 1.15% ซีสตีน 0.28% วาลีน 1.60% เมธิโอนีน 0.66%ไอโซลิวซีน 0.94% ลิวซีน 2.05% เฟนิวอะลานีน 0.63% และไลซีน 1.66%

ประเภทกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็นต่อร่างกาย ได้แก่ ทรีโอนีน 1.15% เซรีน 1.84% กลูตามิก 2.96% โปรลีน 1.46% ไกลซีน 1.01% อะลานีน 1.24% และอาร์จีนีน 1.22%

การสังเกตต้นไผ่ที่มีหนอนรถด่วนตามภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยดูว่า ต้นไผ่ต้นใดมีขนาดปล้องค่อนข้างสั้น และหากสังเกต จะพบรูเล็กๆ ที่โคนของไผ่ประมาณปล้องที่ หนึ่งหรือ ปล้องที่สอง ซึ่งเป็นรูที่ตัวเต็มวัยจะออกมาเมื่อกลายเป็นผีเสื้อ จึงมั่นใจได้ว่าไผ่ลำนี้มีหนอนรถด่วนอยู่แน่นอน

หนอนรถด่วนยังเป็นแมลงเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับชาวชนบท ทั้งนี้เพราะตัวหนอนสดมีราคาขายส่งกิโลกรัมละ 100 – 250 บาท ทำให้ชาวบ้านมีรายได้มากถึง 500 – 1000 บาทต่อวัน สำหรับพ่อค้าแมลงทอด จะขายหนอนรถด่วนราคากก.ละ1200 – 1500 บาททีเดียว

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ยุโรปอนุมัติให้ หนอนนก เป็นอาหารทางเลือกใหม่
ยุโรปอนุมัติให้ หนอนนก เป็นอาหารทางเลือกใหม่
ยุโรปอนุมัติให้ หนอนนก เป็นอาหารทางเลือกใหม่
หนอนนกแห้งสีเหลืองจะได้ไปวางแผงขายตามชั้นวางในซูเปอร์มาร์เกตและเป็นอาหารในร้านอาหารทั่วยุโรปในเร็วๆนี้ หลังได้รับอนุมัติให้เป็นอาหารทางเลือกใหม่

สำนักข่าวเอพีรายงานจากกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม เมื่อวันที่ 4 พ.ค.ว่า สำนักงานความปลอดภัยด้านอาหารของสหภาพยุโรป (อียู) ได้อนุมัติรับรองตามข้อเสนอว่า หนอนนกสามารถวางจำหน่ายในตลาดในฐานะอาหารทางเลือกใหม่ได้แล้ว หลังจากที่ได้พิจารณาจากรายงานความเห็นทางวิชาการที่นำออกเผยแพร่ในปีนี้ซึ่งได้ข้อสรุปออกมาว่า หนอนนกปลอดภัยสามารถรับประทานได้ และนักวิจัยยังพบว่า สามารถรับประทานได้ทั้งตัวหรือไม่ก็ในรูปแบบผงสกัด สามารถปรุงเป็นอาหารสำหรับรับประทานเป็นของว่าง หรือเป็นเครื่องปรุงในการประกอบอาหารเพราะมีคุณค่าทางโปรตีนสูง

แต่สำหรับผู้ที่มีอาการแพ้อาหารนั้นก็อาจจะเกิดขึ้นได้สำหรับผู้ที่มีอาการแพ้มาก้อนแล้วกับพวกสัตว์น้ำเปลือกแข็งและไรฝุ่น เป็นต้น

ปัจจุบันแมลงถือเป็นอาหารอย่างหนึ่งแต่มีสัดส่วนในตลาดน้อยมาก แต่ขณะนี้เจ้าหน้าที่อียูกล่าวว่า มีการเพาะเลี้ยงเพื่อนำมาเป็นอาหารแล้วซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม ส่วนองค์การอาหารและเกษตรของสหประชาชาติบอกว่า แมลงเป็นสัตว์ที่นำมาประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อุดมไปด้วยไขมัน โปรตีน วิตามิน ไฟเบอร์และเกลือแร่ เป็นต้น

หลังการอนุมัติรับรองหนอนนกแล้ว สามารถอนุญาตให้วางจำหน่ายเป็นอาหารในเร็วๆ นี้

เครดิตภาพ AP

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ
|-Page 282 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
บีทรูท ต้นเน่า ใบไหม้ กำจัดโรคบีทรูท จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/10 10:00:09 - Views: 3049
หนอน ในผักคะน้า หนอนใยผักคะน้า หนอนต่างๆ ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/19 23:14:51 - Views: 3236
ธาตุแมงกานีส
Update: 2565/07/26 00:55:12 - Views: 3036
กำจัดโรคราดำ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน สารอินทรีย์ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 10:14:00 - Views: 3185
ท้าวเวสสุวรรณ สลักบนแผ่นเหล็กน้ำพี้ โชคดี มีลาภ สมหวังใจคิด เงินไกลกอง ทองไหลมา ขจัดสิ่งไม่ดี ป้องกันอันตราย
Update: 2567/02/16 14:25:12 - Views: 118
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอย ศัตรูพืชที่มากับหน้าร้อน สำหรับพืชทุกชนิด
Update: 2567/02/21 14:44:39 - Views: 113
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 17017
ยาฉีดเงาะ หนอนเจาะผลเงาะ หนอนคืบ ใช้ ไอกี้ เพลี้ยไฟในเงาะ เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา ส่วนโรคเงาะที่เกิดจากเชื้อรา..
Update: 2563/04/11 13:21:30 - Views: 3538
หัวไชเท้า เน่าดำ เน่าเละ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในหัวไชเท้า ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/05 11:16:59 - Views: 3128
อะโวคาโด้ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/08 15:14:18 - Views: 84
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแก้วส้ม ใน ส้ม และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/11 10:57:09 - Views: 3016
อยากถ่ายรูป ให้ได้ภาพชัดตื้น หรือหน้าชัดหลังเบลอ ไม่ยาก แค่เข้าใจค่า f
Update: 2562/08/12 21:28:49 - Views: 4527
โรคกุหลาบ กุหลาบใบไหม้ บนใบเป็นแผลสีน้ำตาล คือ โรคแอนแทรคโนสกุหลาบ ลุกลามไปส่วนอื่นๆได้
Update: 2564/02/22 11:57:37 - Views: 3451
4 สหายขายดี FK-1 เร่งโต ไอเอส แก้ราต่างๆ มาคา แก้เพลี้ยต่างๆ ไอกี้ แก้หนอนต่างๆ
Update: 2564/09/04 23:36:38 - Views: 3277
หนอนฝรั่ง หนอนเจาะผลฝรั่ง หนอนแมลงวันทอง หนอนผีเสื้อ ศัตรูพืชในฝรั่ง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/20 05:14:53 - Views: 3153
มะระจีน ใบไหม้ ใบจุด ราแป้ง รากเน่า แอนแทรคโนส เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/06 15:50:20 - Views: 104
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60: ตัวช่วยเพิ่มผลผลิตแอ๊ปเปิ้ลให้ใหญ่ ดก และมีคุณภาพ
Update: 2567/03/13 14:34:42 - Views: 211
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบในการเร่งโตของสับปะรด
Update: 2566/11/11 13:35:50 - Views: 237
อุตสาหกรรมมันเส้น และการผลิตมันเส้น
Update: 2555/04/11 14:56:21 - Views: 3213
การจัดการและป้องกันโรคเชื้อราในต้นแครอท: วิธีการรักษาและป้องกันเพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2566/11/23 09:22:40 - Views: 280
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022