[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ปุ๋ย
2121 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 212 หน้า, หน้าที่ 213 มี 1 รายการ

เพิ่มผลผลิตอ้อย ด้วยปุ๋ย FK-1 890บาท และ FK-3S 950บาท โตไวผลผลิตดี

เร่งโต แตกกอ ย่างปล้อง ด้วย FK-1, เพิ่ม CCS เพิ่มน้ำหนัก เร่งผลผลิต ฉีดพ่นด้วย FK-3S

สั่งซื้อได้ 3 ช่องทาง
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกเพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset เฟสบุ๊คแชทสั่งซื้อ https://www.facebook.com/farmkaset มีเจ้าหน้าที่คอยตอบตลอดเวลา

https://www.youtube.com/watch?v=7qmtoSinVLI
อ่าน:3246
พืชขาดธาตุแมกนีเซียม ใบเหลืองจากปลายมาหาโคน ขาดมากใบร่วงเยอะ เติมด้วย FK-1
พืชขาดธาตุแมกนีเซียม ใบเหลืองจากปลายมาหาโคน ขาดมากใบร่วงเยอะ เติมด้วย FK-1
พืชขาดธาตุแมกนีเซียม ใบเหลืองจากปลายมาหาโคน ขาดมากใบร่วงเยอะ เติมด้วย FK-1

แมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบสำคัญของรงควัตถุคลอโรฟิลล์พืชสีเขียวจึงต้องการใช้ธาตุแมกนีเซียมเพื่อสร้างคลอโรฟิลล์สำหรับใช้ในกระบวนการสังเคราะห์อาหารด้วยแสง ธาตุแมกนีเซียมช่วยคงสภาพโครงสร้างของไรโบโซม ให้สามารถทำการผลิตโปรตีนอย่างปกติ ทำหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ ที่ช่วยเคลื่อนย้ายฟอสเฟต

.

พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม

ใบจะเหลืองเป็นรูปลิ่มจากปลายใบเข้ามาหาโคนใบส่วนบริเวณโคนใบจะยังคงเขียวอยู่เล็กน้อย

.

แต่ถ้าหากว่าขาดธาตุแมกนีเซียมมาก ๆ ก็จะทำให้ใบเหลืองร่วงไปทั่วทั้งใบอย่างรวดเร็วและใบก็จะร่วงไปในที่สุด

.

การขาดธาตุแมกนีเซียม จะทำให้ผลผลิตลดน้อยลงและต้นพืชทรุดโทรมอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสาเหตุที่พืชขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น เพราะปริมาณแมกนีเซียมที่อยู่ในดินถูกชะล้างลึกลงไปเกินกว่าที่รากพืชจะดึง ดูดมาใช้ได้ และการที่มีปริมาณโปแตสเซียมสะสมในดินมากเกินไปก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ สำคัญ

.

ปุ๋ยน้ำ FK-1 ธาตุหลัก+ธาตุเสริม+สารจับใบ

FK-1 เข้มข้น สำหรับ เร่งโต ให้ธาตุรอง ธาตุเสริม เสริมสร้างภูมิต้านทาน ให้ความแข็งแรง

.
ปุ๋ยน้ำ FK-1 หรือ เอฟเค-วัน ใช้ฉีดพ่นทางใบ เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว และสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคและแมลง

.

ในหนึ่งกล่อง ประกอบด้วยปุ๋ยบัวแก้ว 1 ถุง และเควัน 1 ถุง บรรจุถุงละ 1,000 กรัม รวมน้ำหนัก 2,000 กรัม
- ถุงแรก บัวแก้ว คือธาตุหลัก N-P-K ในสูตร​ 20-20-20 ทำหน้าที่ เร่ง ต้น ดอก ผล เพิ่มความเขียว เร่งการเจริญเติบโต ทำให้พืชโตไว เขียว ให้ผลผลิตดี
- ถุงที่สอง K-1 คือ ธาตุรอง ธาตุเสริม และสารจับใบ ลดแรงตรึงผิว ทำให้ ปุ๋ยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เกาะใบพืชและซึ่มเข้าในใบพืชได้เป็นอย่างดี พืชจึงได้รับธาตุอาหารเต็มที่ ส่วน ธาตุรอง ธาตุเสริมนั้น จะช่วยเสริมสร้างความสมบูรณ์ให้กับพืช เมื่อพืชสมบูรณ์แข็งแรง จึงมีภูมิต้านทางต่อโรคและแมลงสูงขึ้นนั่นเอง

.

การผสมใช้
ผสม ถุงแรก บัวแก้ว 50 กรัม ถุงที่สอง K-1 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ
ผสม ถุงแรก บัวแก้ว 500 กรัม ถุงที่สอง K-1 500 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร
คนให้เข้ากันและฉีดพ่นทั่วแปลงพืช เพื่อเร่งการเจริญเติบโต
*หมายเหตุ 50 กรัม เท่ากับ ประมาณ 2 ช้อนโต๊ะ

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-1-i512689-s591186.html

อ่าน:3250
ธาตุแคลเซียม - CALCIUM สำคัญ และเป็นพระโยชน์ต่อพืชเป็นอย่างมาก เสริมแคลเซียมด้วย FK-1
ธาตุแคลเซียม - CALCIUM สำคัญ และเป็นพระโยชน์ต่อพืชเป็นอย่างมาก เสริมแคลเซียมด้วย FK-1

หน้าที่สำคัญของธาตุแคลเซียมในพืช
มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้
ช่วยเสริมสร้างเซลล์และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง
ช่วยในการสร้างเซลล์และโครงสร้างของเซลล์ของพืช
ช่วยให้เซลล์ติดต่อกัน และจะช่วยเชื่อมผนังเซลล์ให้เป็นรูปร่าง และขนาดให้เป็นไปตามลักษณะของพืชแต่ละชนิด
ช่วยเพิ่มการติดผล
ช่วยให้สีเนื้อและสีผิวของผลสดใส
ช่วยลดการเกิดเนื้อของผลแข็งกระด้าง และเนื้อแฉะ
ช่วยป้องกัน ผลร่วง ผลแตก
มีบาทบาทที่สำคัญในระยะการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช
มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการย่อยธาตุไนโตรเจน
เป็นตัวช่วยลดการหายในของพืช
เป็นตัวช่วยเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล
.
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุแคลเซียม
ใบอ่อนที่แตกออกมาใหม่จะหดสั้นและเหี่ยว แม้ว่าใบเก่าจะมีธาตุแคลเซียมอยู่ เนื่องจากธาตุแคลเซียมไม่เคลื่อนย้ายจากใบเก่าสู่ใบใหม่
ใบอ่อนที่ขาดธาตุแคลเซียมจะมีสีเขียวแต่ปลายใบจะเหลือง และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและจะตายในที่สุด
ถ้าขาดธาตุแคลเซียมที่บริเวณขั้วหรือข้อต่อของผลจะทำให้เกิดแก๊สเอธีลีน(Ethylene) เป็นเหตุให้ผลร่วง
พืชหลายชนิดที่ขาดธาตุแคลเซียม เช่น มะเขือเทศ แตงโม พริก แตงกวา จะเกิดการเน่าที่ส่วนล่างผล,
ในผักขึ้นฉ่ายจะแสดงอาการไส้ดำ, ในแครอดจะแสดงอาการฟ่ามที่หัว, ในแอปเปิลจะมีรสขม,
ในมันฝรั่งจะแสดงอาการเป็นสีน้ำตาลบริเวณกลางหัว,
ในพืชลงหัวต่าง ๆ เช่น ผักกาดหัว(หัวไชเท้า) หอม กระเทียม จะแสดงอาการไม่ลงหัว หรือลงหัวแต่หัวจะไม่สมบูรณ์
ในพืชไร่ ต้นจะแตกเป็นพุ่มแคระเหมือนพัด
แสดงอาการที่ราก คือ รากจะสั้น โตหนามีสีน้ำตาล ดูดอาหารไม่ปกติ
ในระยะพืชออกดอก ติดผล ถ้าพืชขาดธาตุแคลเซียม ตาดอกและกลีบดอกจะไม่พัฒนา ดอกและผลจะร่วง
.
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุแคลเซียม
ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ระหว่าง 4.0-7.0 และ 8.5 ขึ้นไป
เมื่อให้ธาตุไนโตรเจนมาก
เมื่อให้ธาตุโพแทสเซียมมาก
เมื่อพืชแตกใบอ่อน แม้ว่าใบแก่จะมีธาตุแคลเซียม ทั้งนี้เนื่องจากธาตุแคลเซียมไม่เคลื่อนย้ายในพืช
เมื่อพืชแตกใบอ่อนต้องให้ธาตุแคลเซียมอยู่เสมอ
ธาตุแคลเซียมจะมีความสมดุลกับธาตุโบรอนและธาตุแมกนีเซียมในพืช ถ้าไม่มีความสมดุลระหว่างธาตุทั้ง 3 ชนิด พืชจะแสดงอาการผิดปกติ
ธาตุแคลเซียมจะสูญเสียไปในดิน กลายเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งพืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้
ในดินที่เป็นกรด จะตรึงธาตุแคลเซียมไว้ ทำให้พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้

.

ปุ๋ยน้ำ FK-1 เข้มข้น สำหรับเร่งการเจริญเติบโตพืช เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง
ปุ๋ยน้ำ FK-1 หรือ เอฟเค-วัน ใช้ฉีดพ่นทางใบ เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว และสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคและแมลง

.

ในหนึ่งกล่อง ประกอบด้วยปุ๋ยบัวแก้ว 1 ถุง และเควัน 1 ถุง บรรจุถุงละ 1,000 กรัม รวมน้ำหนัก 2,000 กรัม
- ถุงแรก บัวแก้ว คือธาตุหลัก N-P-K ในสูตร​ 20-20-20 ทำหน้าที่ เร่ง ต้น ดอก ผล เพิ่มความเขียว เร่งการเจริญเติบโต ทำให้พืชโตไว เขียว ให้ผลผลิตดี
- ถุงที่สอง K-1 คือ ธาตุรอง ธาตุเสริม และสารจับใบ ลดแรงตรึงผิว ทำให้ ปุ๋ยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เกาะใบพืชและซึ่มเข้าในใบพืชได้เป็นอย่างดี พืชจึงได้รับธาตุอาหารเต็มที่ ส่วน ธาตุรอง ธาตุเสริมนั้น จะช่วยเสริมสร้างความสมบูรณ์ให้กับพืช เมื่อพืชสมบูรณ์แข็งแรง จึงมีภูมิต้านทางต่อโรคและแมลงสูงขึ้นนั่นเอง

.

การผสมใช้
ผสม ถุงแรก บัวแก้ว 50 กรัม ถุงที่สอง K-1 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ
ผสม ถุงแรก บัวแก้ว 500 กรัม ถุงที่สอง K-1 500 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร
คนให้เข้ากันและฉีดพ่นทั่วแปลงพืช เพื่อเร่งการเจริญเติบโต
*หมายเหตุ 50 กรัม เท่ากับ ประมาณ 2 ช้อนโต๊ะ

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-1-i512689-s591186.html

อ่าน:4524
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร

ระบบการผลิตเกษตรในปัจจุบันเกษตรได้พยายามพึ่งตนเองด้านปัจจัยการผลิต โดยการผลิตใช้เองตามศักยภาพและทรัพยากรที่มีในชุมชน เช่น ปุ๋ยหมัก น้ำหมัก เป็นต้น เมล็ดพันธุ์พืช นับเป็นปัจจัยการผลิตสำคัญที่บริษัทขนาดใหญ่ ได้ใช้เป็นเครื่องมือในการยึดครองระบบผลิตอาหารของโลก

.

การพึ่งพาตนเองของเกษตรกรรายย่อยด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ใช้เอง จึงยังเป็นเรื่องยุ่งยาก เทคนิคการเก็บเมล็ดพันธุ์พื้นบ้านโดยเกษตรกรเป็นองค์ความรู้ที่รวบรวมโดยชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ(กลุ่มเกษตรกรทำนา นาโส่)ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เพราะเป็นปัจจัยการผลิต ที่สำคัญที่นำไปสู่การพึ่งตนเอง และการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์

.

ประเภทของเมล็ดพันธุ์

.

การเก็บเมล็ดพันธุ์ให้ได้คุณภาพ ควรรู้จักประเภทของพืชผักพื้นบ้านเพื่อทำความเข้าใจกับธรรมชาติของพืชผัก ซึ่งแบ่งได้ ดังนี้

๑.ตระกูลมะเขือ ได้แก่ มะเขือเทศ มะเขือพวง มะอึก มะแว้ง เป็นต้น

๒.ตระกูลแตง ได้แก่ แตงโม แตงกวา แตงเทศ แตงไทย มะระ บวบหอม บวบเหลี่ยม ฟักเขียว ฯ

๓.ตระกูลกะหล่ำ ได้แก่ ผักกาดเขียวปลี กวางตุ้ง ผักกาดดอก คะน้า กะหล่ำปลี กวางตุ้ง ผักกาดดอก คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดาว บรอคโคลี่ ผักกาดหัว เป็นต้น

๔.ตระกูลถั่ว ได้แก่ ถั่วลันเตา ถั่วปากอ้า ถั่วฝักยาว ถั่วพุ่ม ถั่วแขก ถั่วพู ถั่วมะแฮะ เป็นต้น

.

การจัดการเมล็ดพันธุ์ตามลักษณะการเก็บเมล็ดพันธุ์

๑.กลุ่มที่ต้องเก็บเมื่อผลแห้ง ได้แก่ กลุ่มบวบ โดยมีวิธีการเก็บ คือเก็บผลแก่จัดสีน้ำตาล นำมาผึ่งลมให้แห้งสนิท และตากแดดให้แห้งสนิท และตากแดดให้แห้งอีก ๓-๕ วัน หลังจากนั้นเทออกจากฝัก ทำความสะอาด บรรจุซองหรือขวด ปิดฝาให้สนิท บันทึกรายละเอียดของพันธุ์เก็บใส่ตู้ หรือ ตู้เย็น

๒.กลุ่มพืชที่ต้องเก็บเมล็ดพันธุ์ช่วงระยะเริ่มสุกแก่ ได้แก่ ถั่วฝักยาว ข้าวโพด ถั่วลันเตา โดยมีวิธีการเก็บคือ มัดรวมกัน ผึ่งลมให้แห้ง ๘-๑๐ วัน กะเทาะออกจากฝัก ทำความสะอาด บรรจุในถุง หรือขวด ปิดฝาให้สนิท บันทึกรายละเอียดของพันธุ์

๓.กลุ่มพืชที่ต้องการเก็บเมล็ดเมื่อผลสุกแก่ ได้แก่ พริก มะเขือ ฟักทอง มะระ แตงโม ฟักเขียว ซึ่งมีวิธีการคือ ฟักเขียว ฟักทอง แตงโม บ่มไว้ก่อน อย่างน้อย ๑๕ วัน เมล็ดจะดูดสารอาหารจากผลมาเก็บไว้ให้เมล็ดเต็ม ส่วนพริก มะเขือ มะระ ไม่ต้องบ่ม เก็บมาผ่าเอาเมล็ดทันที เก็บไว้นานสารอาหารจะถูกดูดออกจากเมล็ด จากนั้นทำความสะอาดด้วยน้ำสะอาด นำไปตากแดดให้แห้ง ๒-๓ แดด ทำความสะอาดบรรจุในถุงกระดาษ บีบอากาศออกให้หมด ปิดปากถุงให้แน่น บันทึกรายละเอียดของพันธุ์

๔.กลุ่มพืชที่มีสารบางชนิดหุ้มห่อ เช่น มะเขือเทศ มะละกอ แตงกวา แตงร้าน เก็บพันธุ์โดยขูดเอาเมล็ดหมักไว้ ๑-๒ คืน ล้างด้วยน้ำเปล่าจนสะอาด แล้วนำเมล็ดไปตากแดด ๒-๓ แดด จนแห้งสนิท ทำความสะอาดอีกครั้ง จากนั้นบรรจุในซองกระดาษเขียนรายละเอียดของพันธ์ เก็บไว้ในตู้ หรือ ตู้เย็น

.

หมายเหตุ : เมล็ดพันธุ์ที่เก็บในช่องแช่แข็งของตู้เย็นสามารถเก็บได้นานถึง ๔ ปี แต่ถ้าเก็บในช่องธรรมดาเก็บไว้ได้นาน ๒ ปี

.

วิธีการปลูกผักเก็บเมล็ดพันธุ์

๑.พืชตระกูลเถา ปลูกหลุมละไม่เกิน ๒ เถา แต่ละเถาไม่ควรเกิน ๒ ลูก

๒.พริกมะเขือ ให้ปลูกห่างจากพันธุ์อื่นๆ เนื่องจากง่ายต่อการผสมพันธุ์ และ กลายพันธุ์

๓.ข้าวโพด ปลูกให้ห่างจากข้าวโพดพันธุ์อื่นๆ ประมาณ ๕๐๐ เมตร

.

ลักษณะการเก็บเมล็ดพันธุ์ผัก

๑.เก็บคาฝักหรือเก็บฝักแห้ง เช่น ข้าวโพด บวบ น้ำเต้า แตง แตงกวา แตงโม ผักกาด ผักชี กวางตุ้ง คะน้า สลัด

๒.เก็บสุกแก่ เช่น พริกมะเขือ พืชตระกูลถั่ว มะเขือเทศ ทานตะวัน มะรุม แมงลัก

๓.เก็บทั้งต้น เช่น สะระแหน่ ผักชีฝรั่ง กระเทียม หัวหอม

.

วิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์บางชนิด

๑.มะละกอ เก็บผลสุกแก่ นำเมล็ดพันธุ์แช่น้ำเกลือ เหมือนกับการคัดข้าวพันธุ์ ตากในที่ร่ม บรรจุขวด

๒.สลัด เก็บเมื่อสุกจนแห้ง บรรจุขวดที่แห้งแล้วนำไปเก็บไว้ในร่ม

๓.พืชตระกูลถั่ว เก็บเมื่อแก่จัด แล้วแกะเมล็ดออก เก็บไว้ในขวดเพื่อป้องกันมอดหรือแมลง

๔.มะเขือ เก็บเมื่อผลสุกเต็มที่ บรรจุเมล็ดเก็บไว้ในขวด และนำไปเก็บไว้ในที่ร่ม

๕.หัวหอมกระเทียม ทิ้งไว้ให้แก่จัดจนคาแปลงเพื่อป้องกันหัวลีบแล้วนำมามัดรวมกันแขวนไว้ในที่ร่ม

.

เทคนิคการป้องกันแมลงทำลายเมล็ดพันธุ์

๑.เมล็ดถั่วพันธุ์ต่างๆ ๑ กิโลกรัม ใช้เมล็ดละหุ่ง บด ๔๐ กรัม น้ำมันพืช ๒ ช้อนชา คลุกเคล้าให้เข้ากัน

๒.เมล็ดพืชทั่วไป

สูตรที่ ๑ ใบยี่โถหั่นฝอยแห้ง ๔๐ กรัม ต่อเมล็ดพืช ๑ กิโลกรัม

สูตรที่ ๒ ขมิ้นชันป่นแห้ง ๕๐ กรัมต่อเมล็ดพืช ๑ กิโลกรัม

สูตรที่ ๓ ปูนขาว ๕๐ กรัม ต่อเมล็ดพืช ๑ กิโลกรัม

.

เทคนิคการป้องกันความชื้นเมื่อเก็บเมล็ดพันธุ์

๑.วิธีใช้ข้าวคั่วดูดความชื้น โดยการคั่วข้าวสารแห้ง ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น แล้วใส่ก้นภาชนะ ประมาณ ๑ ใน ๔ วางกระดาษแข็งบนข้าวคั่ว จากนั้นใส่เมล็ดพันธุ์บนกระดาษปิดฝาให้สนิท

๒.วิธีใส่เศษถ่าน โดยวางเศษถ่านรองก้นภาชนะประมาณ ๑ ใน ๔ วางกระดาษแข็งใส่เมล็ดพันธุ์ปิดฝาให้สนิท

๓.วิธีใช้ขี้เถ้าใหม่ โดยการนำขี้เถ้าออกจากเตา(ขี้เถ้าที่เหลือจากการทำอาหารใหม่ๆ)นำไปร่อนให้เหลือ ขี้เถ้าสะอาดใส่ก้นภาชนะลักษณะเดียวกันกับเศษถ่าน ใส่เมล็ดและปิดฝาให้สนิท

.

อุปกรณ์เก็บ/ไล่/ดูดความชื้น

๑.ปูนปลาสเตอร์ /ถ่านหุงข้าว/ขี้เถ้า

๒.ปี๊บ

๓.เมล็ดพันธุ์

.

ภาชนะบรรจุเมล็ดพันธุ์

ภาชนะที่ใช้บรรจุเมล็ดพันธุ์มีหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมทั่วไปมี ๑๔ ประเภทได้แก่

๑.ขวดโหล

๒.ขวดสีทึบ

๓.ปี๊บ

๔.ซองกระดาษ

๕.ถุงซิป

๖.กระบอกไม้แห้ง

๗.ซองอะลูมินั่ม

๘.โอ่ง

๙.กระป๋อง

๑๐.หม้อดิน

๑๑.ถุงตาข่าย

๑๒.ถุงผ้า

๑๓.ถุงกระดาษ

๑๔.ผลน้ำเต้าแห้ง

.

การเก็บเมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสม

๑.บรรจุใส่ขวดแห้ง เช่น ถั่วพุ่ม ถั่วดำ สลัด ผักชี ผักกาด

๒.บรรจุขวดสีชา เช่น ฟักทอง น้ำเต้า พริก มะเขือ

๓.ตากไว้ในที่ร่ม เช่น หัวหอม กระเทียม ข้าวโพด

.

ข้อสังเกต

๑.ภาชนะบรรรจุเมล็ดพันธุ์ควรเก็บในพื้นที่ที่ไม่มีแดดส่องถึง

๒.ขวดเก็บเมล็ดพันธุ์ควรมีสีชา ดีที่สุด

๓.โอ่ง หรือ ไหดิน บรรจุเมล็ดพันธุ์ให้เก็บไว้ในที่แห้ง

๔.ภาชนะบรรจุเมล็ดพันธุ์ใส่ไว้ในตู้เย็น

.

ที่มาข้อมูลจาก

หนังสือเกษตรกรรมธรรมชาติ ฉบับที่ ๑๗/๒๕๕๕ หน้า ๗

อ่าน:3283
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส

โรคไหม้ (Rice Blast Disease)

พบทุกภาคในประเทศไทย ในข้าวนาสวน ทั้งนาปีและนาปรัง และข้าวไร่

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia oryzae.

.

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้อาการ

.

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

.

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง หรือ โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

.

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง อากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3406
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?

อันนี้เล่าจากประสบการณ์ตรงครับ
.
ปกติบริษัทเมล็ดพันธุ์เค้าทำขายเป็นลูกผสม f1อยู่แล้ว และแน่นอนว่าถ้านำไปปลูกลักษณะด้อยที่มาจากต้นพ่อหรือแม่จะแสดงออกมาเรื่อยๆ หลายๆสิบลูกอาจจะมีเข้าท่าสักลูกแต่จะไม่เหมือนกับที่ปลูกจากเมล็ด f1 แน่นอน ทั้งๆที่รู้แต่ก็อยากลองปลูกดู เลยทดลองเก็บเมล็ดจากที่กินเมลอนลูกผสมพันธุ์หนึ่ง(ขอสงวนชื่อหน่อยนะครับ)เนื้อสีส้มๆ ปลูกในโรงเรือนพลาสติกขนาดเล็ก มุ้งตาถี่สี่สิบเมส ให้ปุ๋ยให้น้ำแบบน้ำหยดตั้งเวลาอัตโนมัติ
.
ครั้งแรกปลูกทั้งหมดยี่สิบต้น สภาพต้นแข็งแรงดีติดลูกทุกต้นแต่ทรงผลออกมาพิลึกพิลั่น ทั้งแบบเป็นพูๆคล้ายฟักทอง ออกตะปุ่มตะป่ำก็มี แต่หวานทุกลูก หอมบ้างไม่หอมบ้าง แต่มีอยู่ลูกหนึ่งกลิ่นดี ความหวานดี น้ำหนัก 1.5 กิโลทรงลูกเหมือนไข่ไก่ จากเดิมทรงกลม เก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ต่อไป
.
ครั้งที่สองจำนวนต้นเท่าเดิม รุ่นนี้เริ่มไม่แข็งแรง อ่อนแอกับโรคราน้ำค้างมาก ตายไปสอง แต่ก็ประคับประคองจนได้เก็บกิน น้ำหนักต่อลูกโดยเฉลี่ยลดลง ความหวานเหมือนเดิม ความหอมลดลง ทรงลูกออกจะป้านๆหน่อย คัดไว้หนึ่งลูกเก็บเมล็ดไว้ต่อไป
.
ครั้งที่สามปลูกเท่าเดิม รุ่นนี้เพลี้ยไฟกับแมลงหวี่ขาวเยอะเพราะปลูกตอนหน้าร้อน เล่นเอาใจเสียเหมือนกัน ทั้งยาเคมี ทั้งชีวภัณฑ์ ใช้หมด เหลือรอดได้กินสี่ห้าลูก ตอนจะกินแสนเสียดาย ปลูกตั้งสองเดือนกว่าแต่ตอนกินแค่แป็บเดียว รุ่นนี้สีลูกเพี้ยน ตอนสุกมีทั้งสีเหลือง สีขาว สีเขียว สีขาวปนเขียวปนเหลืองมั่วไปหมด น้ำหนักลูกเหลือเจ็ดแปดขีด ความหวานลดลงมาก แต่กลิ่นหอมหายไปกลายเป็นกลิ่นขี้ไต้แทน เปลือกหนามาก เนื้อจากกรอบๆรุ่นนี้แข็งยังกับกินแฟงดิบ จากเมลอนหนึ่งลูก พยายามให้ออกลูกออกหลานหวังว่าจะเจออภิชาติเมลอนเข้าสักวันเป็นอันต้องจบลงในรุ่นนี้เอง
.
เอามาเล่าสู่กันฟังครับ กับผลไม้ลูกกลมๆที่ไม่รู้มีเสน่ห์อะไรนักหนา บ้าเก็บเมล็ดปลูกเข้าไปได้ยังไงไม่รู้กี่รอบ ทั้งลุ้น เหนื่อย แต่สนุกดีครับ ตอนลูกได้อายุเก็บผลทีนั่งลูบนั่งคลำดูแล้วดูอีก มันภูมิใจว่าปลูกมากับมือเชียวนะเนี่ย

.

ข้อมูลได้จาก สมาชิกหมายเลข 1001408 pantip.com

อ่าน:3096
ปุ๋ยน้ำ โปรตีนอะมิโน พืชโตไว ใบเขียวแข็งแรง
ปุ๋ยน้ำ โปรตีนอะมิโน พืชโตไว ใบเขียวแข็งแรง

โปรตีนอะมิโน นาโนอะมิโน เหม็นมาก แต่ดีต่อพืช ใช้ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโต ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

อ่าน:3003
จัดตั้ง..นิคมข้าวหอมมะลิ ใช้แกนนำหมู่บ้าน..ขยาย แนวคิด 
จัดตั้ง..นิคมข้าวหอมมะลิ ใช้แกนนำหมู่บ้าน..ขยาย แนวคิด 
พื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่จะใช้ “สารเคมี”......เพื่อให้ผลผลิตได้ปริมาณ ได้ประโยชน์เพียงคาบเวลาหนึ่ง ปัจจุบันหลายแห่งเริ่มประสบปัญหาสภาพดินเสื่อม ท้ายสุดส่งให้ผลิตผลลดลงอย่างเห็นได้ชัด 

ฉะนี้...เกษตรกรจึงหาทางออกด้วย “เกษตรอินทรีย์” สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รณรงค์ส่งเสริมขึ้นในหลายพื้นที่....ล่าสุดจัดทำ “โครงการจัดตั้งนิคมข้าวหอมมะลิ” 

...นายอนันต์ ภู่สิทธิกุล เลขาธิการ สปก. เผยว่า......หลักใหญ่ของการจัดตั้งนิคมคือ ดูความพร้อมของชุมชน ชาวบ้าน และ ความต้องการของคนส่วนใหญ่ โดยวางพื้นที่เป้าหมายไว้ 200,000 ไร่ ใน 5 จังหวัดได้แก่ ยโสธร ร้อยเอ็ด สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ เนื่องจากมีชื่อเสียงและความรู้ในการทำนาเกษตรอินทรีย์ 

ส่วน...สปก. เข้าไปสนับสนุนเรื่องของการ พัฒนาแหล่งน้ำ ส่งเสริมให้ จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงโค ที่มีเป้าหมายหลักคือต้องการ ทำธนาคารปุ๋ยเคลื่อนที่ เพื่อเอาปุ๋ยกลับไปสู่แปลงนา เป้าหมายรอง คือ เลี้ยงเพื่อเอาเนื้อขาย 

ทั้งนี้ เนื่องจากเกษตรกรในพื้นที่มีการรวมตัวเป็น “ชมรมเกษตรอินทรีย์ ชมรมรักษ์ธรรมชาติ” อยู่แล้ว จึงเป็นจุดดีที่มีองค์ความรู้อยู่ในพื้นที่ เพราะ แกนนำเหล่านี้จะไปขยายแนวคิดสู่ชุมชน 
อ่าน:2983
FK Talk: กำลังเข้าสู่ฤดูหนาว อย่าลืมใช้ปุ๋ยน้ำปลอดสารพิษจากเรา ดูแลพืชของคุณนะครับ

FK Talk 5 ตุลาคม 2557

สวัสดีครับ ฤดูหนาวใกล้เข้ามาแล้ว อากาศเริ่มเปลี่ยน เพื่อนพี่น้องฟาร์มเกษตรรักษาสุขภาพด้วยนะครับ (ถ้ามียาแก้หวัดจะรีบประกาศขายตอนนี้เลย ^^)

 

วันนี้ผมมาแนะนำปุ๋ยน้ำ หรือปุ๋ยอินทรีย์น้ำนาโนอะมิโน, นาโนคือผลิตด้วยนาโนเทคโนโลยี นาโนคืออะไรที่มันเล็กมากๆครับ ถ้านับนามวิชาคณิตศาสตร์เช่น 1 เซนติเมตร 1 มิลลิเมตร 1 ไมโคร และก็ 1 นาโนเมตร เซ็นติเมตร คือ 1, มิลลิคือ 1x10 ยกกำลัง -3 หรือพูดง่ายๆคือมีขนาดเท่ากับ 1ส่วนหนึ่งพันของ 1เซ็นติเมตรนั้นเอง, ส่วนไม่โคร คือ 1x10 ยกกำลัง -6 และนาโนนั้นขนาดเล็กเท่ากับ 1x10 ยกกำลัง -9, พูดให้งงน้อยกว่านี้อีกนิดนึงคือ ขนาดของเทคโนโลยีนาโน ถ้าเรามองเห็นได้ เราจะเห็นมันมีขนาดเท่ากับ 1ส่วนพันล้าน ของ 1เซ็นติเมตรนั้นเอง เห็นรึปล่าวครับ ว่ามันเล็กขนาดไหน (คงมองไม่เห็น ^^), เอาเป็นว่ามันเล็กมาาาาก ครับ

 

อมิโนล่ะ, อะมิโน หรือกรดอะมิโน คือโปรตีนแบบหนึ่ง ที่พืชนำไปใช้ในการเจริญเติบโตได้ทันที อย่างรวดเร็ว โดยลัดขั้นตอนบางอย่างของพืชไป ทำให้เราสังเกตุเห็นได้ชัดว่า หลังจากฉีดปุ๋ยอินทรีย์น้ำ นาโนอะมิโน ลงไป จะทำให้พืชเขียว ดูสดชื่นขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งสารเคมีเลย แต่มีกลิ่นเหม็นอยู่พอสมควรนะครับ แต่เป็นกลิ่นเหม็นที่ไม่มีอันตราย ต่างกับเคมี ที่มีอันตรายต่อสุขภาพ

 

ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ

 

ขายของเลยแล้วกันครับ, ปุ๋ยอินทรีย์น้ำนาโนอะมิโนตัวนี้จากฟาร์มเกษตร มีลักษณะพิเศษคือ กลิ่นเหม็น สารภาพตรงๆว่า เรายังหาวิธีทำให้มันมีกลิ่นหอมดังเช่นน้ำหอมไม่ได้ โดยยังคงรักษาคุณภาพให้ได้เท่าเดิมอยู่

 

เหมาะสำหรับใช้ฉีดพ่นทางใบให้กับพืชได้เกือบทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงแล้ง ที่พืชต้องการความชื้นที่มากขึ้นกว่าฤดูอื่นๆ เพื่อให้พืชเจริญเติบโตได้สมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง

 

นาข้าว, มันสำปะหลัง, ไร่อ้อย, ยางพารา, ปาล์มน้ำมัน, ข้าวโพด, ผักปลอดสารพิษ, ผักสวนครัว, ไม้ดอก ไม้ประดับ ก็สามารถใช้ปุ๋ยน้ำนาโนอะมิโนนี้ได้ แต่ไม่แนะนำให้ฉีดไม้ประดับที่เลี้ยงไว้ในบ้าน หรือบริเวณที่นั่งเล่นนะครับ เพราะกลิ่นเหม็นคล้ายมูลสัตว์ อาจจะทำให้ท่านอารมณ์ไม่ดีทั้งวันเลยก็ได้

 

ข้อมูลที่มากกว่านี้ อ่านด้านล้างนี้ครับ ขอบคุณครับผม สวัสดีครับ

อะมิโน [Amino Acids] มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช

ปุ๋ยน้ำ : นาโนอะมิโน : ให้ปุ๋ยน้ำอะมิโนผ่านระบบน้ำหยด หรือ ฉีดพ่นด้วยปุ๋ยน้ำอะมิโน เป็นการให้น้ำทางใบ ช่วยส่งเสริมให้พืช มีความอุดมสมบูรณ์ ตั้งแต่ลำต้นไปจนถึงใบ 

คุณสมบัติจำเพาะ : มีกรดอะมิโนมากกว่า 15 ชนิด ต้นอ้อยสามารถนำไปใช้ได้ทันที, ฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการดูดซึมธาตุอาหาร, เพิ่มขนาดและความเขียวของใบ, ทำให้พืชเจริญเติบโต ผ่านระยะต่างๆได้อย่างสมบูรณ์ 

ส่วนประกอบของธาตุอาหาร : ประกอบด้วยธาตุอาหาร N (ไนโตรเจน) P (ฟอสฟอรัส) K (โพแทสเซียม) Ca (แคลเซียม) Mg (แมกนีเซียม) S (กำมะถัน) Zn (สังกะสี) Fe (เหล็ก) Cu (ทองแดง) Mn (แมงกานีส) Mo (โมลิบดีนัม) Cl (คลอรีน) B (โบรอน) NI (นิกเกิล) พร้อมจุลธาตุอาหารอื่นๆ รวมทั้งกรดอะมิโนครบถ้วนตามที่พืชต้องการ เลขที่วิเคราะห์ 248.435.5100 โดยสถาบันวิจัย Absolute Analytical Inc. รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา 

วิธีใช้ และอัตราส่วนการผสม ปุ๋ยน้ำอะมิโน 250 ซีซี ผสมน้ำ 100 ลิตร ให้ผ่านระบนน้ำหยด หรือ ฉีดพ่น 100 ลิตรต่อไร่ [ฉีดพ่นตอนไม่มีแดด ช่วงก่อนแดดออก 5:00 น. - 9:00 น. หรือ หลังแดดตก เวลา 16:00 น. - 20:00 น. ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดจัด] 

ปุ๋ยน้ำ นาโนอะมิโน ตรานกอินทรีคู่ ประกอบด้วย
- ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุลธาตุอาหารที่พืชต้องการครบถ้วน
- มีกรดอะมิโนมากกว่า 15 ชนิด ซึ่งอยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ได้ทันที
- ไม่มีจุลินทรีย์และกากน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ ที่เป็นสาเหตุการเกิดโรคพืช
- สามารถใช้ร่วมกับปุ๋ยอื่น ๆ ได้ทุกชนิด
- ช่วยฟื้นฟูสภาพต้นหลังการเก็บเกี่ยว
- เร่งแตกใบอ่อน ใบเขียว ผลผลิตดีมีคุณภาพ
- กรดอะมิโน พร้อมด้วยธาตุอาหารพืชครบถ้วน สกัดจากธรรมชาติ 100%
- มีธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุลธาตุอาหารตามที่พืชต้องการ
- ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการสกัดธาตุอาหารที่พืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้ทันที

สนใจผลิตภัณท์ติดต่อ
ฟาร์มเกษตร โทร 089-4599003

อ่าน:3697
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
 
       สภาพและปัจจัยที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง โดยมันสำปะหลังปลูกได้ในดินทุกชนิด แต่ชอบดินร่วนปนทรายเพราะจะลงหัวและเก็บเกี่ยวง่าย เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินที่ไม่มีน้ำท่วมขัง มีค่าเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ระหว่าง 5.5-8.0 ทนต่อสภาพความเป็นกรดสูงได้แม้ pH ของดินจะต่ำจนถึง 4.5 ก็ไม่ทำให้ผลผลิตลด แต่ไม่ทนต่อสภาพพื้นที่เป็นด่าง โดยไม่สามารถขึ้นได้ถ้า pH สูงถึง 8 ถ้าเป็นดินทรายสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่เกษตรกรมักนิยมปลูกปลายฤดูฝน เช่น แถบจังหวัดระยอง และชลบุรี ถ้าเป็นดินเหนียวจะนิยมปลูกต้นฤดูฝน เพราะถ้าเป็นฤดูแล้งการไถพรวนจะได้ดินก้อนใหญ่ ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังจะแห้งตายก่อนที่จะงอก มันสำปะหลังเป็นพืชวันสั้น ผลผลิตจะลดลงถ้า
ช่วงแสงของวันยาวเกิน 10-12 ชั่วโมง ขึ้นได้ดีในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิ 10-30 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ำฝน 500-2,500 มิลลิเมตรต่อปี
       ความต้องการธาตุอาหารของมันสำปะหลัง มันสำปะหลังมีความต้องการธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม โดยในแต่ละฤดูการผลิตมันสำปะหลังจะต้องการธาตุไนโตรเจน 10-20 กิโลกรัมต่อไร่ ฟอสฟอรัส 6-10 กิโลกรัมต่อไร่ และต้องการโพแทสเซียม 8-12 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณธาตุอาหารในดินก่อนปลูก มันสำปะหลังจะตอบสนองต่อปริมาณธาตุไนโตรเจนที่ได้รับมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความสามารถในการอุ้มน้ำของดินและปริมาณฝนที่ตกกระจายอย่างสม่ำเสมอ แต่เมื่อได้รับธาตุไนโตรเจนมากเกินไป จะทำให้เปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันลดลง ส่วนธาตุฟอสฟอรัสนั้นถึงแม้จะมีปริมาณความต้องการน้อยกว่าธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียม แต่ก็มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตที่สำคัญอย่างยิ่ง ธาตุฟอสฟอรัสจะมีประโยชน์ต่อมันสำปะหลังมากที่สุดที่ระดับ pH ของดินเป็นกลางในระหว่าง 6-7 สำหรับธาตุโพแทสเซียมนั้นมีความสำคัญต่อการเคลื่อนย้ายคาร์โบไฮเดรทจากส่วนใบและต้นไปยังราก เพิ่มปริมาณแป้งในหัวมัน และลดปริมาณไฮโดรไซยานิคในหัวมัน การขาดโพแทสเซียมจะทำให้ผลผลิตหัวมันลดลงอย่างชัดเจน ใบแก่จะร่วงหล่นเร็วกว่าปกติ ใบเล็กแคบ และลำต้นแคระแกร็น

3.1 การเตรียมพื้นที่
   3.1.1 การเลือกพื้นที่ปลูก
   ควรเลือกพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ติดต่อกัน ห่างจากถนนหลวงและมีความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยธรรมชาติค่อนข้างสูง ประกอบด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลังอย่างเพียงพอ มีแหล่งน้ำสำหรับการเพาะปลูก ไม่ควรเป็นพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมีในปริมาณมากติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือมีการปนเปื้อนของสารเคมีสูง และห่างจากพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมีการเกษตร พื้นที่ที่จะใช้ในการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ต้องมีการวิเคราะห์สมบัติของดินและน้ำ เพื่อตรวจสอบหาสารพิษตกค้าง และทำประวัติการทำการเกษตรของพื้นที่ 

   3.1.2 การวางผังแปลง
       การทำไร่มันสำปะหลังอินทรีย์นั้นจะต้องมีการวางผังแปลงอย่างดี มีการจัดแบ่งพื้นที่ ระหว่างแปลงมีถนนเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน ในพื้นที่ราบควรวางแนวแปลงปลูกให้ขนานกับทางลำเลียง แต่ในบริเวณลาดเอียงปลูกขวางความลาดเอียงของพื้นที่เพื่อลดการชะล้างและสูญเสียหน้าดิน

   3.1.3 การปรับพื้นที่
       เน้นการปรับหน้าดินเพื่อไม่ให้น้ำขังในแปลง บริเวณที่ลุ่มเป็นแอ่งเล็กน้อย ควรปรับเอาดินข้างๆ มากลบ แต่ถ้าเป็นแอ่งลึกและกว้างควรแก้ไขโดยการระบายน้ำออก

   3.1.4 การปลูกพืชเพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากภายนอกพื้นที่หรือทางอากาศ
       ปลูกไม้ยืนต้นโตเร็วเพื่อเป็นแนวกันชน ป้องกันลม ป้องกันแมลงศัตรูพืชและสารเคมีจากพื้นที่อื่น ได้แก่ กระถิน แคฝรั่ง มะแฮะ เป็นต้น

   3.1.5 การเตรียมดิน
       มันสำปะหลังเป็นพืชหัว ผลผลิตที่ใช้ประโยชน์คือรากที่มีการสะสมอาหารจำพวกแป้งจนขยายใหญ่ขึ้นเป็นหัวอยู่ในดิน การเลือกพื้นที่ควรเลือกที่ดอน ดินเป็นดินร่วนปนทราย ถ้าเป็นดินเหนียวต้องมีการระบายน้ำดี น้ำไม่ท่วมขัง และต้องมีหน้าดินลึกพอสมควร ก่อนปลูกควรไถและพรวนอย่างน้อย 2-3 ครั้ง ลึก 20-30 เซนติเมตร เพื่อกลบเศษซากพืชจากฤดูก่อน และทำลายวัชพืชต่างๆ ให้ลดจำนวนลง การไถให้ใช้ผาน 3 ติดท้ายรถแทรกเตอร์ 1 ครั้ง ตามด้วยผาน 7 อีก 1 ครั้ง จะได้ผลผลิตมันสำปะหลังและกำไรสูงสุด ถ้าพื้นที่มีความลาดชันต้องไถพรวนตามแนวขวาง เพื่อป้องกันการชะล้างของดิน และถ้าดินระบายน้ำไม่ดีต้องยกร่องปลูก


3.2 การบำรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ 
   การใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน และทำให้ดินมีกำลังการผลิตที่เพียงพอ สามารถทำได้โดยการเพิ่มปริมาณซากพืช เพิ่มธาตุอาหารพืชในดิน และกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางชีวภาพในดิน สามารถทำได้ดังนี้

   3.2.1 ไม่เผาตอซังมันสำปะหลัง และเศษวัสดุอินทรีย์ แต่ทำการไถกลบลงในพื้นที่เพาะปลูก 
   3.2.2 ปลูกพืชปุ๋ยสดเพื่อไถกลบ โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วพร้าอัตรา 8-12 กิโลกรัมต่อไร่ ระหว่างปลูกพืชปุ๋ยสดให้ทำการฉีดด้วยปุ๋ยอินทรีย์น้ำอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ โดยเจือจางด้วยน้ำในสัดส่วน 1:500 หรือ 1:1,000 ไถกลบเมื่ออายุประมาณ 45 วัน หรือถั่วพุ่มอัตรา 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วไถกลบเมื่ออายุประมาณ 35 วัน ซึ่งเป็นช่วงออกดอก ทิ้งไว้ 15 วัน ก่อนปลูกมันสำปะหลัง
   3.2.3 ใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจาง 1: 500 หรือ 1:1,000 ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง และฉีดพ่นให้แก่มันสำปะหลัง หลังจากปลูกแล้ว 15 วัน หลังจากนั้นให้ฉีดพ่นทุกๆ 1 เดือน จนกว่าจะเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
   3.2.4 ปลูกพืชปุ๋ยสดแซมมันสำปะหลัง เช่น ถั่วพุ่ม หรือถั่วพร้า แซมในแถวมันสำปะหลัง โดยปลูกหลังจากปลูกมันสำปะหลังไปแล้วประมาณ 1-2 สัปดาห์ แล้วตัดคลุมดินช่วงพืชปุ๋ยสดออกดอก เพื่อเป็นการรักษาความชื้นในดิน และเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน เมื่อเศษพืชปุ๋ยสดสลายตัว


3.3 วิธีการปลูก
   การเตรียมท่อนพันธุ์
       การปลูกมันสำปะหลังนิยมใช้ท่อนพันธุ์ โดยตัดลำต้นให้เป็นท่อนยาว 15-20 เซนติเมตร เลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แก่มีอายุตั้งแต่ 8 เดือนขึ้นไป แช่ท่อนพันธุ์ในปุ๋ยอินทรีย์น้ำ เจือจาง 1:500 หรือ 1:1,000 เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนำมาผึ่งท่อนพันธุ์ให้แห้ง ก่อนนำไปปลูก 

   วิธีปลูก
       การปลูกมันสำปะหลังทำได้โดยนำท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ปักลงในดินให้ลึกประมาณ 2/3 ของท่อนพันธุ์ ควรระวังอย่าปักส่วนยอดลงดินเพราะตาจะไม่งอก การปักตรง 90 องศา หรือปักเฉียง 45 องศากับพื้นดิน ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกัน และมันสำปะหลังจะงอกเร็ว สะดวกต่อการกำจัดวัชพืชและปลูกซ่อม และลงหัวด้านเดียวเป็นกลุ่ม ง่ายต่อการเก็บเกี่ยว และให้ผลผลิตสูงกว่าการปลูกแบบฝัง 10-15 เปอร์เซ็นต์ 

   ระยะปลูก
       พันธุ์ระยอง 1 โดยใช้ระยะ 100 x 100 เซนติเมตร ซึ่งในพื้นที่ 1 ไร่ จะปลูกได้ 1,600 ต้น ปลูกประมาณเดือนมิถุนายน เก็บเกี่ยวเดือนเมษายน 
       ส่วนพันธุ์ระยอง 90 ควรใช้ระยะ 80 x 100 เซนติเมตร (2,000 ต้นต่อไร่) ปลูกประมาณเดือนมิถุนายน เก็บเกี่ยวเดือนเมษายน 
       พันธุ์ระยอง 60 ควรใช้ระยะ 60 x 100 เซนติเมตร (2,400 ต้นต่อไร่) ปลูกประมาณเดือนมิถุนายน เก็บเกี่ยวเดือนกุมภาพันธ์ 
       พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ควรใช้ระยะปลูก 80 x 100 เซนติเมตร ปลูกประมาณเดือนมิถุนายน เก็บเกี่ยวเดือนพฤษภาคม


3.4 การดูแลรักษาและกำจัดศัตรูพืชในระบบเกษตรอินทรีย์
   3.4.1 การป้องกันกำจัดโรคพืช
       มันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทย มีปัญหาเรื่องโรคและแมลงรบกวนน้อยมาก ซึ่งปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี และมีความต้านทานต่อโรคและแมลงอยู่แล้ว อาจพบได้ในบางกรณี เช่น โรคที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบจุดไหม้ โรคใบจุดขาว สามารถป้องกันกำจัดโดยใช้สารสกัดป้องกันเชื้อราจาก กระชาย ก้ามปู ตะไคร้ สมอดุ้ง เป็นต้น โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น โรคใบไหม้ ป้องกันกำจัดโดยใช้สารสกัดป้องกันเชื้อแบคทีเรียจาก กระชาย ตะไคร้ ตีนเป็ดทะเล ฉัตรพระอินทร์ เป็นต้น

      โรคและการป้องกันกำจัด
       มันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทย มีปัญหาเรื่องโรคและแมลงรบกวนน้อยมาก อาจเนื่องมาจากส่วนใหญ่เป็นพันธุ์พื้นเมืองซึ่งปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี และมีความต้านทานต่อโรคและแมลงอยู่แล้ว แต่เมื่อนำพันธุ์ใหม่เข้ามาปลูกโดยไม่มีการควบคุมที่ดีพอ อาจมีโรคร้ายแรงติดเข้ามาระบาดในประเทศได้โรคที่พบระบาดในประเทศไทย มีดังนี้

โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot) เกิดจากเชื้อรา Crecosporidium henningsii อาการที่พบจะเป็นจุดที่ใบโดยเฉพาะใบแก่ รอยแผลจะเป็นเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน สีเหลืองตรงกลางแผลจะแห้ง โรคนี้พบได้ในทุกพันธุ์ พันธุ์พื้นเมืองซึ่งเป็นพันธุ์ต้านทานปานกลาง โรคนี้ทำให้ผลผลิตลดลง 14-20 เปอร์เซ็นต์ ป้องกันกำจัดโดยใช้สารสกัดป้องกันเชื้อราจากกระชาย ก้ามปู ตะไคร้ สมอดุ้ง เป็นต้น
โรคใบไหม้ (cassava bacterial blight, CBB) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas camprestris pv. Manihotis อาการจะเกิดขึ้นที่ใบ เริ่มแรกเป็นจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำแล้วขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็นใบไหม้ ใบเหี่ยวร่วงหล่น มียางไหล ต่อมาเกิดอาการยอดเหี่ยว และแห้งตายลงมา (die back) เป็นโรคที่ร้ายแรงมากชนิดหนึ่งซึ่งจะทำความเสียหายให้มันสำปะหลังได้ถึง 30-90 เปอร์เซ็นต์ ในประเทศไทยพบอาการต้นเป็นโรคและไม่ระบาดรุนแรง อาจเป็นเพราะสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการระบาด และพันธุ์ที่แนะนำส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่ค่อนข้างต้านทานต่อโรคนี้ ป้องกันกำจัดโดยใช้สารสกัดป้องกันเชื้อแบคทีเรียจากกระชาย ตะไคร้ ตีนเป็ดทะเล ฉัตรพระอินทร์ เป็นต้น

นอกจากนี้ ยังสามารถพบโรคอื่นๆ ได้ เช่น โรคใบจุดไหม้ (blight leaf spot) เกิดจากเชื้อรา Cercospora viscosae โรคใบจุดขาว (white leaf spot) เกิดจากเชื้อรา Phaeoramularia manihotis โรคลำต้นเน่า (stem rot) เกิดจากเชื้อ Glomerella cingulata และโรคหัวเน่า (root rot) ซึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อราหลายชนิด มักจะเกิดขึ้นเมื่อหัวมันสำปะหลังเป็นแผล

   3.4.2 การป้องกันกำจัดแมลง
       แมลงที่ทำลายมันสำปะหลังมักจะพบระบาดมากในช่วงที่อากาศค่อนข้างแห้งแล้ง มักจะเป็นแมลงพวกปากดูด ได้แก่ ไรแดง เพลี้ยแป้ง แมลงหวี่ขาว สามารถป้องกันกำจัดโดยพ่นสารสกัดจาก ขมิ้นชัน ข่อย หางไหล เถาวัลย์เปรียง ปอกระเจา รางจืด สะเดา เป็นต้น เพื่อฆ่าแมลงและศัตรูพืชเป็นจุดเฉพาะบริเวณที่ระบาดรุนแรง

ไรแดง (red spider mite) ที่พบทำความเสียหายให้มันสำปะหลังมี 2 ชนิด ได้แก่ ไรแดงหม่อน (Tetranychus truncatus) จะดูดกินน้ำเลี้ยงตามใต้ใบล่างๆ แล้วลามขึ้นมาขึ้นสู่ยอด และไรแดงมันสำปะหลัง (Oligonychus biharensis) จะดูดกินน้ำเลี้ยงบนหลังใบส่วนยอด แล้วขยายปริมาณลงสู่ส่วนล่างของต้น ถ้าไรแดงระบาดมากๆ ใบจะเหลืองซีด ม้วนงอ ส่วนยอดงองุ้ม ถ้ามันสำปะหลังมีขนาดเล็กอาจตายได้ หากระบาดมากต้องพ่นสารสกัดจาก ขมิ้นชัน ข่อย หางไหล เถาวัลย์เปรียง ปอกระเจา รางจืด สะเดา เป็นต้น เพื่อฆ่าแมลงและศัตรูพืชเฉพาะบริเวณที่มีการระบาดรุนแรง
เพลี้ยแป้ง (stripped mealy bug) เป็นแมลงปากดูด ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่างๆ และถ่ายมูลเหลวไว้ทำให้เกิดราดำ ถ้าระบาดมากต้นจะแคระแกร็น ยอดแห้งตาย หรือแตกพุ่ม ถ้าพบต้องตัดต้นไปทำลาย พ่นสารสกัดจาก ขมิ้นชัน ข่อย หางไหล เถาวัลย์เปรียง ปอกระเจา รางจืด สะเดา เป็นต้น
แมลงหวี่ขาว (white fly) เป็นแมลงปากดูดจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนใต้ใบพืช และถ่ายมูลเหลวออกมาทำให้เกิดราดำ มักเกิดควบคู่กับการเข้าทำลายของไรแดง และเพลี้ยแป้ง พ่นสารสกัดจากขมิ้นชัน ข่อย หางไหล เถาวัลย์เปรียง ปอกระเจา รางจืด สะเดา เป็นต้น
แมลงปากกัดอื่นๆ พบบ้างแต่ไม่ทำความเสียหายมากนัก เช่น แมลงนูนหลวง ตัวหนอนจะทำลายกัดกินราก ต้นมันสำปะหลังที่มีขนาดเล็กอาจตายได้ ด้วงหนวดยาว ตัวหนอนจะกัดกินภายในเหง้าและต้นทำให้ต้นหักล้ม

   3.4.3 การควบคุมวัชพืช
       ในระยะแรกของการปลูกมันสำปะหลังจะมีวัชพืชขึ้นรบกวนมาก และระยะเวลาวิกฤตในการกำจัดวัชพืชจะอยู่ที่ 2-3 เดือนแรก เนื่องจากเป็นระยะเวลาที่มันสำปะหลังกำลังลงหัว หลังจาก 4 เดือนไปแล้วมันสำปะหลังจะไม่มีการสร้างหัวเพิ่ม แต่จะขยายขนาดหัวให้ใหญ่ขึ้น ถ้ามีวัชพืชขึ้นรบกวนในช่วงนี้มากจะทำให้ผลผลิตลดลง การเริ่มกำจัดวัชพืชครั้งแรกต้องรีบกระทำ อาจเริ่มที่ 15 วันหลังจากปลูก ยิ่งล่าช้าออกไปผลผลิตจะยิ่งลดลง ควรกำจัดวัชพืชครั้งแรกให้เสร็จภายใน 1 เดือน หลังจากปลูก และอาจต้องกำจัดวัชพืชอีก 2-3 ครั้ง จนกว่าพุ่มของใบมันสำปะหลังจะชิดกัน หรืออีกวิธีหนึ่งที่สามารถป้องกันวัชพืชได้คือการปลูกพืชปุ๋ยสดแซมในแปลงมันสำปะหลัง เป็นการคลุมดินป้องกันวัชพืชได้ในช่วงแรกๆ แล้วตัดวางคลุมดินไว้ หรือใช้สารสกัดจากควินิน แกง ชุมเห็ดไทย ตำแยแมว ชบา น้ำนมราชสีห์ เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของวัชพืช



3.5 การจัดการดินหลังเก็บเกี่ยว
       มันสำปะหลังได้เปรียบพืชไร่ชนิดอื่นที่สามารถยืดหยุ่นอายุการเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่ 8 เดือนขึ้นไป เกษตรกรจะเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังตามความจำเป็น เช่น ราคา และแรงงาน แต่โดยปกติจะเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 10-12 เดือน เพราะผลผลิตมันสำปะหลังจะมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น หลังจากเก็บเกี่ยวหัวมันสำปะหลัง ต้องตัดเหง้าและต้นออก และรีบส่งหัวมันสดเข้าโรงงานทันที หรืออย่างช้าไม่เกิน 3 วัน มิฉะนั้นหัวมันจะเริ่มเน่า ส่วนลำต้นต้องเก็บทันทีเพื่อใช้ทำพันธุ์ต่อไป โดยนำไปกองรวมกันแบบตั้งขึ้นให้โคนติดพื้นดินส่วนยอดตั้งขึ้นในร่ม วิธีนี้สามารถเก็บต้นได้นานถึง 30 วัน ส่วนของกิ่ง ก้าน และใบ และในส่วนที่เป็นวัสดุตอซังให้สับกลบลงสู่ดินทุกครั้งหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุให้แก่ดิน

      

3.6 การบันทึกข้อมูล
       เพื่อให้ระบบการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ถูกต้องตามหลักการเกษตรอินทรีย์ และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีปลอดภัยจากสารพิษ จำเป็นต้องมีระบบการบันทึกข้อมูลตั้งแต่การเตรียมดินจนถึงการเก็บเกี่ยวที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักการของระบบเกษตรอินทรีย์ 
อ่าน:3295
2121 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 212 หน้า, หน้าที่ 213 มี 1 รายการ
|-Page 212 of 213-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดตากบ ในพริก ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/19 12:29:04 - Views: 3070
โรคระบาดพืชในฤดูฝน
Update: 2566/09/28 09:21:13 - Views: 307
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น ทุเรียน ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์ 1 กล่องผสมน้ำได้ 400-800 ลิตร
Update: 2566/05/27 15:34:16 - Views: 3111
หนอนพริก แมลงวันพริก หนอนแมลงวัน ศัตรูพริก ป้องกันและกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2564/02/26 06:22:10 - Views: 3182
การป้องกัน กำจัดเพลี้ย กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วย ชีวภัณฑ์ บิวเวอเรีย และ เมธาไรเซียม ได้ผลดี และปลอดภัย
Update: 2566/11/10 06:26:57 - Views: 7868
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 8978
คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
Update: 2566/04/28 13:12:43 - Views: 6533
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ย ในพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/24 08:43:04 - Views: 3740
โรคอ้อย โรคอ้อยยอดบิด (พกกะบอง) เมื่อโรครุนแรงยอดจะเน่าแห้งเป็นสีน้ำตาลแดง และใบที่ม้วนอยู่ถูกทำลาย ลำตายในที่สุด
Update: 2564/02/21 00:23:23 - Views: 3733
การป้องกันและควบคุมโรคเมลาโนสในต้นส้ม: แนวทางการดูแลและการใช้สารป้องกันกำจัดโรค
Update: 2566/11/17 08:58:24 - Views: 340
การดูแลรักษามะม่วง และเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/28 08:42:32 - Views: 4547
อาการขาดธาตุต่างๆ ในพืช จะแสดงออกให้เราเห็นทางใบ ซึ่งเราพอจะสังเกตุได้
Update: 2563/03/13 13:44:32 - Views: 3344
มังคุด โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/06 14:46:09 - Views: 3059
ไขข้อข้องใจ … ทำไมแหนมถึงกินดิบได้?
Update: 2565/11/16 13:48:55 - Views: 9815
ไส้กรอก-หมูยอ เปิดกฎหมายคุม คุณภาพห่วย โทษหนัก-คุกหัวโต
Update: 2565/11/19 12:45:16 - Views: 2978
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคผลเน่า ในลองกอง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/21 14:55:36 - Views: 2992
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส
Update: 2565/02/25 02:56:57 - Views: 3116
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นโกโก้อย่างได้ผล
Update: 2566/05/11 10:16:22 - Views: 3345
การควบคุมวัชพืชด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG) ในไร่สับปะรด
Update: 2567/01/25 12:39:38 - Views: 150
กำจัดหนอนกระทู้ผัก ศัตรูพืช เชื้อบาซิลลัส จำหรับป้องกันและกำจัดหนอน บาซีเร็กซ์ ปลอดภัยเพาะเชื้อจาก Lab 100%
Update: 2566/07/27 15:56:23 - Views: 375
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022