[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ

โรคใบติดใบไหม้ในต้นทุเรียน ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ FK-1 ฟื้นฟูบำรุง
โรคใบติดใบไหม้ในต้นทุเรียน ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ FK-1 ฟื้นฟูบำรุง
โรคใบติดใบไหม้ในต้นทุเรียน ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ FK-1 ฟื้นฟูบำรุง
โรคใบติดทุเรียน หรืออาการทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อราโรคพืช เชื้อราจะมีลักษณะเป็นสปอร์ ฟุ้งปลิวไปในอากาศ สามารถระบาดติดต่อกันได้ในระยะทางไกล โรคเชื้อรานี้ จึงมากับลม กับฝน ระบาดมาจากสวนข้างเคียง หรืออาจะห่างไกลกันหลายกิโลเมตร ก็อาจจะระบาดมาถึงสวนเราได้ อาการใบไหม้ใบติด จะระบาดจากเชื้อราที่ติดอยู่กับยอดใบที่อยู่ด้านบน หล่นลงมาติดกับใบทุเรียนที่อยู่ด่านล่าง จึงลุกลามติดต่อกันไปเรื่อยๆ จึงลุุกลามไปได้เรื่อยๆ ควรรีบป้องกันกำจัด

การฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัดเชื้อราโรคพืชเหล่านี้ จึงต้องฉีดพ่นครอบคลุมบริเวณทั้งหมด เนื่องจากเชื้อราเป็นสปอร์ฟุ้งอยู่ในอากาศ เรามองไม่เห็น แน่นนอนว่า เมื่อเราเห็นโรคใบติด ใบไหม้ ในทุเรียน แม้ในต้นข้างเคียงที่ยังไม่แสดงอาการให้เห็น ก็อาจจะเริ่มติดโรคแล้ว

ใช้ไอเอส ผสมกับ FK-1 ฉีดพ่นครอบคลุมบริเวณสวนทุเรียน เพื่อป้องกันกำจัด และบำรุงให้ทุเรียนแตกยอดใบใหม่ได้รวดเร็ว กลับมาสมบูรณ์ แข็งแรง ต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น กลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

หลายคนยังเข้าใจผิด คิดว่าการป้องกันกำจัดโรคราต่างๆนั้น เมื่อฉีดพ่นตัวยาลงไป จะทำให้ใบพืชที่เสียหายจากเชื้อรา หรือผลพืชที่เป็นเชื้อรา ผลเน่า จะกลับมาหาย ใบเขียว ผลสวยดังเดิม ในความเป็นจริงแล้ว ยาป้องกันกำจัดเชื้อราต่างๆ จะกำจัดเชื้อรา ทำให้เชื้อราฝ่อตาย ส่วนใบหรือผลผลิตที่เสียหายไปแล้ว จะหยุดการลุกลาม เนื้อเยื่อที่เสียหายแล้ว ก็เหมือนแผลเป็น เพียงแต่จะไม่เป็นเพิ่มขึ้น เราจึงต้องผสม FK-1 เพื่อเร่งให้พืชแตกยอดใบใหม่ และฟื้นฟูความแข็งแรงให้พืช หลังจากเชื้อราฝ่อตายลงไปแล้ว หากเปรียบเทียบกับคน เมื่อได้ยารักษาโรค ก็ต้องทานอาหารที่ดีควบคู่ไปด้วย จึงจะหายจากโรคได้เร็ว และกลับมาแข็งแรงขึ้นได้เร็วกว่าการรับแต่ยาแต่ไม่ได้ทานอาหาร
อ่าน:3059
ขั้นตอนการให้ปุ๋ยมันสำปะหลัง ให้ได้ผลผลิตดี ด้วยการฉีดพ่นปุ๋ย FK คุณภาพสูง ในเวลาที่เหมาะสม
ขั้นตอนการให้ปุ๋ยมันสำปะหลัง ให้ได้ผลผลิตดี ด้วยการฉีดพ่นปุ๋ย FK คุณภาพสูง ในเวลาที่เหมาะสม
ขั้นตอนการให้ปุ๋ยมันสำปะหลัง ให้ได้ผลผลิตดี ด้วยการฉีดพ่นปุ๋ย FK คุณภาพสูง ในเวลาที่เหมาะสม
มันสำปะหลังต้องการธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการสร้างหัว สร้างแป้ง ใช้ปุ๋ย FK-1 ให้ถูกสูตร ในอัตราส่วนผสมที่ถูกต้อง ในช่วงเวลาที่เหมาะสม จะช่วยให้ต้นมันสำปะหลังเติบโตสมบูรณ์ โดยแนะน้ำให้ใช้ปุ๋ย FK-1 และ ปุ๋ย FK-3C ฉีดพ่นดังนี้

ระยะแรกปลูกจนถึงมันสำปะหลังอายุไม่เกิน 3 เดือน หากมีการใช้ปุ๋ยเคมีแบบเม็ดเพื่อเร่งการเจริญเติบโตแล้วในระยะนี้ ฉีดพ่น ปุ๋ยทางใบ FK-1 หนึ่งครั้ง ในช่วงมันสำปะหลังอายุ 2-3 เดือน กรณีไม่ได้ใช้ปุ๋ยเม็ดเลย ให้ฉีดพ่น FK-1 เดือนละหนึ่งครั้งต่อเดือน ในเดือนที่ 1 เดือนที่ 2 และเดือนที่ 3

ระยะมันสำปะหลังลงหัวสะสมอาหาร มีอายุ 4 เดือนขึ้นไป หากมีการใช้ปุ๋ยเม็ดสูตรเร่งหัว (สูตรที่มีโพแตสเซียมสูง เช่น 13-13-21 หรือ 0-0-60) ให้ฉีดพ่น ปุ๋ยทางใบ FK-3C ที่เป็นสูตรสำหรับเร่งหัว เพิ่มเปอร์เซ็นต์แป้งในมันสำปะหลัง 1 ครั้ง ในช่วงเดือนที่ 4-6 ช่วงเดือนใดก็ได้ สำหรับกรณีที่ไม่ได้ใช้ปุ๋ยเม็ดเพื่อบำรุงหัวมันสำปะหลังเลย ให้ฉีดพ่น FK-3C ปุ๋ยเร่งหัวมันสำปะหลัง เพิ่มเปอร์เซ็นแป้ง ในเดือนที่ 4 หนึ่งครั้ง เดือนที่ 5 หนึ่งครั้ง และเดือนที่ 6 อีกหนึ่งครั้ง เพื่อช่วนส่งเสริมกระบวนการสะสมแป้งและน้ำตาล มันสำปะหลังจะมีหัวใหญ่ น้ำหนักดี มีเปอร์เซ็นต์แป้งสูง
อ่าน:3029
ขายปุ๋ย FK-1 -ปุ๋ยนาข้าว คุณภาพสูง ข้าวแตกกอ โตไว ให้ผลผลิตดี
ขายปุ๋ย FK-1 -ปุ๋ยนาข้าว คุณภาพสูง ข้าวแตกกอ โตไว ให้ผลผลิตดี
ขายปุ๋ย FK-1 -ปุ๋ยนาข้าว คุณภาพสูง ข้าวแตกกอ โตไว ให้ผลผลิตดี
ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นนาข้าว FK-1 ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลักที่จำเป็นที่สุดสำหรับการเจริญเติบโต และการเพิ่มผลผลิตข้าว ทำให้ข้าวแตกกอใหญ่ ใบเขียว ส่งเสริมผลผลิต ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม ผลผลิตเพิ่มขึ้นทันทีในรอบการปลูกที่ฉีดพ่น FK-1
อ่าน:3020
ปุ๋ยน้ำ สำหรับ มันสำปะหลัง FK-1 ประสิทธิภาพสูง มันสำปะหลังโตไว ใบเขียว แข็งแรง ต้านทานต่อโรค
ปุ๋ยน้ำ สำหรับ มันสำปะหลัง FK-1 ประสิทธิภาพสูง มันสำปะหลังโตไว ใบเขียว แข็งแรง ต้านทานต่อโรค
ปุ๋ยน้ำ สำหรับ มันสำปะหลัง FK-1 ประสิทธิภาพสูง มันสำปะหลังโตไว ใบเขียว แข็งแรง ต้านทานต่อโรค
ปุ๋ยน้ำ FK-1 ให้ธาตุอาหารพืชครบถ้วน เต็มที่ตามที่มันสำปะหลังต้องการใช้ ในระยะส่งเสริมการเจริญเติบโต แตกยอดเขียว ทรงพุ่มหนา โตไว มีความสมบูรณ์แข็งแรง ประกอบด้วย ไนโตรเจน ที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ฟอสฟอรัส ช่วยเสริมสร้างระบบรากให้แข็งแรง หาอาหารได้ดีขึ้น และโพแตสเซียม ที่ส่งเสริมผลผลิต ราคา 890 บาท ใช้ได้ในพื้นที่ 5 ไร่
อ่าน:3008
กัญชา สร้างอาชีพ รายได้หลักแสน! สาวกพลังใบทำเงินจากอะไรได้บ้าง?
กัญชา สร้างอาชีพ รายได้หลักแสน! สาวกพลังใบทำเงินจากอะไรได้บ้าง?
การประกาศ ปลดล็อกกัญชา ของประเทศไทยอย่างเป็นทางการ นอกจากจะเอื้อประโยชน์ต่อการใช้กัญชาทางการแพทย์แล้ว ยังอาจต่อยอดสู่อาชีพที่เกี่ยวข้องกับ กัญชา และเพิ่มโอกาสสร้างรายได้ช่องทางใหม่ๆ ให้แก่คนไทยได้มากขึ้น ซึ่งแน่นอนว่าต้องเป็นอาชีพที่ถูกกฎหมายและมีการควบคุมดูแลอย่างเคร่งครัด

หากมองในต่างประเทศที่มีการใช้ กัญชาเสรี พบว่า มีอาชีพเกิดใหม่ต่อยอดจากการปลูกและการใช้กัญชาอย่างหลากหลาย และมีรายได้สูงถึงหลักแสนบาท! ยกตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกามีผู้ประกอบการร้านอาหารและร้านยาหลายแห่ง ต่างกำลังมองหาผู้เชี่ยวชาญด้านกัญชามาร่วมงานด้วย ซึ่งมีตำแหน่งงานเกี่ยวกับกัญชาที่น่าสนใจมากมาย

1. ผู้เชี่ยวชาญด้านกัญชา (Budtender)

อาชีพนี้ทำหน้าที่เหมือนเป็น บาร์เทนเดอร์ ผสมกับ เภสัชกร มีหน้าที่แจ้งข้อมูลประโยชน์และโทษของกัญชาให้แก่ลูกค้า มีความรอบรู้ในอุตสาหกรรมกัญชา แนะนำกัญชาสายพันธุ์ต่างๆ ได้ดี รับฟังความต้องการของลูกค้าและคัดเลือกสายพันธุ์กัญชาที่เหมาสมให้แก่ลูกค้า ในสายงานนี้จะต้องรู้จักกัญชาทุกสายพันธุ์ รู้จักสารออกฤทธิ์ในกัญชาแต่ละชนิด รวมทั้งผลกระทบทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นต่อผู้ใช้กัญชา รายได้ : 138,000 บาท/เดือน

2. นักคิดค้นเมนูอาหารกัญชา (Edibles Producer)

อาชีพนี้ทำหน้าที่คล้ายกับ Chef มีหน้าที่คิดค้นเมนูอาหารจากกัญชา และควบคุมการผลิต จะต้องมีความรู้ในเรื่อง food science มีความสามารถในการทำอาหาร และรู้เรื่องวิทยาศาสต์ของสารเคมีในกัญชาต่างๆ อย่างดี

สายงานนี้ต้องวัดค่าสารสกัดกัญชาในอาหารได้อย่างแม่นยำ เพื่อให้แน่ใจว่าบริโภคได้อย่างปลอดภัย ผู้ผลิตต้องควบคุมปริมาณทุกครั้งที่ใส่ในอาหาร อย่างไรก็ตาม เชฟจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับรหัสกัญชาของแต่ละรัฐด้วย ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้บ่อยครั้ง อีกทั้งต้องคอยอัปเดตกฎหมายที่เกี่ยวกับกัญชาเพื่อการบริโภคทั้งหมด รายได้ : 152,000 - 212,000 บาท/เดือน

3. นักเขียน/นักวิจารณ์กัญชา (Marijuana Journalist)

อาชีพนี้ทำหน้าที่เขียนเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับ กัญชา ทั้งการเขียนให้ความรู้และเขียนเชิงวิจารณ์หรือแนะนำกัญชาใสนแต่ละสายพันธุ์ รวมถึงแนะนำคลินิกกัญชาทางการแพทย์ ร้านค้ากัญชา ร้านอาหารกัญชา โดยสายอาชีพนี้จะต้องมีทักษะด้านประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พฤกษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ฯลฯ รายได้ : ขึ้นอยู่กับชื่อเสียงและผลงาน

4. ผู้ดูแลการปลูกกัญชา (Grower/Grow Master)

อาชีพนี้ทำหน้าที่ควบคุมการปลูกกัญชาทุกกระบวนการ ต้องมีความรอบรู้ทุกด้านเกี่ยวกับวิธีปลูกและดูแลพืชกัญชา ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง มีประสบการณ์สูง และส่วนใหญ่มักเป็นผู้ที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในแวดวงนี้ รายได้ : 217,000 - 443,000 บาท/เดือน

5. เจ้าของฟาร์ม/แล็บกัญชา (Grow Site Owner)

เจ้าของฟาร์มกัญชาหรือเจ้าของแล็บกัญชา ต้องมีเงินมากพอที่จะจ้างงาน รวมทั้งการก่อสร้างฟาร์ม ห้องแล็บ รวมทั้งต้องมีความรู้ในแบบที่ผู้ดูแลกัญชาต้องมี และทำหน้าที่บริหารจัดการทุกอย่างในฟาร์ม รายได้ : ผลกำไรทั้งหมด!

หมายเหตุ : เป็นกลุ่มอาชีพถูกกฎหมายที่พบในต่างประเทศ และอัตราเงินเดือนอัปเดตข้อมูลล่าสุด ณ เดือน มิ.ย.65


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
อย.เผย อย่ากังวล น้ำดื่มบรรจุขวดไทย มีคุณภาพมาตรฐาน
อย.เผย อย่ากังวล น้ำดื่มบรรจุขวดไทย มีคุณภาพมาตรฐาน
อย. ยัน น้ำดื่มบรรจุขวดของไทย มีคุณภาพมาตรฐานสากลและตามกฎหมาย ขอผู้บริโภคอย่ากังวล เผยกรณีสื่อต่างประเทศรายงานพบน้ำดื่มบรรจุขวดของไทยปนเปื้อน เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และอาจเพิ่มความเสี่ยงโรคมะเร็ง นั้น ยังไม่มีการรับรอง

นพ.วันชัย สัตยาวุฒิพงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า ตามที่องค์กรสื่อไม่แสวงผลกำไร Orb Media ในสหรัฐ เผยแพร่ผลการศึกษา พบว่าน้ำดื่มบรรจุขวดหลายยี่ห้อที่วางจำหน่ายใน 9 ประเทศ รวมถึงไทย มีการปนเปื้อนของอนุภาคพลาสติกขนาดเล็ก อาจมีส่วนเพิ่มความเสี่ยงของโรคมะเร็งบางชนิดนั้น อย. ขอแจ้งให้ทราบว่า จากผลงานวิจัยตามข่าว ยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดจากรายงานการศึกษาหรือจากงานวิจัยที่ระบุว่า การปนเปื้อนดังกล่าวเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ ซึ่งทั้งองค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา ยังไม่ได้รับรองผลการศึกษาดังกล่าว

สำหรับประเทศไทยน้ำดื่มบรรจุขวดยังคงมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้กำหนดคุณภาพน้ำดื่มบรรจุขวดตามมาตรฐานสากล ซึ่งประกอบไปด้วยภาชนะบรรจุขวดน้ำดื่มที่ทำจากพลาสติกต้อง มีคุณภาพเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 295) พ.ศ.2548 เช่น สะอาดไม่มีสารหรือสีออกมาปนเปื้อนกับอาหารในปริมาณที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค พบปริมาณตะกั่วและแคดเมียมในพลาสติกได้ไม่เกินชนิดละ 100 มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม เป็นต้น

ในส่วนของน้ำดื่มจะต้องมีคุณภาพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งอ้างอิงตามข้อแนะน้าของ WHO ทางด้านสถานที่ผลิตต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP) มีการควบคุมการผลิต ตั้งแต่การปรับคุณภาพน้ำเพื่อขจัดอันตรายและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ จนทำให้น้ำมีมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงต้องมีการล้างภาชนะก่อนการบรรจุทุกครั้ง

ส่วนข้อมูลใหม่จากองค์กรสื่อไม่แสวงผลกำไรของประเทศสหรัฐอเมริกา คงต้องรอเวลาการพิสูจน์จากนานาชาติ รวมถึง USFDA ถ้ามีข้อมูลที่สามารถพิสูจน์ยืนยันได้และได้รับการรับรองจากผู้เชี่ยวชาญในระดับนานาชาติ ประเทศไทยก็พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนข้อกำหนดใหม่ เลขาธิการฯ กล่าวในตอนท้ายว่า ขอให้ผู้บริโภคอย่ากังวล อย. มีมาตรการในการควบคุมผลิตภัณฑ์อาหารที่จำหน่ายในประเทศ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคอย่างเข้มงวด

หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือไม่ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภค ขอให้ร้องเรียนมาได้ที่สายด่วน อย. โทร 1556 หรืออีเมล [email protected] หรือ ตู้ ปณ. 1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 หรือ ร้องเรียนผ่าน Oryor Smart Application หรือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อ อย. จะได้ดำเนินคดีตามกฎหมายกับผู้ที่กระทำผิดต่อไป


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
สมุนไพรที่ให้ประโยชน์ทางยา กระเทียม...
สมุนไพรที่ให้ประโยชน์ทางยา กระเทียม...
กระเทียมเป็นพืชสมุนไพรเก่าแก่ซึ่งมีฤทธิ์ทางยาหลายอย่าง แม้กระทั่งบิดาทางการแพทย์ของกรีกโบราณคือ ฮิปโปเครติส ก็ยกย่องว่ากระเทียมคือสมุนไพรที่ให้ประโยชน์ทางยาสูงสุดชนิดหนึ่ง เช่น ต่อต้านการเกิดเซลล์มะเร็ง ต้านการอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัสบางชนิด ที่สำคัญคือ ช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลและไขมันชนิดไม่ดีที่ร่างกายไม่ต้องการ จึงแนะนำให้ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดตีบตันกินกระเทียมเป็นประจำ

ในกระเทียมสด 1 กลีบประกอบด้วย น้ำ 64.3% โปรตีน 7.9% ไขมัน 0.6% คาร์โบไฮเดรต 16.3% ให้พลังงานทั้งหมด 98 กิโลแคลอรี

สารออกฤทธิ์สำคัญในกระเทียม

ไดซัลไฟด์ ช่วยควบคุมระดับโคเลสเตอรอลและไขมันในเลือด
อัลลิซิน ช่วยต่อต้านเชื้อแบคทีเรียและลดอาการอักเสบ
อัลลิอิน มีคุณสมบัติเป็นสารปฏิชีวนะ
เซลิเนียม เป็นสารแอนติออกซิแดนท์ ควบคุมการทำงานของร่างกายให้อยู่ในภาวะปกติ
กำมะถัน ป้องกันโรคผิวหนังหลายชนิด บำรุงข้อต่อและกล้ามเนื้อ

คุณสมบัติและคุณประโยชน์ของกระเทียม

1. ด้านระบบย่อยอาหาร
กระเทียมช่วยเพิ่มความอยากอาหารและเพิ่มความสามารถในการย่อยอาหารของร่างกาย กระเทียมสดช่วยกระตุ้นน้ำย่อยในกระเพาะอาหารให้หลั่งออกมาย่อยอาหารในปริมาณมากขึ้น และเสริมการทำงานของเอนไซม์ที่ช่วยย่อยสารอาหารจำพวกโปรตีน เช่น โปรตีนจากเนื้อสัตว์ รวมทั้งช่วยเสริมระดับการหลั่งของกรดไฮโดรคลอลิก ซึ่งมีหน้าที่ช่วยย่อยอาหารจำพวกโปรตีนในกระเพาะโดยเฉพาะ นอกจากนี้ กระเทียมยังอุดมไปด้วยใยอาหาร วิตามินบี 1 วิตามินซี และมีกลิ่นเฉพาะตัว ซึ่งช่วยเพิ่มความอยากอาหารสำหรับผู้ที่ไม่เจริญอาหารอีกด้วย

2. ฤทธิ์ในการปกป้องการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดทั่วไป
กระเทียมสามารถช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลและไขมันชนิดไม่ดีที่ร่างกายไม่ต้องการคือ LDL (Low Density Lipoprotein) ในกระแสเลือด และช่วยเพิ่มปริมาณไขมันชนิดดีคือ HDL (High Density Lipoprotein) ในกระแสเลือด เพื่อใช้ในการเก็บโคเลสเตอรอลที่ตกค้างตามส่วนต่างๆ ของร่างกายไปทำลายที่ตับ

3. ฤทธิ์ในการต่อต้านการเกิดเซลล์มะเร็ง
กระเทียมออกฤทธิ์ในการต่อต้านการเกิดเซลล์มะเร็ง โดยไปกดการแบ่งตัวและการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งในอวัยวะต่างๆ สารสกัดจากกระเทียมสามารถลดพิษที่เกิดจากผลข้างเคียงเนื่องจากการใช้ยาต้านมะเร็ง เช่น ยาไซโคฟอสฟาไมด์ ซึ่งเป็นยาเคมีบำบัดชนิดหนึ่งที่ใช้ในการต่อต้านการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งในทางการแพทย์

4. กระเทียมช่วยเสริมการทำงานของอวัยวะต่างๆ
เมื่อคุณรับประทานกระเทียมสด สารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ไดอัลริลซัลไฟด์จากกระเทียมจะระเหยออกมา เมื่อสูดไอระเหยนี้เข้าสู่ปอดสามารถออกฤทธิ์เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียอย่างอ่อน และช่วยลดการอักเสบในเนื้อเยื่อต่างๆ นอกจากนี้ยังออกฤทธิ์ผ่านไปยังกระเพาะอาหารเพื่อช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดที่มาหล่อเลี้ยงกระเพาะอาหาร ทำให้ลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อเนื่องจากอาหารไม่ย่อยได้อีกด้วย

5. ฤทธิ์ต้านการอักเสบ

กระเทียมออกฤทธิ์ต้านการอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัสบางชนิด นอกจากนี้ การบริโภคกระเทียมยังมีส่วนช่วยป้องกันโรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ได้


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ปลาหมึกแห้ง ปนเปื้อนแคดเมียมเกินมาตรฐาน
ปลาหมึกแห้ง ปนเปื้อนแคดเมียมเกินมาตรฐาน
ปลาหมึกแห้ง ปนเปื้อนแคดเมียมเกินมาตรฐาน
ศูนย์ทดสอบฉลาดซื้อ สุ่มตรวจปลาหมึกแห้ง จำนวน 13 ตัวอย่าง ไม่พบสารพิษจากเชื้อราอะฟลาทอกซินและการตกค้างของยาฆ่าแมลง แต่พบแคดเมียมปนเปื้อนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานอาหาร แนะบริโภคพอเหมาะ ไม่บ่อยครั้งจนเกินไป

วันนี้ (31 กรกฎาคม 2563) ศูนย์ทดสอบฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ภายใต้โครงการสนับสนุนการเฝ้าระวังสินค้าและบริการเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เผยผลทดสอบ การสุ่มเก็บตัวอย่างปลาหมึกแห้ง จำนวน 13 ตัวอย่าง จากตลาดสด ร้านค้า และห้างออนไลน์ เมื่อเดือน ก.พ.- มี.ค. 2563 ส่งห้องปฏิบัติการมาตรฐานตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อรา การตกค้างของสารเคมีทางการเกษตรในกลุ่มไพรีทอยด์ ปริมาณโซเดียม และโลหะหนัก (ปรอท ตะกั่ว และแคดเมียม)

โดยผลการตรวจวิเคราะห์ ไม่พบการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อรา Aflatoxin B1_ B2_ G1_ G2 และ Total Aflatoxin และ การตกค้างของสารเคมีทางการเกษตรกลุ่มไพรีทอยด์ (Pesticides Pyrethroid)

ส่วนผลทดสอบการปนเปื้อนของตะกั่วและปรอท ในปลาหมึกแห้งที่นำมาทดสอบนั้น ทุกตัวอย่างไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ยกเว้นผลทดสอบแคดเมียม พบว่า ปลาหมึกแห้ง จำนวน 7 ตัวอย่าง ที่ส่งตรวจมีการปนเปื้อนของแคดเมียมเกินเกณฑ์มาตรฐาน ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กำหนดปริมาณการปนเปื้อนสูงสุดของแคดเมียมในอาหารบางชนิด สอดคล้องกับมาตรฐานโคเด็ก (Codex) ซึ่งกำหนดไว้ว่าต้องไม่เกิน 2 มิลลิกรัม ต่อ อาหาร 1 กิโลกรัม

ทั้งนี้ ผลทดสอบค่าเฉลี่ยปริมาณโซเดียมจากหมึกแห้ง 13 ตัวอย่าง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1_097.27 มิลลิกรัม / 100 กรัม (1 ขีด) สารอาหารที่แนะนำให้บริโภคประจำวันสำหรับคนไทย ตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป (Thai RDI) แนะนำให้บริโภคโซเดียมไม่เกินวันละ 2_000 mg โซเดียมที่เราจะได้รับในแต่ละวันขึ้นอยู่กับอาหารที่เรารับประทาน โดยอาหารจานเดียวที่เรารับประทานมีโซเดียมตั้งแต่ ประมาณ 360 – 1_600 mg ดังนั้น การรับประทานที่เหมาะสม ควรจะคำนึงถึงปริมาณโซเดียมที่จะได้รับจากปลาหมึกแห้งข้างต้น ( 200 mg/20 g ) ร่วมกับปริมาณโซเดียมในอาหารอื่นที่เรารับประทานร่วมด้วยในแต่ละวันด้วย

อย่างไรก็ตาม อาหารทะเล เช่น หมึกแห้ง ไม่อาจเลี่ยงการพบโลหะหนักปนเปื้อน เนื่องจากเป็นการตกค้างจากสภาพแวดล้อมทางทะเลที่ยากต่อการจัดการ ดังนั้น สิ่งที่ผู้บริโภคจะทำได้ ก็คือ การเลือกบริโภคหมึกแห้งอย่างพอเหมาะ ไม่บ่อยครั้งจนเกินไป เพื่อป้องกันไม่ให้โลหะหนักสะสมในร่างกาย


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
เซ็นทรัลแล็บ ชวนผู้ประกอบการอาหาร ยา เครื่องสำอาง ตรวจรับรองคุณภาพสินค้า เรียกความเชื่อมั่นผู้บริโภค
เซ็นทรัลแล็บ ชวนผู้ประกอบการอาหาร ยา เครื่องสำอาง ตรวจรับรองคุณภาพสินค้า เรียกความเชื่อมั่นผู้บริโภค
บริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด เตรียมเปิดศูนย์บริการรับตัวอย่างแห่งใหม่ เพื่อรอบรับงานบริการของผู้ประกอบการตั้งแต่ระดับ SMEs วิสาหกิจชุมชน และภาคการส่งออกตามหลักมาตรฐานสากล

วันที่ 17 มิ.ย.62 นายนราวิทย์ เปาอินทร์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ เซ็นทรัลแล็บไทย กล่าวใน งานวันคล้ายวันสถาปนาบริษัท ครบรอบปีที่ 16 โดยมีแคมเปญ เซ็นทรัลแล็บไทย 17-17 Delivery ส่งง่าย รับเร็ว ลูกค้าพึงใจ โดยกำหนดทิศทางการดำเนินงานในช่วงที่จะก้าวสู่ปีที่ 17 ที่จะเตรียมการขยายความร่วมมือ กับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐภาคเอกชน โดยที่ผ่านได้ให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพสินค้าให้กับประชาชนในทุกมิติ ทั้งอาหาร ยา เครื่องอำอาง ฯลฯ

โดยจะเริ่มเปิดศูนย์บริการรับตัวอย่างมาตรวจสอบ แห่งใหม่อย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม ที่ จ.สุราษฏร์ธานี เพื่อเป็นศูนย์รองรับการให้บริการในพื้นที่จังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน และให้บริการคำแนะนำ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจทดสอบมาตรฐานสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน การฝึกอบรมทางห้องปฏิบัติการ และการสอบเทียบเครื่องมือ

ด้านนายอารยะ โรจนวณิชชากร ที่ปรึกษาสำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. กล่าวว่า การรับรองมาตรฐานและคุณภาพ ในสินค้ามีความสำคัญมา โดยเฉพาะ อาหาร ยา และเครื่องสำอาง โดยทาง อย. มีข้อกำหนดไว้ว่า ผู้ประกอบการที่จะขอขึ้นทะเบียนกับ อย. ทุกราย จะต้องนำผลิตภัณฑ์ ไปตรวจสอบกับแล็บต่างๆ ที่ได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพื่อตรวจรับรองคุณภาพ โดยเฉพาะการยืดอายุผลิตภัณฑ์ มีความจำเป็นอย่างมาก ที่ต้องผ่านการตรวจวิเคราะห์จากแล็บ ว่าผลิตภัณฑ์มีอายุนายเท่าไหร่ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายและสร้างความน่าเชื่อถือให้กับผลิตภัณฑ์อีกด้วย ซึ่งเซ็นทรัลแล็บไทย ก็เป็นหน่วยงานวิเคราะห์ตรวจสอบผลิตภัณฑ์แห่งหนึ่ง ที่ อย.ให้การรับรอง และมีมาตรฐานสากล


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
เทรนด์สุดฮอตของสายกรีนที่ต้องจับตา...เครื่องสำอางออร์แกนิค...
เทรนด์สุดฮอตของสายกรีนที่ต้องจับตา...เครื่องสำอางออร์แกนิค...
เครื่องสำอางออร์แกนิค เทรนด์สุดฮอตของสายกรีนที่ต้องจับตา

ผู้บริโภคปัจจุบันมีความใส่ใจในสุขภาพและความปลอดภัยมากขึ้น ผนวกกับกระแส ECO (Ecology) และ LOHAS (Lifestyles of Health & Sustainability) ที่กำลังอยู่ในเทรนด์ ทำให้มีความสนใจและความต้องการสินค้าประเภทออร์แกนิค และการใช้ชีวิตด้วยสินค้าออร์แกนิค (Organic Life Style) มากขึ้นและอยู่ในกระแสอย่างต่อเนื่อง จากผลการวิจัยใหม่ของ Orbis สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฯ คาดว่าในปี 2562-2566 ตลาดสินค้าความงามทั่วโลกทะยานพุ่งทะลุ 28 ล้านล้านบาท เติบโต 7.14% และจับตาตลาดจีนโต 2 เท่าตัว เทรนด์ที่มาแรงก็คือ ความงามแบบธรรมชาติ ปัจจุบันมีสินค้าหลายแบรนด์ตั้งแต่สินค้าอาหาร เสื้อผ้า ข้าวของ เครื่องใช้ รวมไปถึงสินค้า เครื่องสําอางออร์แกนิค เพราะใช้วัตถุดิบส่วนผสมที่มาจากธรรมชาติและปลอดภัยต่อผู้บริโภค หรือนำมารีไซเคิลย่อยสลายได้ง่าย ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม

ความต่างของผลิตภัณฑ์ออร์แกนิค (Organic Product) VS ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product)
ที่ผ่านมาหลายคนมักเข้าใจผิดในความแตกต่างระหว่างผลิตภัณฑ์ออร์แกนิค (Organic) กับผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product) จริงๆแล้วผลิตภัณฑ์ออร์แกนิค(Organic) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพื้นฐานอันแท้จริงของธรรมชาติ ไม่มีการปรุงแต่งหรือปนเปื้อนของสารสังเคราะห์ที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีหรือสารเคมีซึ่งมีอันตรายแอบแฝง ใช้วัตถุดิบและส่วนผสมในกระบวนการผลิตจากผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ไม่มีการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในการผลิต

เริ่มตั้งแต่แหล่งเพาะปลูกวัตถุดิบ วิธีการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การบรรจุหีบห่อ การขนส่ง การแปรรูปและการนำไปใช้ และท้ายสุดผลิตภัณฑ์ต้องผ่านการรับรองมาตรฐานโดยองค์กรที่แต่งตั้งขึ้นโดยรัฐบาลของแต่ละประเทศ เป็นการออกใบรับรองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหรือสปาออร์แกนิคที่ผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product) เป็นเพียงส่วนหนึ่งของผลิตผลที่ได้จากธรรมชาติเท่านั้น

นอกจากนั้นยังมีคําเรียกสินค้าที่คล้ายคลึงกันอื่นๆ ได้แก่ Botanical Cosmetics หมายถึง เครื่องสําอางที่มีส่วนผสมที่เป็นพืช โดยเป็นพืชอินทรีย์หรือไม่ก็ตาม และอาจมีส่วนผสมมาจากพืชทั้งหมด 100% หรือมีส่วนผสมหลักบางส่วนที่มาจากพืชก็ได้ ความแตกต่างกับ Natural Cosmetics คือ Natural Cosmetics อาจมีส่วนผสมที่ไม่ใช่พืช เช่น น้ำผึ้ง น้ำมันม้า (horse oil) ฯลฯ ก็ได้

เครื่องสำอางออร์แกนิค คืออะไร ?

เครื่องสำอางออร์แกนิคก็มีความหมายตรงตัวว่า เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่มีการเจือปนสารเคมีเข้าไปหรือเจือปนในปริมาณที่น้อยมากไม่เกิน 10% และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากธรรมชาติ จึงปลอดภัยต่อร่างกาย อ่อนโยนต่อทุกสภาพผิว และยังมีจุดเด่นด้วยคุณสมบัติที่ ปราศจากสารพาราเบน (Paraben Free) ซึ่งเป็นสารเคมีประเภทหนึ่งที่ใช้เป็นสารกันบูดในผลิตภัณฑ์ต่างๆ และมีงานวิจัยที่ระบุไว้ว่า สารพาราเบนสังเคราะห์ คือสารก่อมะเร็งชนิดหนึ่งถือเป็นการลดปัจจัยความเสี่ยงในการก่อมะเร็งลงได้ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสำหรับผิวแพ้ง่าย (Sensitive skin) จากการปราศสารเคมี หรือ มีในปริมาณที่น้อยมาก จึงไม่มีสารที่เป็นอันตรายตกค้างตามผิวหนัง ปลอดภัยต่อสุขภาพผู้ใช้ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิว สามารถใช้บ่อยได้ตามต้องการ ก็ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผิวหนัง

แนวโน้มความต้องการสินค้าออร์แกนิคกำลังสูงขึ้นเรื่อยๆควบคู่ไปกับกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จึงเป็นโอกาสที่ดีของผู้ประกอบการธุรกิจความงามที่จะจับกระแสนี้ และนำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อโอกาสเติบโตทางธุรกิจต่อไป


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
3505 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 350 หน้า, หน้าที่ 351 มี 5 รายการ
|-Page 214 of 351-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ป้องกันแลำกำจัดด้วยไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชือรา และ ปุ๋ย FK1
Update: 2563/06/26 11:26:10 - Views: 3149
การป้องกันและกำจัดโรค ยางตายยอด ยางยอดแห้ง ใบแห้ง ตายจากยอด หรือโรค ดายแบ็ค ในยางพารา
Update: 2566/03/06 11:56:27 - Views: 3094
กำจัดหนอนเจาะผล ศัตรูพืชในต้นทุเรียน AiKi-BT ฟื้อนฟูจากการเข้าทำลายของหนอน FK-T อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ โดย FK
Update: 2566/05/25 12:37:31 - Views: 3116
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน ลองกอง และพืช ทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/23 11:12:36 - Views: 3009
มะยงชิดใบไหม้ มะปรางใบไหม้ ใบจุด ราสนิม แอนแทรคโนส โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/15 23:25:03 - Views: 3415
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคราสีชมพู โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/24 13:59:05 - Views: 2989
ชุดเร่งผลมะพร้าว ปุ๋ยมะพร้าว เพิ่มขนาด น้ำหนัก คุณภาพ ให้ ธาตุ โพแทสเซียม มากถึง 40% สำหรับเร่งผลโดยเฉพาะ
Update: 2565/02/06 06:03:02 - Views: 2989
กำจัดโรคราแป้ง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน สารอินทรีย์ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 11:00:04 - Views: 3129
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
Update: 2566/11/04 09:56:30 - Views: 7758
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคผลเน่า โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/24 14:47:09 - Views: 3027
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะกิ่งสีแดง ใน ลำไย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/10 12:49:42 - Views: 3284
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกต้นหม่อน ช่วยให้ผลหม่อนมีคุณภาพดี เพิ่มผลผลิต และเพิ่มรายได้
Update: 2567/03/11 10:54:41 - Views: 108
ฮิวมิค แอซิด: สารออกฤทธิ์ที่พัฒนาดินและเพิ่มผลผลิตในการปลูกมันเทศ
Update: 2567/02/13 09:35:13 - Views: 120
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคใบติด โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/24 15:30:39 - Views: 3090
คู่มืองป้องกันและกำจัดโรคในลำไย โรคราต่างๆ ใบไหม้ ราแป้ง ราสนิม กิ่งแห้ง และราอื่นๆ
Update: 2566/04/30 08:55:27 - Views: 16335
โรคใบติดทุเรียน ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ โรคทุเรียน ที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส จาก FK
Update: 2565/06/18 06:04:06 - Views: 3013
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคไฟทอปธอรา โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/25 10:10:01 - Views: 2995
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้ง ศัตรูพืชสำหรับต้นลำไย
Update: 2567/02/26 10:23:51 - Views: 117
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มะม่วง ผลดก ผลใหญ่ น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:30:10 - Views: 3042
ดูแลต้นทุเรียน กำจัดโรคแอนแทรคโนส โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นทุเรียน ไอเอส และ FK-Tธรรมชาตินิยม คู่หูดูแลต้นทุเรียน โดย FK
Update: 2566/05/25 10:46:20 - Views: 2980
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022