[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ธาตุหลัก
408 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 40 หน้า, หน้าที่ 41 มี 8 รายการ

ปุ๋ยบำรุงมะนาว ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ
ปุ๋ยบำรุงมะนาว ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ
มะนาว จัดเป็นพืชสมุนไพรใกล้ตัว หาได้ง่าย ปลูกได้ไม่ยาก แต่หากจะปลูกให้ได้ผลผลิตสูง เพื่อการค้าขาย ก็นับว่าเป็นพืชที่หินไม่น้อย เพราะช่วงที่ผลผลิตมะนาวออกสู่ตลาดเยอะ ก็ชนกัน จนทำให้ราคาถูก ส่วนตอนช่วงที่ราคาแพง ก็คือช่วงที่ผลผลิตมะนาวมีน้อยนั้นเอง ทำให้ หลายๆคน หันมาสนใจการปลูก หรือการทำมะนาวนอกฤดู ซึ่งก็มีวิธีการทำมะนาวนอกฤดูต่างๆ หลายเทคนิค สำหรับผู้สนใจ อาจจะลองค้นคำว่า มะนาวนอกฤดู บนแอพ YouTube ดู ก็จะพบหลากหลายวิธี หลายเทคนิค ที่มาสอนกันอย่างละเอียดเลยทีเดียว

กล่าวถึง FK-1 จัดเป็นปุ๋ยพื้นฐาน ที่มีธาตุหลัก ธาตุเสริมครบถ้วน เหมาะแก่การฉีดพ่นทางใบ เพื่อบำรุงมะนาวตั้งแต่หลังปลูกใหม่ๆ ไปจนถึงก่อนออกผล เนื่องจาก FK-1 นั้น ประกอบไปด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม ซึ่งเป็นธาตุอาหารหลัก ที่สำคัญ ในการเสริมสร้างการเจริญเติบโต และนอกจากนั้น ยังมี สารสังเคราะห์คลอโรคฟิลล์ ที่เพิ่มความเขียว และเสริมสร้างกระบวนการสร้างอาหารของมะนาว ทำให้ต้นมะนาว เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว มีความสมบูรณ์ แข็งแรง ต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น
อ่าน:3771
ฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง ด้วยธาตุหลัก ธาตุเสริม ที่มีอยู่ใน FK-1
ฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง ด้วยธาตุหลัก ธาตุเสริม ที่มีอยู่ใน FK-1
โดยทั่วไปแล้ว เวลาที่เรารักษาโรคพืช หรือกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืชต่างๆ เมื่อโรคพืชหาย หรือแมลงถูกกำจัดไปแล้ว พืชยังต้องใช้ระยะเวลานาน เพื่อที่จะฟื้นตัว ซ่อมแซมส่วนที่เสียหายจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง อย่างโรคใบไหม้ ตัวยาต่างๆจะเข้าไปยับยั้งไม่ให้โรคลุกลาม ขยายวงการทำลายพืช หรือหยุดการติดต่อ เมื่อโรคหยุดลุกลาม คือพืชหายจากโรค

แต่การจะทำให้พืชกลับมาฟื้นตัว และเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง และให้ผลผลิตที่ดีได้ดังเดิม เราจำเป็นต้องให้ธาตุอาหารต่างๆ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่นเดียวกับคนที่ป่วย เมื่อได้ยารักษาโรคแล้ว ต้องให้น้ำเกลือ ต้องทานอาหารหลัก และถ้าให้อาหารเสริมด้วยก็ยิ่งฟื้นตัว กลับมา แข็งแรงได้เร็วขึ้น

FK-1 ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลักของพืช N-P-K หรือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแตสเซียมตามลำดับ ไนโตรเจน จะช่วยส่งเสริมความเขียว เสริมสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ส่งเสริมให้พืช ผลิใบ แตกใบใหม่ และเจริญเติบโตได้เร็วขึ้น ฟอสฟอรัส ส่งเสริมระบบรากพืช ทำให้พืชมีระบบรากที่ดี แข็งแรง ทำให้พืชหาอาหารได้ดี ส่งผลไปถึงการออกดอก และการติดผล ส่วนโพแตสเซียม จะส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ไปสะสมที่ผลผลิต ทำให้ พืชออกผลได้สมบูรณ์ มีขนาดใหญ่ น้ำหนักดี รสชาติดี นอกจากนั้นแล้ว ใน FK-1 ยังมี แคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี ที่จำเป็นต่อความต้องการของพืช และมักจะขาด เพราะธาตุจำเป็นเหล่านี้ ไม่ได้มีอยู่ในปุ๋ยทั่วไปที่เราใส่กัน

ใช้ FK-1 ฉีดพ่นพืชอย่างต่อเนื่อง จะทำให้พืชเจริญเติบโต สมบูรณ์ แข็งแรง และได้ผลผลิตดี
อ่าน:3522
🍇 ต้นไม้ไม่งาม อ่อนแอ เป็นโรค โตช้า เพราะขาดธาตุอาหารพืช ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม
🍇 ต้นไม้ไม่งาม อ่อนแอ เป็นโรค โตช้า เพราะขาดธาตุอาหารพืช ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม
🌽 FK-1 ธาตุอาหารพืชโดยตรง ที่ประกอบด้วย ไนไตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม แมกนีเซียม แคลเซียม สังกะสี และสารจับใบ

🍅 ในหนึ่งกล่องของ FK-1 ประกอบด้วย สองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นธาตุเสริมและสารจับใบ บรรจุ ถุงละ 1 กิโลกรัม

🍑 ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง
🍉 อัตราส่วนผสม ถุงแรก 1 ช้อนโต๊ะ ถุงที่สอง 1 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร

🌶 ฟื้นฟูพืช ให้โตไว เขียว แข็งแรง ต้านทานโรคได้ดีขึ้น
🍎 แก้อาการพืชขาดธาตุ N P K Ca Mg Zn
🍏 ส่งเสริมการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์
🥦 ธาตุอาหารพืช โดยตรง

อ่าน:3508
โรคข้าว ข้าวขาดฟอสฟอรัส จะแคระแกรน แตกกอน้อย ใบแคบ สั้น ลำต้นผอมเรียว ชะงักการโต ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุง
โรคข้าว ข้าวขาดฟอสฟอรัส จะแคระแกรน แตกกอน้อย ใบแคบ สั้น ลำต้นผอมเรียว ชะงักการโต ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุง
การขาดฟอสฟอรัส (Phosphorus deficiency)

ฟอสฟอรัส (P)

เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ Adenosine triphosphate (ATP) นิวคลีโอไทล์ (Nucleotile) กรดนิวคลีอิก (Nucleic acids) และฟอสโฟไลปิด (Phospholipid) ฟอสฟอรัสจะช่วยในการแตกกอ การพัฒนาของราก การออกดอกและการสุกแก่ของข้าว ปุ๋ยฟอสเฟตจะจำเป็นมากสำหรับข้าวที่ระบบรากยังไม่พัฒนาเต็มที่ เช่นหลังการปักดำใหม่ๆ ดังนั้นจึงควรใส่ปุ๋ยฟอสเฟตเป็นปุ๋ยรองพื้นก่อนการปักดำหรือในวันปักดำ

ข้าวที่ขาดฟอสฟอรัส

จะแคระแกรน การแตกกอน้อย ใบแคบ สั้น ตั้งตรงและมีสีเขียวเข้ม ลำต้นผอมเรียว ข้าวจะชะงักการเจริญเติบโต จำนวนใบ จำนวนรวงและจำนวนเมล็ดต่อรวงลดลง ใบอ่อนสมบูรณ์ดีแต่ใบแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและตายในที่สุด ถ้าพันธุ์ข้าวที่ปลูกสามารถผลิต Anthocyanin ได้ใบอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือสีม่วง ในดินที่เป็นกรดการขาดฟอสฟอรัสมักจะเกิดร่วมกับเหล็กเป็นพิษ

สาเหตุของการขาดฟอสฟอรัส

เกิดจากการมีระดับฟอสฟอรัสในดินนาต่ำหรือถูกตรึงโดยดินจนพืชนำมาใช้ประโยชน์ไม่ได้ (จะเกิดในดินที่เป็นกรดจัด) การใส่ปุ๋ยไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช วิธีการปลูกแบบนาหว่านมีโอกาสทำให้ข้าวขาดฟอสฟอรัสมากกว่าปลูกแบบปักดำเพราะต้นข้าวจะหนาแน่นกว่าและมีรากตื้นกว่าข้าวที่

การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดฟอสฟอรัสสามารถทำได้โดย การไถกลบฟางข้าวลงในแปลง เพราะถึงแม้ว่าปริมาณฟอสฟอรัสในฟางข้าวจะมีน้อย แต่จะช่วยรักษาระดับฟอสฟอรัสในดินในระยะยาว ใส่ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยคอกและวัสดุอินทรีย์อื่นๆ ให้กับข้าวอย่างพอเพียง เพื่อชดเชยกับธาตุอาหารที่สูญเสียไปจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อให้ ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม

Reference: main content from ricethailand.go.th
อ่าน:3540
อ้อยขาดธาตุแมกนีเซียม (Magnesium, Mg) อ้อยแคระ อ้อยจุดสนิม อาจมีมีสาเหตุจากเชื้อรา หรืออาจเป็นเพราะขาดแมกนีเซียม ต้องพิจารณาดีๆ
อ้อยขาดธาตุแมกนีเซียม (Magnesium, Mg) อ้อยแคระ อ้อยจุดสนิม อาจมีมีสาเหตุจากเชื้อรา หรืออาจเป็นเพราะขาดแมกนีเซียม ต้องพิจารณาดีๆ
ภายใต้สภาพที่มีการขาดแมกนีเซียมอย่างรุนแรง ลำต้นอ้อยจะมีการแคระแกร็นทำให้เกิดเป็นสีสนิมอย่างรุนแรงและมีสีน้ำตาล โดยภายในลำต้นนั้นอาจจะกลายเป็นสีน้ำตาลได้

สีสนิมที่เกิดขึ้นนั้นสามารถกระจายไปทั่วทั้งแผ่นใบและอาจจะทำให้ใบแก่นั้นเกิดการหลุดหักร่วงก่อนอายุจริง

ลักษณะอาการโรค อ้อยที่ขาดแมกนีเซียม จะมีจุดประคล้ายสนิมเหล็กทั่วบริเวณด้านบนของใบภายในลำอ้อย ถ้าผ่าดูจะมีสีน้ำตาลทำให้ใบแก่และหลุดร่วงก่อนอายุลำต้นอาจแคระแกร็น ลักษณะคล้ายกับอ้อยขาดแคลเซียมมาก ลำต้นเล็ก ปล้องสั้น

คำแนะนำการป้องกันกำจัด

การขาดแมกนีเซียมมักขาดในดินทราย และดินที่มีโพแทสเซียมสูงการใส่โพแทสเซียมในอัตราสูงจะทำให้เกิดการขาดแมกนีเซียมได้ในดินที่มีแมกนีเซียมต่ำ ปุ๋ยที่ให้แมกนีเซียม โดยการฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นประมาณ 80ลิตรต่อไร่ ทุก 7-15 วัน ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง

Reference: main content from ocsb.go.th
อ่าน:3563
ป้องกันและกำจัด โรคแอนแทรคโนส ที่เกิดกับมันสำปะหลัง
ป้องกันและกำจัด โรคแอนแทรคโนส ที่เกิดกับมันสำปะหลัง
โรคแอนแทรคโนส

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อราในสภาพพื้นที่ ที่มีความชื้นสูงติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ ในพันธุ์มันสำปะหลังที่อ่อนแอ เช่น ระยอง 72 หรือ ระยอง11 ส่วนพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทาน ยอดจะเหี่ยวแห้งตายลงมาทำให้เกิดมีการเจริญเติบโตของกิ่งหรือยอดใหม่ น้ำหนักผลผลิตจะลดลงหรือเก็บเกี่ยวล่าช้า ผลผลิตจะเสียหาย 30 – 40%

ลักษณะอาการ

ใบจะมีไหม้สีน้ำตาล ขยายตัวเข้าสู่กลางใบ มักปรากฏกับใบที่อยู่ล่าง ในตัวแผลบนใบจะมีเม็ดเล็กๆ สีดำขยายตัวไปตามขอบของแผลอาการไหม้ ส่วนก้านใบ อาการจะปรากฏในส่วนโคนก้านใบ จะเป็นแผลสีน้ำตาลขยายตัวไปตามก้านใบ ทำให้ก้านใบมีลักษณะลู่ลงมาจากยอด หรือตัวใบจะหักงอจากก้านใบ เกิดอาการใบเหี่ยวและแห้งได้ ส่วนลำต้นและยอด แผลที่ลำต้นจะเป็นแผลที่ดำตรงบริเวณข้อต่อกับก้านใบและมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม แผลจะขยายตัวไปสู่ส่วนยอดทำให้ยอดเหี่ยวแห้งลงมา

การป้องกันกำจัด

- ใช้พันธุ์ต้านทาน
- การใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค
- ปลูกพืชหมุนเวียน
- ไถกลบเศษซากมันสำปะหลังลึก ๆ ช่วยลดประชากรเชื้อโรคในดินได้

ข้อมูลอ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/409

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา อัตราส่วนการใช้ 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง เพื่อป้องกันและยับยั้งการระบาดของโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง
สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3534
โรคใบจุดสนิม (Agal Spot) ที่เกิดกับทุเรียน
โรคใบจุดสนิม (Agal Spot) ที่เกิดกับทุเรียน
ลักษณะอาการของโรคใบจุดสนิม

พบจุดฟูสีเขียวแกมเหลือง ขอบของจุดเหล่านี้จะไม่เรียบ และมีลักษณะเป็นแฉก ๆ เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม จุดจะขยายใหญ่ และเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้มหรือสีสนิม ที่พบไม่มีผลกระทบที่รุนแรงต่อการเจริญของทุเรียน นอกจากจะบดบังเนื้อที่ใบที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงให้น้อยลง

การแพร่ระบาดของ โรคใบจุดสนิม ทุเรียน

ระบาดมากในแปลงทุเรียนที่มีทรงพุ่มแน่นทึบ และสภาพความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบจุดสนิม

ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้เหมาะสม
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
ฉีดพ่นด้วย FK-1 ปุ๋ยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อบำรุงให้ฟื้นตัวเร็ว และเจริญเติบโตไว ให้ผลผลิตดี

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3660
ระเบิดราก เร่งต้น เร่งใบ เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1
ระเบิดราก เร่งต้น เร่งใบ เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1
พืชผลรากใบก่อ เกิดดี
ผลผลิตเท่าทวี มากล้น
ธาตุหลักรองเสริมมี ควรทราบ
เอฟเคหนึ่งควรหมั่น ฉีดพ่นพืชเอย
อ่าน:3562
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
การวินิจฉัย อาการขาดธาตุรองของพืช พืชขาด ธาตุแคลเซียม หรือขาด ธาตุแมกนีเซียม เราสามารถสังเกตุได้จากอาการของพืช การวินิจฉัยนี้ เป็นการสังเกตุอาการเบื้องต้อง ให้ผู้อ่านทำความเข้าใจว่า อย่างใจก็แล้วแต่ อาการที่พืชแสดงให้เราสังเกตุได้นั้น ยังประกอบด้วยปัจจัยพื้นฐานอีกหลายองค์ประกอบ ในบทความนี้ เป็นการสังเกตุอาการเบื้องต้น เป็นแนวทางให้เราพอจะสันนิษฐาน เพื่อแก้ปัญหาให้กับพืชที่เราปลูกได้

ผู้อ่านเคยสังเกตุไหมว่า ทำไมผู้ผลิตปุ๋ย จึงเลือกให้ธาตุอาหารรองกับพืช โดยการผสมในปุ๋ยสูตรหลัก โดยเน้นไปที่ธาตุรองเป็น ธาตุแคลเซียม และ ธาตุแมกนีเซียม เป็นพิเศษ ให้หลายๆผลิตภันฑ์ และหลายๆสูตรปุ๋ย สาเหตุเป็นเพราะว่า การวินิจฉัยว่าพืช ขาดธาตุแคลเซียม หรือ ขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น ค่อนข้างจะบ่งชี้ได้ยาก

เรื่องของปฏิสัมพันธ์ระหว่างธาตุนั้น จะเริ่มจากโบรอน ไปสู่ธาตุอื่นๆต่างๆ ดังนี้

โบรอน > ซิลิคอน > แคลเซียม > ไนโตรเจน > แมกนีเซียม > ฟอสฟอรัส > คาร์บอน > โพแทสเซียม

จะเห็นได้ว่า ธาตุแคลเซียม จะจับกับ ธาตุไนโตรเจน ซึ่งไนโตรเจนนั้น เป็นองค์ประกอบหลักของ กรดอะมิโน ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความเขียวของใบพืช ใช้ในการสังเคราะห์แสง

จะเห็นได้ว่า หากพืชขาด ธาตุแคลเซียม จะส่งผลกระทบต่อความเขียวของใบพืช ใบพืชอาจจะซีดเป็นสีเหลือง หรือสีน้ำตาล แต่อาการเหลือง หรือน้ำตาลของใบพืช จะแสดงออกโดยมีรายละเอียด หรือลักษณะเฉพาะแบบไหน?

ในส่วนของการสร้าง คลอโรฟิลล์ ก็ต้องใช้ ธาตุแมกนีเซียม ในการรับพลังงาน และสะสมพลังงานจากแสงอาทิตย์ ในโตรเจน ที่อยู่ในกรดอะมิโน จะจับกับ แมกนีเซียม เพื่อสร้างคลอโรฟิลล์ในพืช

ซึ่งก็หมายความว่า หากพืชขาด ธาตุแมกนีเซียม ก็จะแสดงอาการใบเหลืองเช่นกัน ส่วน อาการขาดไนโตรเจน ก็ใบซีด ใบเหลือง ชัดเจนอยู่แล้ว เพราะไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก แต่สำหรับคนที่ใส่ปุ๋ยทั่วๆไปสม่ำเสมอ อาการใบเหลืองจากการ ขาดไนโตรเจนนั้น น่าจะตัดออกไปได้ เหลือพิจารณาอยู่คือ ธาตุรอง สองธาตุ คือ แมกนีเซียม และ แคลเซียม นั้นเอง

พืชขาดธาตุแคลเซียม พืชขาดธาตุแมกนีเซียม
ความแตกต่างของอาการขาดธาตุ แคลเซียม เปรียบเทียบกับ ขาดธาตุแมกนีเซียม
อาการพืชขาดธาตุแคลเซียม
อาการใบเหลืองของพืช จะแสดงที่ด้านบนของใบพืช สัญญานที่บ่งบอกว่า พืช ขาดธาตุแคลเซียม คือ ใบพืชจะมีรอยสีน้ำตาล / เหลืองเป็นจุดๆ มักจะเกิดที่ส่วนยอดของต้นพืช

ลำต้นพืชจะอ่อนแอ เนื่องจากผนังเซลล์ไม่ดี

การเจริญเติบโตของพืชช้า (บนเงื่อนไขที่เราให้ธาตุหลัก N-P-K แล้ว แต่พืชก็ยังโตช้า)

แต่หากผู้อ่านมั่นใจว่า ให้แคลเซียมในปริมาณที่เพียงพอแล้ว ลองดูประเด็นของค่า pH ของดินบิเวณนั้น ว่าอยู่ในช่วง 5.2-6.1 หรือไม่

วิธีหนึ่งที่ใช้ทดลองได้คือ ทดลองให้อาหารเสริมแคลเซียมกับพืช (เช่นพวกสารปรับปรุงดิน ที่มีแคลเซียมผสมอยู่) หนึ่งสัปดาห์หลังจากนั้น ทดลองตรวจดินวัดค่า EC (ค่าการนำไฟฟ้า) บริเวณโซนรากพืช เปรียบเทียบกับ ดินโซนที่ห่างจากรากพืช หากค่า EC ไม่ลดลง สันนิษฐานได้ว่า พืชของคุณ ไม่ได้รับสารอาหารใดๆ (ซึ่งน่าจะเป็นแคลเซียม)

ห้อง LAB ตรวจวิเคราะห์ดินและปุ๋ย iLab
iLab ตรวจธาตุอาหารในดิน ตรวจวิเคราะห์ดิน
การเคลื่อนย้ายแคลเซียม
อาการขาดแคลเซียม มักจะประกฎในใบที่ใหม่กว่า เนื่องจากแคลเซียมที่เก็บไว้ในใบแก่ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายในยังใบที่กำลังเจริญเติบโตใหม่ได้ เนื่องจาก แคลเซียม เป็น ไอออนที่เคลื่อนที่ไม่ได้ในพืช

ใบพืชขาดธาตุแคลเซียม
อาการใบจุดสีน้ำตาล และใบจุดเหลือง ที่เกิดจากการขาดแคลเซียม
มักแสดงอาการบนใบใหม่
อาการพืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม
ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในพืชนั้น มีลักษณะคล้ายกับอาการขาดธาตุแคลเซียม คือ อาการจุดคล้ายสนิมสีน้ำตาล และจุดสีเหลืองกระจายทั่วใบพืช

ความแตกต่างที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ การเกิดจุดสีน้ำตาลที่เกิดจากการขาดแคลเซียม จะมีผลต่อการเจริญเติบโตตั้งแต่เริ่มต้น นั้นคือจะเกิดบนในใหม่ของพืช บนยอดใบที่แตกใหม่ แต่ในส่วนของ อาการพืชขาดแมกนีเซียมนั้น จะเกิดบนใบพืชที่สร้างไว้แล้ว หรือใบเก่า หรือใบแก่ของพืชนั้นเอง

การม้วนงอ ของใบพืช
เกิดสีเหลือง / นอกเส้นใบ ปัญหาของอาการขาดแมกนีเซียม จะส่งผลกระทบต่อส่วนล่างของพืช และใบแก่ของพืช ต่างจากอาการขาดแคลเซียม เพราะ แมกนีเซียม เป็น ไอออน (ion) ที่เคลื่อนที่ได้ในพืช

อาการใบเหลืองจากการขาดแมกนีเซียมนี้ สังเหตุได้ว่า อาการเหลือง จะอยู่รอบนอกของเส้นใบพืช

การเคลื่อนที่ของแมกนีเซียม
อาการขาดแมกนีเซียมในพืช จะปรากฎให้เห็นในใบแก่ของพืช เนื่องจาก แมกนีเซียม จะถูกจรรสรรให้กับการเจริญเติบโต การแตกยอด แตกใบใหม่ เพราะ แมกนีเซียม เป็น ไอออน (ion) ที่เคลื่อนที่ได้ในพืช

ใบพืชขาดธาตุแมกนีเซียม
อารการพืชขาดธาตุแมกนีเซียม
แคลเซียม และ แมกนีเซียม ต่างก็เป็นองค์ประกอบสำคัญในการเจริญเติบโตของพืช

อาการใบเหลืองของพืช มักจะเป็นสัญญาณ ของผลกระทบต่อ คลอโรพลาสต์ และ คลอโรฟิลล์ โดยมากแล้วมีสาเหตุจากการขาดธาตุรอง การใช้ FK-1 นั้น จะเติมได้ทั้งธาตุหลัก N-P-K พร้อมธาตุรอง แคลเซียม แมกนีเซียม และธาตุเสริมอื่นๆ เพื่อให้ครบถ้วนตามความต้องการของพืช ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้เร็ว มีความสมบูรณ์ แข็งแรง เมื่อพืชมีความแข็งแรง จึงส่งเสริมให้พืชต้านทานต่อโรคและแมลงได้ดีขึ้น

เรียบเรียงโดย ธนบัตร บัวแก้ว เผยแพร่ที่ FarmKaset.ORG และ farmkaset.blogspot.com

ปุ๋ยแก้พืชขาดธาตุรอง ธาตุแคลเซียม ธาตุแมกนีเซียม
สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset



FK iLab ตรวจวิเคราะห์ค่าดิน และปุ๋ย

FK iLab เป็นเว็บไซต์ให้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน และค่าธาตุอาหารในปุ๋ย ด้วย LAB มาตรฐาน ตรวจวิเคราะห์โดยนักวิชาการเฉพาะด้าน ที่มีความชำนาญ โดยผู้ใช้บริการสามารถ เลือกค่า ธาตุอาหารต่างๆที่ต้องการตรวจได้ บนเว็บไซต์ และส่งตัวอย่างดิน หรือปุ๋ยที่ต้องการตรวจไปยัง ห้องปฏิบัติการ ผ่านทางไปรษณีย์ และรออ่านผลตรวจได้ทางหน้าเว็บไซต์

สามารถใช้บริการได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือเข้าเว็บไซต์ FarmKaset.ORG และคลิกที่เมนู iLab



อ้างอิง

elitegardenwholesale.com/blogs/elite-blog/secondary-common-plant-deficiencies
อ่าน:4390
แก้ ทุเรียใบติด โรคใบติดทุเรียน เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ยับยั้งเชื้อรา ใช้ ไอเอส
แก้ ทุเรียใบติด โรคใบติดทุเรียน เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ยับยั้งเชื้อรา ใช้ ไอเอส
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนใบร่วง (Leaf blight leaf fall)

โรคของทุเรียนเหล่านี้ เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

ยับยั้งการระบาด หยุดการลุกลามของโรคใบติด หรืออาการใบไหม้ของทุเรียน

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมทั่วทั้งแปลงที่มีการระบาด ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ตามแต่ความรุนแรง ของการระบาด หากต้องการให้ฟื้นตัวเร็ว กลับมาเจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ ไอเอส

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3774
408 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 40 หน้า, หน้าที่ 41 มี 8 รายการ
|-Page 36 of 41-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ป้องกันการระบาดของหนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีการแก้ปัญหาและการรักษาต้นผักให้เจริญเติบโต
Update: 2566/11/23 12:34:12 - Views: 3571
ท้าวเวสสุวรรณ สลักบนแผ่นเหล็กน้ำพี้: พลังแห่งศรัทธาและความเชื่อ เทพแห่งโชคลาภและความมั่งคั่ง
Update: 2567/02/17 13:07:58 - Views: 3540
ใส่ปุ๋ยแล้ว ควรให้ฮิวมิคเพิ่ม ดีไหม เพราะอะไร?
Update: 2568/04/29 09:54:30 - Views: 192
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในดอกกุหลาบ
Update: 2566/05/04 11:24:18 - Views: 3553
ป้องกันกำจัดโรคกะท้อนที่เกิดจากเชื้อรา เช่น กระท้อนใบไหม้ กระท้อนผลเน่า กิ่งแห้ง ผลแห้ง
Update: 2566/01/23 11:38:16 - Views: 3737
แตงโม ใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โรคเหี่ยว รากเน่า ผลเน่า เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/06 15:17:43 - Views: 3603
คำนิยม : โรคเชื้อรา ในกุหลาบ ขอบคุณลูกค้าท่านนี้ ที่สั่งซื้อต่อเนื่อง และช่วยโพสลงกลุ่มกุหลาบให้ค่ะ
Update: 2564/07/01 07:46:29 - Views: 3509
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เสริมสร้างความสมบูรณ์แบบที่ช่วยสนับสนุนการเจริญเติบโตของแตงโม
Update: 2567/02/13 09:02:55 - Views: 3526
มะนาว ราดำ รากเน่าโคนเน่า ใบไหม้ ยาฆ่าเชื้อราในพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T
Update: 2566/04/20 10:53:20 - Views: 3527
แก้ โรคราในนาข้าว ข้าวใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ใบขีดสีน้ำตาล เน่าคอรวง ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
Update: 2565/02/26 23:52:16 - Views: 3543
โรคพืชคืออะไร ?
Update: 2564/04/23 12:54:29 - Views: 3773
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในกระเจี๊ยบ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/15 13:01:12 - Views: 3489
ดอกพุทธรักษา จุดเหลือง กำจัดโรคดอกพุทธรักษา จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/05 10:54:24 - Views: 3554
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกาแฟสีแดง ใน ผักหวาน และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/14 14:38:59 - Views: 3533
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะกิ่ง ใน ชมพู่ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/03 14:32:04 - Views: 3555
กำจัดโรคใบจุด โรคใบไหม้ ไฟทอฟธอรา ในมังคุดด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/13 07:15:29 - Views: 3533
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอน ใน ฟักทอง และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/02 12:19:17 - Views: 3587
รู้ทันศัตรูพืช! ป้องกันเพลี้ยและแมลงปากดูดอย่างได้ผล 🌿
Update: 2568/05/02 09:55:33 - Views: 39
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงหมัดผักแถบลาย ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/02 10:25:43 - Views: 3628
แช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูกด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์
Update: 2564/08/27 23:48:10 - Views: 5580
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022