[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3516 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 6 รายการ

การปลูกแมคคาเดเมีย Macadamia
การปลูกแมคคาเดเมีย Macadamia
การปลูกแมคคาเดเมีย สำหรับประเทศไทยนำเข้ามาทดลองปลูกในปี พ.ศ. 2496 จากฮาวาย เมื่อ ปี พ.ศ. 2515 สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เริ่มพัฒนาการวิจัยอย่างจริงจังอีกครั้งหนึ่ง

กรมวิชาการเกษตรได้รับรองพันธุ์มะคาเดเมียให้เป็นพันธุ์แนะนำ จำนวน 3 พันธุ์ คือ

พันธุ์เชียงใหม่ 400 เป็นพันธุ์เบา ทรงต้นขนาดเล็ก เปลือกผลบาง มีเนื้อใน 34-42 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสำหรับปลูกบนที่สูง 400 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลางขึ้นไป

พันธุ์เชียงใหม่ 700 ทรงต้นตั้งตรง ขอบใบเป็นหนามมาก ผลใหญ่ กะลาบาง มีเนื้อผล 32-39 เปอร์เซ็นต์ ปลูกให้ผลดีบนที่สูง จากระดับน้ำทะเลปานกลาง 800 เมตร ขึ้นไป

พันธุ์เชียงใหม่ 1000 ทรงต้นเป็นพุ่มกลม ให้เนื้อใน 34-38 เปอร์เซ็นต์ การเจริญเติบโตและให้ผลมีขนาดใหญ่ จึงให้ผลผลิตสูงกว่าอีก 2 พันธุ์ ที่กล่าวมา

ปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่ต้องนำมาประกอบการพิจารณาเพื่อวางแผนการปลูกมะคาเดเมียให้ได้ผลดี ประกอบด้วย หน้าดินต้องลึก ระบายน้ำได้ดี มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 1_000 มิลลิเมตร ต่อปี ต้องการอุณหภูมิ ระหว่าง 10-32 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะต้องผ่านอุณหภูมิ 18 องศาเซลเซียส อย่างน้อยเป็นเวลา 1 เดือน และอุณหภูมิไม่ควรเกิน 32 องศาเซลเซียส เพราะจะมีผลทำให้กะลาแข็งตัวเร็ว ส่งผลให้เนื้อในมีขนาดเล็กลงไปด้วย ประการสำคัญควรให้ได้รับแสงวันละไม่ต่ำกว่า 10-12 ชั่วโมง และต้องปลูกไม้กันลมให้ด้วย เนื่องจากมะคาเดเมียเป็นไม้ที่มีระบบรากตื้น การหักโค่นมักเกิดขึ้นได้ง่าย

Reference
Main content from: technologychaoban.com
อ่าน:3299
แมคคาเดเมีย Macadamia
แมคคาเดเมีย Macadamia
แมคคาเดเมีย พืชเศรษฐกิจทางเลือกสำหรับพื้นที่สูง แนวโน้มตลาดในอนาคตทิศทางดี

นางอัญชนา ตราโช รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงการลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์การผลิต แมคคาเดเมีย (Macadamia) พืชเศรษฐกิจทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจของจังหวัดเลย เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2563 พร้อมด้วยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 จังหวัดอุดรธานี (สศท.3) พบว่า พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่ อยู่ในอำเภอภูเรือ นาแห้ว และด่านซ้าย ซึ่งมีพื้นที่ระดับความสูงกว่าน้ำทะเล 700-900 เมตร สภาพดินร่วนปนทราย อุดมด้วยอินทรีย์วัตถุ ทำให้แมคคาเดเมียเจริญเติบโตดีที่สุด โดยปี 2563 จังหวัดเลยมีเกษตรกรผู้ปลูกแมคคาเดเมียประมาณ 350 ครัวเรือน มีพื้นที่ปลูกรวมประมาณ 9_124 ไร่ (ข้อมูลจากสำนักงานเกษตรจังหวัดเลย)

สำหรับสถานการณ์การผลิต พบว่า เกษตรกรจังหวัดเลยนิยมปลูกแมคคาเดเมียหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์เชียงใหม่ 1000 (HAES 508) พันธุ์เชียงใหม่ 400 (HAES 660) พันธุ์เชียงใหม่ 700 (HAES 741) ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ผ่านการรับรองจากกรมวิชาการเกษตร และเป็นพันธุ์ที่เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่ระดับความสูงกว่าน้ำทะเล 700 เมตร ขึ้นไป สามารถเจริญเติบโตได้ดี ให้ผลผลิตสูง และมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด ซึ่งราคาต้นพันธุ์อยู่ที่ 80 -150 บาท/ต้น โดยเริ่มให้ผลผลิตในปีที่ 5 และผลผลิตจะออก 2 ช่วง คือ เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม และมิถุนายน - กันยายน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 300 - 700 กิโลกรัม/ไร่ หรือเฉลี่ย 15 - 35 กิโลกรัม/ต้น ปัจจุบันต้นแมคคาเดเมียในจังหวัดเลยมีอายุสูงสุด 29 ปี และมีอายุเฉลี่ย 6 ปี

หากมองถึงสถานการณ์ด้านตลาด พบว่า เกษตรกรสามารถจำหน่ายแมคคาเดเมียในรูปของผลแห้ง และแบบแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) ผลแห้งกะเทาะเปลือกเขียว ราคาเฉลี่ย 70 - 80 บาท/กิโลกรัม จำหน่ายโดยตรงให้กับกลุ่มวิสาหกิจหรือพ่อค้าคนกลาง เพื่อนำไปแปรรูปและจำหน่ายภายใต้แบรนด์สินค้าของตนเอง 2) ผลิตภัณฑ์พร้อมรับประทาน ได้แก่ แมคคาเดเมียอบทั้งเปลือก (กะลา) ราคา 400 - 500 บาท/กิโลกรัม 3) ผลิตภัณฑ์เพื่ออุปโภค ได้แก่ แมคคาเดเมียออยล์ ราคา 2_500 - 3_500 บาท/ลิตร และสบู่จากถ่านกะลาแมคคาเดเมีย ราคา 80 - 120 บาท/ก้อน ซึ่งประเภทผลิตภัณฑ์พร้อมรับประทาน และอุปโภค เกษตรกรจะจำหน่ายผ่านร้านค้าในสวน ผ่านตัวแทนจำหน่าย และตลาดออนไลน์ อาทิ Shopee Facebook Fanpage โดยจำหน่ายภายใต้แบรนด์ ไร่วิมุตติสุขภูเรือ MACLOEI และไร่ลองเลย เป็นต้น สำหรับแนวโน้มตลาดแมคคาเดเมียถือเป็นถั่วที่มีไขมันดีสูง (HDL) ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด ส่งผลให้ราคาซื้อขายค่อนข้างสูง ดังนั้น หากสินค้าแมคคาเดียเมียของจังหวัดเลย มีกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพตามหลักมาตรฐาน และมีจำนวนผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ในอนาคตจะสามารถส่งออกตลาดต่างประเทศ ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและจังหวัดได้เป็นอย่างมาก

Reference: oae.go.th
อ่าน:3291
ปุ๋ยมันหวานญี่ปุ่น
ปุ๋ยมันหวานญี่ปุ่น
มันหวานญี่ปุ่น ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค มาสักระยะหนึ่งแล้ว ในประเทศไทย มีทั้งชาวไร่มันสำปะหลังเดิม และหันมาทดลองปลูก และเกษตรกรรายใหม่ ที่เริ่มปลูกมันวานญี่ปุ่น ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการในตลาด หลายราย จึงสร้างรายได้สูงกว่าเดิมมากกว่าสองเท่า โดยเฉพาะเมื่อเทียบรายได้ต่อไร่ กับการปลูกมันสำปะหลัง ทั้งนี้ อย่าลืมว่าเกษตรกร ต้องมีช่องทางการตลาดของตัวเอง หรือมีผู้รับซื้อที่เข้าถึงและติดต่อกันแล้ว

มันหวานญี่ปุ่น สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตหลังปลูกได้ในเวลา 100-120 วัน นับเป็นพืชระยะสั้น ที่ได้ผลผลิตเร็ว ในเดือนที่ 1 และเดือนที่ 2 เราสามารถฉีดพ่น FK-1 เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต เพื่อให้มันหวานญี่ปุ่น โตเร็ว สมบูรณ์แข็งแรง สามารถฉีดพ่นได้ทุกสัปดาห์ หรือทุก 15 วัน ตามกำลัง ซึ่งใน FK-1 ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุเสริม ที่จะส่งเสริมการเจริญเติบโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรงได้ เมื่อ มันหวานญี่ปุ่น มีอายุได้ 90 วัน หันมาฉีดพ่น FK-3C เพื่อส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ทำให้ มันหวานญี่ปุ่น หัวโตขึ้น มีคุณภาพดี และรสชาติดีขึ้น

Reference
Original picture from fourfarm.com
อ่าน:3292
โรคไวรัสมะละกอ
โรคไวรัสมะละกอ
โรคไวรัสมะละกอ ไม่มียารักษาโดยตรง ป้องกันได้โดยการกำจัดเพลี้ย ซึ่งเป็นแมลงพาหะ

การป้องกันโรคไวรัสมะละกอที่ดี เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลง ทำความสะอาด กำจัดวัชพืชในแปลงและบริเวณรอบๆแปลงปลูก

หากพบต้นมะละกอ ที่เป็นโรคไวรัสมะละกอ รีบขุดถอน และเผาทำลายนอกแปลงทันที และหมั่นทำความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้สัมผัสต้นมะละกอที่เป็นโรค ก่อนนำมาใช้อีกครั้งหนึ่ง

สำหรับพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรคไวรัสมะละกอ หากเป็นไปได้ ให้หลีกเลี่ยงการปลูกพืชอาศัยของสาเหตุโรค เช่น พืชตระกูลแตง มะเขือเทศ ตำลึง และพืชตระกูลถั่วเป็นต้น ควรหาพืชอื่นๆมาปลูกหมุนเวียนแทน

เนื่องจากโรคไวรัสมะกอ ไม่มียารักษาโดยตรง เราป้องกันได้โดยการ ป้องกันกำจัดพาหะนำโรค อันได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยอ่อนฝ้าย และเพลี้ยต่างๆ โดยการฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัด เพลี้ย แมลงศัตรูพืชจำพวกปากดูด ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุกๆ 3-7 วัน หมั่นสังเกตุ เมื่อเห็นว่าจำนวนเพลี้ยลดลงแล้ว เว้นระยะการฉีดพ่น เป็นระยะป้องกัน ทุก 15-30 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า บริเวณแปลงรอบข้าง หรือในหมู่บ้านตำบล มีการระบาดของเพลี้ยหรือไม่

ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ มาคา เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูของพืช จากโรคและแมลง ทำให้เจริญเติบโตดี และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
อ่าน:3297
โรคราดำมะม่วง (Sooty mold/Black Mildew) ต้องกำจัดแมลงพาหะ และกำจัดโรครา
โรคราดำมะม่วง (Sooty mold/Black Mildew) ต้องกำจัดแมลงพาหะ และกำจัดโรครา
สาเหตุของโรค
เกิดจาก แมงจำพวกปากดูด เช่น เพลี้ยจักจั่น เป็นพาหะนำโรค ทำให้เชื้อราดำหลายชนิด เช่น Capnodium sp._Meliola sp. มาเกาะติดของเหลว ที่เพลี้ยถ่ายไว้ จึงกำให้เชื้อโรคราเกาะติดมะม่วง และเจริญขึ้น

ความสำคัญ
พบทั่วไปในแหล่งปลูกมะม่วงของประเทศ ราดำที่จะกล่าวถึงมีหลายชนิดด้วยกัน แต่ที่พบเห็นทั่ว ๆ ไป ชนิดที่ขึ้นปกคลุมใบเป็นแผ่นสีดำ เมื่อแห้งอาจจะร่อนหลุดออกเป็นแผ่น ๆ อีกชนิดหนึ่งขึ้นบนใบมีลักษณะคล้ายดาวเป็นแฉก ๆ ราดำเหล่านี้ไม่ได้ดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืชโดยตรง แต่อาจมีผลคือการเจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูที่มะม่วงออกดอก หากมีราดำขึ้นปกคลุมดอก จะเป็นผลให้การผสมเกสรของดอก ไม่สามารถจะเกิดขึ้นได้ เนื่องจากมีเชื้อราขึ้นปกคลุมปลายเกสรตัวเมีย ปกติแล้วราดำมีอยู่ทั่ว ๆ ไปในอากาศแต่ไม่สามารถจะเจริญขึ้นบนใบ หรือช่อดอกมะม่วงได้ หากไม่มีแมลงปากดูด ได้แก่ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง โดยแมลงเหล่านี้จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช ตามยอดอ่อน และช่อดอก แล้วจะถ่ายสารซึ่งมีลักษณะคล้ายน้ำหวานออกมาฟุ้งกระจายไปเคลือบตามบริเวณใบ และช่อดอก ซึ่งเชื้อราดำ ในอากาศก็จะสามารถขึ้นได้ และทำให้การติดดอกออกผลของมะม่วงลดลงหรือไม่ติดผลเลย

ลักษณะอาการ
โรคราดำจะเกิดทั้งบนใบ ช่อดอก และผลอ่อน มีลักษณะเหมือนเขม่าหรือฝุ่นสีดำปกคลุมเป็นแผ่นสีดำ ซึ่งเมื่อแห้งอาจจะร่วงหลุดเป็นแผ่น

การป้องกันกำจัด

เนื่องจากโรคนี้เกิดจากแมลงเป็นสาเหตุสำคัญ ดังนั้นในช่วงที่มะม่วงเริ่มแทงช่อดอก ให้เข้าสำรวจแมลงปากดูด เช่น เพลี้ยจักจั่นในสวน

หากพบ ให้ฉีดพ่นด้วย มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด

ผสม ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน

ช่วงระบาด ฉีดพ่นซ้ำ ทุก 5-7 วัน หมั่นสังเกตุอาการ

ระยะป้องกัน ฉีดพ่นทุก 15-30 วัน โดยอ้างอิงจากการระบาดในแปลงข้างเคียง

Reference
Main content from: kaengkhoi.saraburi.doae.go.th
อ่าน:3291
ปุ๋ยมะม่วง ปุ๋ยน้ำ สำหรับมะม่วง FK-1 ครบถ้วน โตไว ผลผลิตดี
ปุ๋ยมะม่วง ปุ๋ยน้ำ สำหรับมะม่วง FK-1 ครบถ้วน โตไว ผลผลิตดี
ฉีดพ่นมะม่วง สม่ำเสมอ ด้วย FK-1 เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต ความสมบูรณ์แข็งแรง ได้ผลผลิตสูง และมีคุณภาพดี

FK-1 ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ที่เป็นธาตุอาหารพืชหลัก ในปริมาณที่เหมาะสม ที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของมะม่วง ได้อย่างสมดุลย์ นอกจากนั้น แคลเซียม แมกนีเซียม สังกะสี ยังช่วยส่งเสริม เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง และคุณภาพของผลผลิต
อ่าน:3287
ปุ๋ยบำรุงมะนาว ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ
ปุ๋ยบำรุงมะนาว ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ
มะนาว จัดเป็นพืชสมุนไพรใกล้ตัว หาได้ง่าย ปลูกได้ไม่ยาก แต่หากจะปลูกให้ได้ผลผลิตสูง เพื่อการค้าขาย ก็นับว่าเป็นพืชที่หินไม่น้อย เพราะช่วงที่ผลผลิตมะนาวออกสู่ตลาดเยอะ ก็ชนกัน จนทำให้ราคาถูก ส่วนตอนช่วงที่ราคาแพง ก็คือช่วงที่ผลผลิตมะนาวมีน้อยนั้นเอง ทำให้ หลายๆคน หันมาสนใจการปลูก หรือการทำมะนาวนอกฤดู ซึ่งก็มีวิธีการทำมะนาวนอกฤดูต่างๆ หลายเทคนิค สำหรับผู้สนใจ อาจจะลองค้นคำว่า มะนาวนอกฤดู บนแอพ YouTube ดู ก็จะพบหลากหลายวิธี หลายเทคนิค ที่มาสอนกันอย่างละเอียดเลยทีเดียว

กล่าวถึง FK-1 จัดเป็นปุ๋ยพื้นฐาน ที่มีธาตุหลัก ธาตุเสริมครบถ้วน เหมาะแก่การฉีดพ่นทางใบ เพื่อบำรุงมะนาวตั้งแต่หลังปลูกใหม่ๆ ไปจนถึงก่อนออกผล เนื่องจาก FK-1 นั้น ประกอบไปด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม ซึ่งเป็นธาตุอาหารหลัก ที่สำคัญ ในการเสริมสร้างการเจริญเติบโต และนอกจากนั้น ยังมี สารสังเคราะห์คลอโรคฟิลล์ ที่เพิ่มความเขียว และเสริมสร้างกระบวนการสร้างอาหารของมะนาว ทำให้ต้นมะนาว เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว มีความสมบูรณ์ แข็งแรง ต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น
อ่าน:3296
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง และปุ๋ยระเบิดหัวมันสำปะหลัง ครบเซ็ต
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง และปุ๋ยระเบิดหัวมันสำปะหลัง ครบเซ็ต
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง กู๊ดโซค เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์ เพื่อใช้ในระยะงอก

ฉีดพ่นด้วย FK-1 เมื่อมันสำปะหลังเริ่มแตกยอดใบหลังปลูก ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต แตกกิ่ง ขยายทรงพุ่ม ใน FK-1 ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อความเจริญเติบโต และการเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง ให้กับต้นมันสำปะหลัง

เพิ่มขนาดหัวมันสำปะหลัง เพิ่มผลผลิต เพิ่มเปอร์เซ็นแป้ง ฉีดพ่น FK-3C เมื่อมันสำปะหลังมีอายุมากกว่า 3 เดือนขึ้นไป หรือสังเกตุว่าเริ่มลงหัวแล้ว FK-3C เน้นโพแตสเซียมเป็นพิเศษ จะช่วยส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล เพื่อสะสมเป็นหัวมันสำปะหลัง ทำให้ หัวโต แน่น น้ำหนักดี เปอร์เซ็นต์แป้งสูง
ฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง ด้วยธาตุหลัก ธาตุเสริม ที่มีอยู่ใน FK-1
ฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง ด้วยธาตุหลัก ธาตุเสริม ที่มีอยู่ใน FK-1
โดยทั่วไปแล้ว เวลาที่เรารักษาโรคพืช หรือกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืชต่างๆ เมื่อโรคพืชหาย หรือแมลงถูกกำจัดไปแล้ว พืชยังต้องใช้ระยะเวลานาน เพื่อที่จะฟื้นตัว ซ่อมแซมส่วนที่เสียหายจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง อย่างโรคใบไหม้ ตัวยาต่างๆจะเข้าไปยับยั้งไม่ให้โรคลุกลาม ขยายวงการทำลายพืช หรือหยุดการติดต่อ เมื่อโรคหยุดลุกลาม คือพืชหายจากโรค

แต่การจะทำให้พืชกลับมาฟื้นตัว และเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง และให้ผลผลิตที่ดีได้ดังเดิม เราจำเป็นต้องให้ธาตุอาหารต่างๆ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่นเดียวกับคนที่ป่วย เมื่อได้ยารักษาโรคแล้ว ต้องให้น้ำเกลือ ต้องทานอาหารหลัก และถ้าให้อาหารเสริมด้วยก็ยิ่งฟื้นตัว กลับมา แข็งแรงได้เร็วขึ้น

FK-1 ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลักของพืช N-P-K หรือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแตสเซียมตามลำดับ ไนโตรเจน จะช่วยส่งเสริมความเขียว เสริมสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ส่งเสริมให้พืช ผลิใบ แตกใบใหม่ และเจริญเติบโตได้เร็วขึ้น ฟอสฟอรัส ส่งเสริมระบบรากพืช ทำให้พืชมีระบบรากที่ดี แข็งแรง ทำให้พืชหาอาหารได้ดี ส่งผลไปถึงการออกดอก และการติดผล ส่วนโพแตสเซียม จะส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ไปสะสมที่ผลผลิต ทำให้ พืชออกผลได้สมบูรณ์ มีขนาดใหญ่ น้ำหนักดี รสชาติดี นอกจากนั้นแล้ว ใน FK-1 ยังมี แคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี ที่จำเป็นต่อความต้องการของพืช และมักจะขาด เพราะธาตุจำเป็นเหล่านี้ ไม่ได้มีอยู่ในปุ๋ยทั่วไปที่เราใส่กัน

ใช้ FK-1 ฉีดพ่นพืชอย่างต่อเนื่อง จะทำให้พืชเจริญเติบโต สมบูรณ์ แข็งแรง และได้ผลผลิตดี
อ่าน:3287
โรคราสีชมพูในลองกอง
โรคราสีชมพูในลองกอง
สาเหตุของโรคราสีชมพูในลองกอง เกิดจากเชื้อรา Corticium salmonicolor Berk & Br.

ลักษณะอาการ ของโรคราสีชมพู

เชื้อราเข้าทําลายบริเวณกิ่งและลําต้น โดยเชื้อราจะเริ่มจับที่กิ่งและลําต้นเป็นจุดสีขาวเล็กๆ แล้วเจริญเป็นเส้นใยปกคลุมบางๆ และค่อยๆ หนาขึ้น ทําให้เปลือกที่หุ้มลําต้น กิ่ง เน่าเปื่อยยุ่ยเป็นสีน้ําตาลอ่อน เมื่อถูกทําลายรุนแรงเส้นใยจะเปลี่ยนเป็นสีชมพู อาการต้นลองกองที่โรคราสีชมพูเข้าทําลายที่สังเกตได้เด่นชัด คือ ใบจะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แคระแกร็น ใบแห้งและร่วงหล่น เนื้อเปลือกเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล กิ่งหรือลําต้นจะแห้งตายไปในที่สุด หากพบเชื้อราเข้าทําลายบนกิ่งที่มีหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกองเข้าทําลายจะทําให้กิ่งแห้งตายอย่างรวดเร็ว

พืชอาศัยของโรคราสีชมพู

ราสีชมพูสามารถเข้าทําลายพืชได้หลายชนิด เช่น ลองกอง ยางพารา กาแฟ ส้มเขียวหวาน มะม่วง ทุเรียน การแพร่กระจายและฤดูการระบาด

โรคราสีชมพูระบาดมากในช่วงฤดูฝน มักเกิดกับต้นที่มีทรงพุ่มแน่นทึบ หรือมีการทําลายของหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง การทําสวนลองกองใกล้กับการทําสวนยางพาราควรระมัดระวังโรคนี้ให้มาก เพราะเป็นโรคที่ระบาดรุนแรงในยางพาราเช่นกัน

การป้องกันและกําจัด โรคราสีชมพู

1. ควรทําการตัดแต่งกิ่งลองกองให้ทรงพุ่มโปร่ง ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เป็นการลดความชื้นในทรงพุ่มและลดการสะสมเชื้อรา โดยเฉพาะกิ่งที่มีการทําลายของหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง

2. ในช่วงฤดูฝนหมั่นตรวจแปลงบ่อยๆ ถ้าพบอาการในระยะแรกให้ถากเปลือก และ ฉีดพ่นด้วยไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

3. ตัดกิ่งส่วนที่เป็นโรคไปเผาทําลาย และฉีดพ่นแผลด้วย ไอเอส

4. ในช่วงที่มีการระบาด ฉีดพ่นไอเอส ผสม FK-1 ทุก 5-7 วัน หมั่นสังเกตุอาการ หากจำเป็นต้องใช้มากกว่า 4 ครั้ง ควรหายามาสลับใช้ เพื่อป้องกันการดื้อยา

Reference
Main content from: trat.doae.go.th
อ่าน:3296
3516 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 6 รายการ
|-Page 310 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดเพลี้ย ใน สับปะรด เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/03 15:02:14 - Views: 3286
โรคข้าว โรคดอกกระถิน (False Smut) เกิดจากเชื้อรา Ustilaginoidea virens (Cke.) เข้าทำลายรวงข้าวในระยะเริ่มออกดอก
Update: 2564/02/01 13:32:31 - Views: 3296
ระวัง !! โรคเหี่ยว ในต้นมะเขือเปราะ สร้างเสียหายได้มาก ป้องกันได้อย่างไร?
Update: 2566/10/31 14:42:44 - Views: 3304
โรคใบไหม้แผลเล็ก ในข้าวโพด ข้าวโพดใบไหม้ เกิดจากเชื้อรา Bipolaris maydis (Nisik.) Shoemaker. การป้องกันกำจัด
Update: 2564/01/23 09:15:17 - Views: 3291
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงกุหลาบ ในสวนปาล์ม และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/27 09:59:11 - Views: 3337
โรคข้าว: โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot Disease)
Update: 2564/01/28 10:57:12 - Views: 3293
ยาป้องกัน กำจัด หนอน ออกฤทธิ์กับหนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม บำรุง ฟื้นตัว แข็งแรง ออกดอก ติดผล
Update: 2564/08/11 23:26:11 - Views: 3291
โรคราสนิมกาแฟ Coffee Leaf Rust
Update: 2564/09/04 02:04:55 - Views: 3289
แอพผสมปุ๋ย จาก ฟาร์มเกษตร ให้บริการฟรี ในรูปแบบ Web based application ไม่ต้องติดตั้ง ใช้งานได้เลย
Update: 2566/01/20 09:39:46 - Views: 3293
ข้าวดีด ข้าวเด้ง ข้าวแดง ข้าวลาย
Update: 2564/08/25 22:50:43 - Views: 3294
ไม้ด่าง พันธุ์ไม้ด่าง ใบไหม้ ใบจุด ราสนิม โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/13 23:05:05 - Views: 3291
การรับมือกับศัตรูไม่ต้องการ: การควบคุมหนอนในต้นทับทิม
Update: 2566/11/16 13:56:02 - Views: 3293
เพลี้ยองุ่น เพลี้ยไฟองุ่น ดูกินน้ำเลี้ยงที่ยอดอ่อน และช่อผลอ่อน เกิดแผลสีน้ำตาล ยอดแคระแกร็น ชะงักการโต เร่งป้องกันกำจัด
Update: 2564/02/17 01:30:53 - Views: 3297
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
Update: 2564/08/20 12:43:41 - Views: 3294
โรคราแป้ง ใน ทุเรียน ป้องกันกำจัด ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 11:15:54 - Views: 3293
การจัดการเพลี้ยในต้นกาแฟ: วิธีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและป้องกัน
Update: 2566/11/10 14:36:30 - Views: 3289
รับจ้างผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ยาฯ อินทรีย์ ชีวภาพ อะมิโนสกัด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมทาไรเซียม OEM ODM เป็นแบรนด์ของคุณ
Update: 2565/11/17 07:02:10 - Views: 3286
โรคราแป้ง ทีพบใน เยอบีร่า โรครากเน่าโคนเน่า เกิดจากเชื้อรา ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส
Update: 2562/10/01 20:14:57 - Views: 3291
มะเขือเทศ โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ ผลผลิตดี ฉีดพ่นปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/04/17 10:39:52 - Views: 3290
เร่งการออกดอกและรากของต้นส้มโอด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
Update: 2567/02/12 13:18:05 - Views: 3293
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022