[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ

โรคราแป้ง ที่เกิดกับ แตงกวา
โรคราแป้ง ที่เกิดกับ แตงกวา
สาเหตุของ โรคราแป้งแตงกวา เกิดจากเชื้อรา ออยเดียม Oidium sp.

ลักษณะอาการ ของโรคแตงกวาเป็นราแป้ง

มักเกิดที่ใบล่างก่อนในระยะที่ผลโตแล้วโดยจะพบราสีขาวคล้ายผลแป้ง ปกคลุมอยู่เป็นหย่อมๆ กระจายอยู่ทั่วไปบนใบ เมื่อการรุนแรง จะพบเชื้อราปกคลุมเต็มผิวใบ ท้าให้ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วแห้งตาย

การป้องกันกำจัดโรคราแป้ง ในแตงกวา

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงแตงกวา ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
ผักคะน้า กล้าเน่า
ผักคะน้า กล้าเน่า
อาการต้นกล้าเน่า

อาการทั่วไปในแปลงจะพบว่า ต้นกล้าฟุบตายเป็นหย่อมๆ เมื่อนำกล้ามาพิจารณาดูที่ต้นจะเห็นว่า บริเวณโคนต้นจะมีลักษณะแผลช้ำ เหี่ยวแฟบ คอรวงเป็นสีน้ำตาลดำและเน่า เป็นเหตุทำให้ต้นกล้าหักพับลง พบกับกล้าพืชแทบทุกชนิดในแปลงที่มีกล้าแน่นเกินไป และความชื้นสูง สาเหตุเนื่องจากเชื้อรา

อาการต่างๆ ของโรคดังกล่าวมาแล้ว จะเกิดได้รุนแรงขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับพืช ชนิด และปริมาณของเชื้อโรค และสภาพแวดล้อม เชื้อโรคแต่ละชนิดต้องการสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันไป เช่น โรคเน่าคอดิน โรครากเน่าจะเกิดรุนแรงเมื่อความชื้นสูง ดินมีการระบายน้ำไม่ดี โรคเน่าเละของผักระบาด เมื่อความชื้นสูง และอากาศร้อน โรคราแป้งขาวเป็นได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง ในขณะที่โรคราน้ำค้างเป็นโรคได้ดี และระบาดมาก เมื่อมีความชื้นสูง และฝนชุก โรคใบจุด (ตากบ) ของยาสูบพบว่า ในแปลงที่มีปุ๋ยไนโตรเจนสูง ทำให้เกิดโรคมาก โรคเหี่ยวของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อราจะเป็นโรครุนแรงมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินที่ปลูก และอัตราส่วนปุ๋ยไนโตรเจนและโพแทสเซียมที่ให้ สรุปได้ว่า เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม เชื้อจะเจริญได้ดีมีการเพิ่มปริมาณจำนวนมาก และเข้าทำลายพืชได้ง่าย โดยอาจเข้าทำลายโดยตรง เช่น เชื้อรา หรืออาจเข้าทางบาดแผล และทางรูเปิดธรรมชาติ เช่น ปากใบ ในสภาพที่พอเหมาะเชื้อจะเข้าไปเจริญ และขยายพันธุ์ในส่วนต่างๆ ของพืช และแสดงอาการโรคให้เห็น ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่เชื้อมีจำนวนมาก พร้อมที่จะแพร่ระบาดขยายขอบเขตของการเกิดโรคออกไป โดยมีลมหรือน้ำพัดพาติดไปกับส่วนขยายพันธุ์ หรือเมล็ดพันธุ์ แมลง และสัตว์บางชนิดพาไป ติดไปกับเครื่องมือ หรือวัสดุการเกษตร เช่น มีด จอบ เสียม ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือบางทีมนุษย์ก็เป็นผู้นำ โรคแพร่ระบาดเสียเอง และสามารถแพร่ระบาดได้ไกลข้ามประเทศ โดยการนำหรือแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชที่มีโรคติดอยู่ เป็นต้น

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3543
โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
สาเหตุ เชื้อราคอลเลโตตริคัม (Colletotrichum gloeosporiodes)

ลักษณะอาการ

ลักษณะอาการคล้ายโรคใบติด โดยใบจะไหม้เป็นสีน้ำตาล มักเกิดตามบริเวณขอบใบหรือกลางใบ บริเวณเนื้อใบที่ไหม้จะเป็นสีน้ำตาลอ่อน ขอบของแผลจะเป็นสีน้ำตาลเข้มล้อมรอบแผล เนื้อใบที่ถูกทำลาย จะมองดูโปร่งใส การเกิดโรคมักจะกระจายไปทั่วทั้งต้น ไม่เหมือนโรคใบติดที่มักพบกระจายเป็นหย่อมๆ โรคนี้พบได้ทั้งในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง แต่มองเห็นอาการได้ชัดเจนในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งเป็นระยะที่ทุเรียนกำลัง ออกดอกติดผล

การแพร่ระบาด

มักพบในทุเรียนพันธุ์ชะนี ในพันธุ์หมอนทองพบอาการระบาดบ้างแต่ไม่รุนแรง โดยเชื้อจะแพร่ระบาดไปตามลม เข้าทำลายพืชเมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม

การป้องกันกำจัด

1. ดูแลต้นทุเรียนให้มีความแข็งแรงโดยการให้น้ำ และธาตุอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยเฉพาะในช่วงติดผลของทุเรียน

2. ในแหล่งปลูกที่พบโรคเสมอในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อน ควรฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

3. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงให้ทุเรียน มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3340
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
โรคแอนแทรคโนส เกิดขึ้นและสร้างความเสียหายกับหลายพืช เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคแอนแทรคโนส อยู่ในจีนัส Colletotrichum (คอนเล็ตโททริคัม) มีพืชอาศัย หรือพืชที่เชื้อราชนิดนี้เข้าทำลาย มากกว่า 470 ตระกูล ถั่ว หญ้า ผัก ไม้ผลและไม้ประดับ ทําให้ผลผลิตเน่าเสียอายุการเก็บเกี่ยวสั้น เชื้อราสามารถเข้าทําลายได้ทุกส่วนของพืชตั้งแต่ลําต้น ใบ ก้าน ดอก ผล และเมล็ด ทําให้เปอร์เซ็นต์การงอกลดลง ถ้าเกิดกับต้นกล้าจะทําให้ต้นกล้าแห้งตายได้

เชื้อรา Colletotrichum spp.สามารถเข้าทําลายเซลล์พืชโดยตรงไม่ต้องผ่านช่องเปิดธรรมชาติหรือบาดแผล สามารถเข้าทําลายผลผลิต ตั้งแต่ระยะดอก ผลอ่อน โดยยังไม่แสดงอาการของโรค จัดเป็นการเข้าทําลายแบบแฝง( quiescent infection) จะแสดงอาการชัดเจนเมื่อผลผลิตแก่หรือเริ่มสุก

ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส

อาการของโรคแอนแทรคโนส เริ่มจากจุดแผลแห้งเล็ก ๆ สีน้ําตาลแล้วค่อย ๆ เข้มขึ้นขยายออกเป็นวงกลมหรือวงรีซ้อนกันเป็นชั้น ๆ อาการของโรคจะเห็นชัดเจนในระยะที่ผลเริ่มสุกเมื่อมีความชื้นสูง จะพบการสร้างกลุ่มของสปอร์หรือ conidia สีส้มหรือสีชมพูเป็นหยดเหลวข้น บริเวณแผลโรคแอนแทรคโนสที่เกิดบนใบ ถ้าเกิดกับใบอ่อนทําให้ใบหงิกงอ อาการเริ่มจากจุดสีเทาและเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาลเข้ม อยู่กระจัดกระจาย เนื้อเยื่อกลางแผลบางและฉีกขาดเป็นรู นอกจากนี้โรคแอนแทรคโนส ยังสามารถเข้าทําลายกิ่ง ทําให้เกิดอาการไหม้ได้อีกด้วย

ภาพตัวอย่างด้านล่าง ประกอบด้วย
- โรคแอนแทรคโนสมะนาว
- โรคแอนแทรคโนสองุ่น
- โรคแอนแทรคโนสฝรั่ง
- โรคแอนแทรคโนสสตอเบอรี่
- โรคแอนแทรคโนสพริก
- โรคแอนแทรคโนสส้มโอ
- โรคแอนแทรคโนสมะม่วง
- โรคแอนแทรคโนสต้นหอม
- โรคแอนแทรคโนสพริกไทย
- โรคแอนแทรคโนสกล้วย
- โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
- โรคแอนแทรคโนสถั่วเหลือง
ตามลำดับ

นอกจากนั้น ยังพบพืชที่นิยมปลูกในประเทศไทย ที่เป็นโรคแอนแทรคโนส ดังนี้
- โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรัง เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสแตงโม เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum lagenarium (Pass.)
- โรคแอนแทรคโนสทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum zibethinum Sacc.
- โรคแอนแทรคโนสกาแฟ สาเหตเกิดจากเชื้อรา Glomerella cingulataแบบใช้เพศ (teleemorph) หรือเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides แบบไม่ใช้เพศ (asexual stage-anamorph)
- โรคแอนแทรคโนสมะลิ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสต้นหน้าวัว สาเหตุ เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc.
- โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. หรือ Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสกุหลาบ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz.

การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนส

1. ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน คอยสังเกตุอาการ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องนานเกิน 4-5 ครั้ง ควรหายามาสลับ เพื่อป้องกันการดื้อยา

2. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อเติม ธาตุหลัก ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เพื่อฟื้นฟูพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3667
โรคแคงเกอร์
โรคแคงเกอร์
โรคแคงเกอร์ เกษตรกรส่วนมาก จะคุ้นชินว่า โรคแคงเกอร์ จะเกิดกับมะนาว ในความเป็นจริงแล้ว โรคแคงเกอร์ พบบ่อย หรือนับได้ว่า เป็นโรคประจำตัวของพืชตระกูลส้ม ไม่ว่าจะเป็นส้มแป้น ส้มโอ ส้มเขียวหวาน และยังเกิดกับพืชผลอื่นๆ ได้อีกหลายพืชด้วยเช่นกัน ลักษณะของโรคแคงเกอร์ ที่แสดงให้เห็นบนพืชนั้น จะเห็นเป็นแผล กลม นูน เกิดขึ้นที่ ผล ใบ ลำต้น ทำให้พืชแคระ แกรน ผลผลิตเสียหาย

เชื้อสาเหตุของโรคแคงเกอร์ : โรคแคงเกอร์ มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. citri

การระบาดของโรคแคงเกอร์

1. ฟุ้งกระจายไปกับกระแสลม ฝน ไปได้ไกล
2. หนอนชอนใบเข้าทำลายใบอ่อน เป็นจุดที่จำให้เชื้อแบคทีเรียแคงเกอร์ เข้าทำลายได้ง่าย และลุกลาม
3. เพลี้ยไฟ เป็นแมลงพาหะ ที่พาแคงเกอร์ระบาดออกไปในวงกว้าง
4. ติดมากับกิ่งพันธุ์ ที่นำมาจากต้นที่เป็นโรค
5. ระบาดมากในช่วง พฤษภาคม ถึง กันยายน

ยารักษาโรคแคงเกอร์

ปัจจุบันยังไม่พบว่า มียาตัวใด ที่รักษาโรคแคงเกอร์ได้ ร้อยเปอร์เซ็น

แนวทางรักษา และป้องกันกำจัด โรคแคงเกอร์

1. ตัดส่วนที่เป็นโรค เผาทำลาย
2. ไม่ขยายพันธุ์ จากต้นที่เป็นโรค
3. ฉีดพ่น ไอกี้-บีที เพื่อป้องกันหนอน หรือเมื่อพบปัญหาหนอน อัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร
4. ฉีดพ่น มาคา เพื่อป้องกัน หรือ พบปัญหา เพลี้ยต่างๆ อัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
5. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อส่งความความแข็งแรง ต้นทานโรค และให้ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
*สามารถผสม ฉีดพ่นไปได้พร้อมกัน



อ่าน:3384
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
อาการ มะระจีนใบเหลือง อาจเกิดได้จากสาเหตุต่างๆ เช่นหากเป็นการเหลือง ที่ใบแก่ด้านล่าง แต่ใบบน ใบใหม่ยังเขียวปกติ นั้นเป็นเพราะใบแก่หมดอายุตามปกติ แต่หากเป็นอาการใบเหลืองเป็นหย่อมๆ เกิดทั่วทั้งใบแก่ และใบใหม่ด้วย อาจจะเกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชบางตัว ที่ไม่ได้เติม เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม และหากอาการใบเหลือง ลุกลามเป็นวงกว้าง อาจมีอาการใบไหม้ ใบจุด ราสนิมปะปนอยู่ด้วย อันนี้ มีสาเหตุจากโรคพืช ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร และบำรุงพืชให้โตไวผลผลิตดี แก้ปัญหาการขาดธาตุ ฉีดพ่น FK-1 [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:4575
โรคมะระ โรคราน้ำค้างในมะระ
โรคราน้ำค้าง มักพบแผลเล็กสีเหลืองบนใบ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ จะพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีเทาดำตรงแผลใต้ใบ ทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น แตงจะติดผลน้อย ผลเล็กความหวานลดลง

หากพบ ให้ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตรส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกั้น เพื่อชำรุงให้ฟื้นตัวเร็ว ส่งเสริมการเจริญเติบโต ความสมบูรณ์แข็งแรง และเพิีมผลผลิต [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3128
แก้โรคใบติดทุเรียน ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ทุเรียน
แก้โรคใบติดทุเรียน ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ทุเรียน
สาเหตุของโรคใบติดทุเรียน หรือโรคใบไหม้ทุเรียน เกิดจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.)

ลักษณะอาการของโรคใบไหม้ทุเรียน หรือ โรคใบติดทุเรียน

พบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ บริเวณกลางใบหรือขอบใบ ต่อมาแผลขยายตัวลุกลามและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ขนาดและรูปร่างแผลไม่แน่นอนเชื้อราจะแพร่ไปยังใบอื่นที่ติดกันโดยการสร้างเส้นใยของเชื้อรายึดใบให้ติดกัน ทำให้เกิดอาการใบแห้งเป็นหย่อม ๆ และใบจะค่อย ๆ ร่วงหล่นลงยังโคนต้นเหลือแต่กิ่ง ซึ่งต่อมาจะค่อย ๆ แห้ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง และมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมบูรณ์

การแพร่ระบาดของโรคใบติดทุเรียน หรือ โรคทุเรียนใบไหม้

เชื้อราสามารถพักตัวอยู่ในดินได้เป็นเวลานาน โดยอาศัยเศษซากพืช และแพร่ระบาดเข้าทำลายพืชระยะใบอ่อน โดยเฉพาะในช่วงในตกชุก

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบติด หรือ โรคใบไหม้ทุเรียน

1.ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้เหมาะสม โดยให้มีความชื้นในปริมาณที่ต้นทุเรียนเจริญเติบโตได้ดี และมีความชื้นในทรงพุ่มไม่เหมาะต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรค

2. ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก นำไปเผานอกแปลงปลูก และพ่นด้วยสารกำจัดโรคพืช เช่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อส่งเสริมความสมบูรณ์ และแข็งแรง [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

3. เก็บและรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

4. ในแปลงปลูกที่ความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ ควรใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนต่ำ เพื่อลดความอุดมสมบูรณ์ของการแตกใบ

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3020
ป้องกัน กำจัด โรคผลเน่าในทุเรียน อาการทุเรียนผลเน่า (Fruit Rot)
ป้องกัน กำจัด โรคผลเน่าในทุเรียน อาการทุเรียนผลเน่า (Fruit Rot)
สาเหตุของอาการ ทุเรียนผลเน่า หรือโรคผลผเน่า ในทุเรียน เกิดจาก เชื้อราไฟทอฟธอรา (Phytophthora palmovora (Butler) Butler)

ลักษณะอาการ

บริเวณปลายผล หรือก้นผลมักพบจุดช้ำสีน้ำตาลปนเทา ต่อมาขยายเป็นวงกลมหรือค่อนข้างรีไปตามรูปร่างผล แผลดังกล่าวอาจพบได้ตั้งแต่ผลยังคงอยู่บนต้น แต่ส่วนใหญ่มักพบเกิดกับผลในช่วงประมาณ 1 เดือน ก่อนเก็บเกี่ยวจนกระทั่งเก็บเกี่ยว และในระหว่างบ่มผลให้สุก

การแพร่ระบาด

เชื้อราสามารถเข้าทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่ระยะผลอ่อนจนกระทั่งแก่ โดยเฉพาะเมื่อผลใกล้แก่จะเป็นช่วงต้นฤดูฝนซึ่งมักจะเกิดลมพายุฝนพัดพาเอาเชื้อที่ติดอยู่กับดินขึ้นไปเกาะติดบนผลทุเรียนที่ติดอยู่บนต้น และเข้าทำลายทำให้เกิดแผลเน่าได้ ซึ่งบริเวณที่เชื้อเข้าทำลายส่วนใหญ่จะเป็นบริเวณก้นผลเนื่องจากเป็นบริเวณที่มีความชื้นสูงกว่าบริเวณอื่น

การป้องกันกำจัดโรคทุเรียนผลเน่า กำจัดโรคเชื้อราไฟทอฟธอราในทุเรียน

1. ทำการป้องกันกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดกับต้นทุเรียนในแปลงปลูกเสียตั้งแต่ในช่วงฤดูฝนเศษชิ้นส่วนพืชที่เป็นโรคจะต้องเก็บออกนอกแปลงแล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูก

2. หมั่นตรวจตราผลทุเรียนในแปลงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในช่วงผลใกล้แก่ หากพบอาการผลเป็นจุดเน่า ควรทำการฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ห่างกัน 5-7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง ควรหายามาสลับ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องนานเกินไป

3. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงให้ทุเรียนสมบูรณ์แข็งแรง สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกับไอเอสได้ [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

4. ในแปลงปลูกที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคผลเน่าสูง อันเนื่องมาจากมีต้นที่เป็นโรครากเน่าโคนเน่าในแปลงมาก และมีฝนตกชุกในช่วงใกล้เก็บเกี่ยวผล เชื้อโรคอาจจะติดมากับผลได้โดยยังไม่แสดงอาการจำเป็นต้องจุ่มสารเคมี เช่น ฟอสเอทธิลอะลูมินั่ม ก่อนผึ่งให้แห้งแล้วดำเนินการบรรจุหีบห่อหรือส่งไปยังจุดหมายปลายทาง การเก็บเกี่ยวทุเรียนต้องระมัดระวังไม่ให้ผลทุเรียนสัมผัสกับดิน โดยใช้ตะกร้าพลาสติกหรือเข่ง หรือปูพื้นดินที่จะวางผลทุเรียนด้วยกระสอบที่สะอาด เพื่อลดโอกาสที่ผลจะสัมผัสกับดิน และการขนย้ายจะต้องระมัดระวังบาดแผลบนผลที่อาจเกิดจากหนามทิ่มแทงกัน

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3628
โรคพืชคืออะไร ?
โรคพืชคืออะไร ?
โรคพืช คือ อาการที่ผิดไปจากพืชปกติ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับพืชอย่างต่อเนื่อง โดยมีสาเหตุจากสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สร้างความเสียหายให้กับ กระบวนการทางสรีระของพืช โดยการเปลี่ยนแปลงให้เห็นทางคุณภาพ และ/หรือ ปริมาณ

# http://www.farmkaset..link..
โรคพืชต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยกตั้วอย่างเช่น โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ใบจุดสนิม ฉีดพ่น ไอเอส

ส่วนโรคพืช ที่มีต้นเหตุจากการขาดธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เช่น แคระ โตช้า ใบเหลือง สังเคราะห์แสงไม่ดี ฉีดพ่นด้วย FK-1
อ่าน:3436
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ
|-Page 306 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ชุดเร่งผลมะพร้าว ปุ๋ยมะพร้าว เพิ่มขนาด น้ำหนัก คุณภาพ ให้ ธาตุ โพแทสเซียม มากถึง 40% สำหรับเร่งผลโดยเฉพาะ
Update: 2565/02/06 06:03:02 - Views: 2989
กำจัดโรคราแป้ง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน สารอินทรีย์ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 11:00:04 - Views: 3129
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
Update: 2566/11/04 09:56:30 - Views: 7758
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคผลเน่า โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/24 14:47:09 - Views: 3027
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะกิ่งสีแดง ใน ลำไย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/10 12:49:42 - Views: 3284
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกต้นหม่อน ช่วยให้ผลหม่อนมีคุณภาพดี เพิ่มผลผลิต และเพิ่มรายได้
Update: 2567/03/11 10:54:41 - Views: 108
ฮิวมิค แอซิด: สารออกฤทธิ์ที่พัฒนาดินและเพิ่มผลผลิตในการปลูกมันเทศ
Update: 2567/02/13 09:35:13 - Views: 120
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคใบติด โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/24 15:30:39 - Views: 3090
คู่มืองป้องกันและกำจัดโรคในลำไย โรคราต่างๆ ใบไหม้ ราแป้ง ราสนิม กิ่งแห้ง และราอื่นๆ
Update: 2566/04/30 08:55:27 - Views: 16335
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ โรคทุเรียน ที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส จาก FK
Update: 2565/06/18 06:04:06 - Views: 3013
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคไฟทอปธอรา โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/25 10:10:01 - Views: 2995
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้ง ศัตรูพืชสำหรับต้นลำไย
Update: 2567/02/26 10:23:51 - Views: 117
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มะม่วง ผลดก ผลใหญ่ น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:30:10 - Views: 3042
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคแอนแทรคโนส โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-Tธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/25 10:46:20 - Views: 2980
ดาวเรืองใบไหม้ ใบแห้ง ดาวเรืองลำต้นเน่า มีสาเหตุจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/08/10 12:04:23 - Views: 3887
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
Update: 2564/08/23 01:06:26 - Views: 3036
กำจัดเชื้อรา น้อยหน่า ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/22 11:40:24 - Views: 2959
กำจัดหนอนเจาะผล ศัตรูพืชในต้นทุเรียน AiKi-BT ฟื้อนฟูจากการเข้าทำลายของหนอน FK-T อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ โดย FK
Update: 2566/05/25 12:37:31 - Views: 3115
โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ : ANTHRACNOSE DISEASE [ไอเอส+FK-1]
Update: 2564/08/09 05:01:52 - Views: 3241
ยาฉีดเงาะ หนอนเจาะผลเงาะ หนอนคืบ ใช้ ไอกี้ เพลี้ยไฟในเงาะ เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา ส่วนโรคเงาะที่เกิดจากเชื้อรา..
Update: 2563/04/11 13:21:30 - Views: 3537
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022