<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

อาหาร ขนมใส่กัญชา กินอย่างไรจึงปลอดภัย

162.158.163.163 2565/11/15 13:04:14 , View: 3146, e
อาหาร ขนมใส่กัญชา กินอย่างไรจึงปลอดภัย

ไม่ถึง 1 สัปดาห์ หลังจากการ ปลดล็อก กัญชาออกจากยาเสพติด ข่าวสารเกี่ยวกับผู้ที่เสพและผู้รับประทานเมนูอาหารที่ปรุงโดยมีกัญชาเป็นส่วนประกอบแล้วเกิดผลกระทบกับสุขภาพเริ่มปรากฏให้เห็น

กินก๊วยจั๊บใส่กัญชาแล้วเกิดอาการแพ้อย่างรุนแรง มึนงงและอาเจียน คุกกี้หรือบราวนี่ใส่กัญชา ที่ทำให้เกิดอาการมึนงง คือ ส่วนหนึ่งของอาการแพ้และผลกระทบสุขภาพที่เริ่มมีข่าวให้เห็นแล้ว

สำหรับการเสพกัญชา การปลดล็อกล่าสุดไม่มีกฎหมายที่ควบคุมปริมาณการเสพเอาไว้ ล่าสุด ในรายงานของผู้ป่วยที่รับกัญชาเข้าไปเกินขนาดของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร พบมีผู้ป่วย 4 ราย เป็นชายอายุน้อยสุด 16 ปี อายุมากสุด 51 ปี ชายวัย 51 ผู้นี้ เสียชีวิตหลังจากมีอาการแน่นหน้าอกหลังจากเสพกัญชา และมีอาการหัวใจล้มเหลว ส่วนเยาวชนชายอายุ 16 ปี เสพกัญชามากเกินขนาด ขณะนี้ยังรักษาอยู่ห้องไอซียูที่โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์

อาหาร เครื่องดื่มแต่ละประเภทควรใส่กัญชาปริมาณแค่ไหน ประกาศกรมอนามัย เรื่อง การนำใบกัญชามาใช้ในการทำ ประกอบ หรือปรุงอาหาร ในสถานประกอบกิจการอาหาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ได้ระบุคำแนะนำเอาไว้

ประกาศนี้ครอบคลุมถึง ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร และการจำหน่ายในที่หรือทางสาธารณะ ตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข 2535

นพ. สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า ประกาศดังกล่าวมีการแก้ไขเพิ่มเติม โดยกำหนดให้สถานประกอบกิจการอาหาร มีการจัดเก็บใบกัญชาที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ จัดเก็บเป็นสัดส่วน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดเชื้อรา หรือเน่าเสียแทน สำหรับข้อกำหนดอื่น ๆ ในประกาศยังคงเหมือนเดิม คือ สถานประกอบการกิจการอาหาร ต้องควบคุม กำกับ และต้องจัดให้มีการสื่อสารข้อมูลด้านสุขภาพและต้องตระหนักด้านความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค เกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารที่มีการใช้ใบกัญชาเป็นส่วนประกอบของอาหาร

เงื่อนไขที่ร้านอาหาร หรือผู้ขายอาหารต้องทำเมื่อขายอาหารที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ
จัดทำข้อความที่แสดงข้อมูลเป็นสถานประกอบกิจการอาหารที่มีการใช้กัญชา
แสดงรายการอาหารที่มีการใช้ใบกัญชาทั้งหมด
แสดงข้อมูลปริมาณการใช้ใบกัญชาเป็นส่วนประกอบต่อรายการอาหาร ตามประเภทการทำประกอบหรือปรุงอาหาร เช่น อาหารทอด แนะนำการใช้ใบกัญชาสด 1-2 ใบสดต่อเมนู อาหารประเภทผัด แกง ต้ม ผสมในเครื่องดื่ม แนะนำการใช้ใบกัญชาสด 1 ใบสดต่อเมนู
แสดงข้อแนะนำเพื่อความปลอดภัย ในการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีใบกัญชาเป็นส่วนประกอบ
แสดงคำเตือนรายการอาหารที่มีการใช้ใบกัญชาให้แก่ผู้บริโภคที่มีความเสี่ยง หากรับประทานอาหารที่ใช้ใบกัญชาทราบ ด้วยการระบุข้อความ

- เด็กและวัยรุ่นช่วงอายุน้อยกว่า 18 ปี ควรหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารที่มีส่วนผสมของกัญชา เช่น ขนม อาหารและเครื่องดื่ม

- สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตรไม่ควรรับประทาน

- หากมีอาการผิดปกติ ควรหยุดรับประทานทันที

- ผู้ที่แพ้หรือไวต่อสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (THC) หรือสารแคนนาบิไดออล (CBD) ควรระวังในการรับประทาน

- อาจทำให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล

6. ห้ามแสดงข้อความหรือโฆษณาสรรพคุณในการป้องกันหรือรักษาโรค

อาหารใส่กัญชา กินอย่างไรให้ปลอดภัย
ผศ.นพ.สหภูมิ ศรีสุมะ หัวหน้าสาขาวิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ข้อมูลในรายการมหิดล แชนแนล เมื่อเดือน ธ.ค. 2564 ว่า การใช้กัญชาในการปรุงอาหารของคนไทย ที่พบเห็นได้ทั่วไป หลัก ๆ คือ ประเภทน้ำซุป ในก๋วยเตี๋ยว ซึ่ง คำแนะนำข้อแรก คือ อย่าใช้ช่อดอก เนื่องจากมีปริมาณของสาร THC สูง

เราเจอพะแนงไก่ใส่ช่อดอกแล้วน็อคมา บางคนบอกกินแกงไม่เป็นไร แต่คนสมัยก่อนเขาใส่ใบ

สำหรับการทำอาหารประเภทน้ำซุป ตัวสารออกฤทธิ์ที่ใช้เป็นยาหรือว่าเป็นตัวสารเสพติด ละลายน้ำไม่ค่อยเก่ง มักจะใช้ใบสดไปต้มกับน้ำ แต่สามารถสร้างกลิ่นได้ดี โดยสูตรดั้งเดิมของคนไทยใช้ใบเป็นหลัก เช่น แกง พะโล้ ไข่เจียว บางร้านอาหารนำไปทอดกรอบ ซึ่งอาหารกลุ่มทอด ปริมาณสารจะออกมามากกว่าเมนูอื่น

โดยทั่วไป ในอาหารมีคำแนะนำในเบื้องต้นอย่าให้ถึง 5 ใบต่อวัน สำหรับผู้ไม่มีโรคประจำตัว และแต่ละคนจะทนต่อสารไม่เท่ากัน ให้ลองให้ปริมาณที่น้อยที่สุดก่อน

สำหรับคุกกี้กัญชา จะมีสารของกัญชาเยอะหรือไม่ ผศ.นพ.สหภูมิ บอกว่าในกลุ่มขนมแปรรูป ในต่างประเทศรัฐที่เปิดเสรีเพื่อสันทนาการ เน้นการใส่สาร THC ค่อนข้างเยอะ ซึ่งใช้ช่อดอกมาสกัดสารด้วยน้ำมันเพื่อให้ระเหิดตัว ทำให้ปริมาณของสารเข้มข้นมากและเป็นลักษณะคล้ายเนยหรือขี้ผึ้ง ซึ่งนำมาแปรรูปเป็นเบเกอรี่ คุกกี้ บราวนี่ เป็นต้น

ผศ.นพ.สหภูมิ ให้ข้อมูลว่า โดยทั่วไปแล้วในรัฐที่ใช้กัญชาเพื่อสันทนาการ กำหนดปริมาณไว้ที่ ต่อหนึ่งหน่วยบริโภคสาร THC อย่าให้เกิน 5 มิลลิกรัม การกินหนึ่งครั้ง แนะนำกินปริมาณเท่านี้ แต่ในรัฐที่เปิดเสรีมากก็พบคุกกี้ที่มีปริมาณสาร THC เข้มข้น คือ 20 มิลลิกรัมต่อ 1 ชิ้น หากกินให้ได้หนึ่งหน่วยบริโภค ต้องตัดคุกกี้ออกเป็น 4 ชิ้น

หลักการบริโภคเพื่อการสันทนาการ จะมีระยะเวลาการออกฤทธิ์ กินแล้วต้องรอการดูดซึมในเวลาประมาณครึ่งชั่วโมง จึงจะรับประทานชิ้นต่อไปได้

ส่วนบราวนี่กัญชา ในประเทศเปิดเสรีกัญชา ถือเป็นของ "ฮาร์ดคอร์" ต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ต้องแบ่งรับประทาน 16 ชิ้น เว้นแต่ละชิ้น 30 นาที เช่นกัน

คำแนะนำก่อนบริโภค
ปัญหาการรับสาร THC เกินขนาด มีพบในต่างประเทศเช่นกัน การใช้โดยทั่วไปฤทธิ์ของผู้บริโภค คือ ต้องการรู้สึกถึง อาการเคลิ้ม ๆ เมา ๆ แต่ถ้ามากเกินไป จะมีอาการเห็นภาพหลอน รู้สึกกระวนกระวาย หงุดหงิด ซึ่งจะเป็นอาการที่ไม่รู้ตัว หรืออาการใจสั่น มึนศีรษะ คลื่นไส้

ฤทธิ์ที่เราเจอบ่อย ๆ เมื่อมาถึงโรงพยาบาลแล้ว คือ ชีพจรเร็ว ปกติคนเราชีพจร 60-100 แต่ แต่ที่เจอเร็วได้ถึงเกือบสองเท่าของพื้นฐานปกติ คือ 150-180 ครั้งต่อนาที กลุ่มที่มีโรคหัวใจเดิมจะทนกับอัตราขนาดนี้ไม่ได้ นายแพทย์จากมหิดล กล่าวถึงผลกระทบทางสุขภาพหากมีการบริโภคในปริมาณที่ไม่เหมาะสม

อีกกลุ่มอาการที่พบ คือ ความดันแกว่ง การไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อตัวเองได้ ทำให้ไม่สามารถทรงตัวได้ และอาการล้มหมดสติ

ผศ.นพ.สหภูมิ กล่าวว่า หากเริ่มมีอาการผิดปกติ ไม่แนะนำให้รอ ให้ไปโรงพยาบาลทันที เพราะฤทธิ์กัญชาจากการบริโภคมีฤทธิ์นาน ต่างจากการสูบที่เพียง 1-2 ชม. ฤทธิ์จะหมดแล้ว

สำหรับคำแนะนำก่อนบริโภคสำหรับผู้ลองใช้ ผศ.นพ.สหภูมิ แนะนำ ต้องตรวจสอบร้านที่ได้มาตรฐาน น่าเชื่อถือ สั่งเมนูมาตรฐานเพราะได้รับอนุญาตมาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ไม่ใช้ช่อดอก ส่วนการบริโภคขนม ต้องทราบที่มา ปริมาณของกัญชาที่ใส่


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..

ตรวจสาร CBD ตรวจสาร THC ตรวจกัญชง-กัญชา



กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ ชญานันท์ สิมสุนทร, Friday 26 April 2024 11:54:59, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ลำพูล เพ็ชรรัตน์, Friday 26 April 2024 11:53:13, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Wisuwat Kawwichit, Friday 26 April 2024 11:33:44, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ รุ่ง เพชร์วรรณ์, Friday 26 April 2024 11:12:16, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อำพัน วัฒนาเสรีกุล, Friday 26 April 2024 11:11:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Athip , Friday 26 April 2024 11:09:36, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ นภัสสร ธรรมมารมย์, Friday 26 April 2024 11:08:24, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Jannyjam, Friday 26 April 2024 11:06:35, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ วนิดา มาตมูล, Friday 26 April 2024 11:05:24, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Allen Kahan, Friday 26 April 2024 10:57:46, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
หนอนแครอท หนอนนกแครอท หนอน ศัตรู แครอท ป้องกัน กำจัด ไอกี้ บีที จาก FK
Update: 2565/06/17 00:18:50 - Views: 2963
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในลิ้นจี่
Update: 2566/05/04 09:38:58 - Views: 2959
สตอเบอร์รี่ โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/03 14:01:35 - Views: 3019
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นหม่อน: แนวทางการดูแลและการใช้สารป้องกันกำจัดโรค
Update: 2566/11/21 09:16:00 - Views: 277
เพิ่มผลผลิตด้วยปุ๋ยสูตรพิเศษ: สตาร์เฟอร์ 10-40-10+3 MgO สำหรับการเร่งการออกดอกและเร่งรากของต้นพุทรา
Update: 2567/02/12 13:58:01 - Views: 107
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มะละกอ ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:07:11 - Views: 2979
หนอนหัวดำ หนอนศัตรูมะพร้าว การป้องกันและกำจัด หนอนหัวดำ
Update: 2564/08/17 02:16:27 - Views: 3175
มะระใบไหม้ มะระใบเหลือง โรคราน้ำค้างในมะระ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/10/05 11:48:34 - Views: 3159
โรคพริก โรคกุ้งแห้ง ใบไหม้ หนอนเจาะพริก เพลี้ยไฟพริก เพลี้ยอ่อนพริก โรคและแมลงต่างๆในพริก แก้ด้วย..
Update: 2563/02/17 10:53:24 - Views: 4280
ทำไม ชื่อสายพันธุ์ โควิด-19 จึงเป็น แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า
Update: 2564/08/15 07:21:45 - Views: 3551
ข้าวใบไหม้ โรคไหม้ข้าว ใบเหลือง มีจุดสีน้ำตาล แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/17 14:56:26 - Views: 3347
กำจัดเชื้อรา ดอกทานตะวัน ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/13 09:47:34 - Views: 2961
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค ฟื้นระบบราก ปลดปล่อยธาตุอาหารไห้กับพืช ปรับปรุงโครงสร้างดิน ช่วยไห้ดินร่วยซุย ระบายน้ำดี สร้างระบบรากฝอย สำหรับฉีดพ่น ต้นข้าวโพด
Update: 2567/02/13 09:59:31 - Views: 136
ฟื้นระบบรากและปรับปรุงดินในการปลูกมะเฟือง-ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค
Update: 2567/02/13 09:28:09 - Views: 102
ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง แมลงจำพวกปากดูด ใน น้อยหน่า เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/09 10:32:47 - Views: 2961
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกินใบ ใน ดอกบานไม่รู้โรย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/14 14:03:18 - Views: 2971
องุ่น รากเน่า ใบไหม้ ผลเน่า ใบจุด กำจัดโรคองุ่น จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/10/28 10:08:56 - Views: 3153
ยากำจัดโรคราแป้ง ใน ดอกกุหลาบ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/02 14:38:00 - Views: 6871
ปุ๋ยบำรุงมะม่วง โตไว รากแข็งแรง ติดดอก ออกผลผลิตสูง FK-1 มี สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์, N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/11 09:35:54 - Views: 2949
การปลูกแตงโม : คู่มือการปลูกแตงโมเบื้องต้น ให้ได้ผลผลิตดี
Update: 2566/04/29 09:30:53 - Views: 3976
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022