<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

พืชเศรษฐกิจ ทานตะวัน ที่มากกว่าความสวยงาม !!

172.68.254.14 2565/11/14 14:52:09 , View: 3410, e
พืชเศรษฐกิจ ทานตะวัน ที่มากกว่าความสวยงาม !!

จากสภาพความเสื่อมโทรมและการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ที่ได้สร้างความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตร โดยเฉพาะข้าวโพด ทั้งด้านราคา ปริมาณ และคุณภาพที่ลดลงเกือบทุกๆ ปี ทำให้เกษตรกรในหลายพื้นที่หันมาปลูกพืชเสริมอย่างทานตะวันหลังเก็บเกี่ยวพืชหลัก จนทานตะวันกลายเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับพี่น้องเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีและพื้นที่ใกล้เคียงได้เป็นอย่างดี

นอกจากทานตะวันจะสามารถสร้างรายได้ให้กับพี่น้องเกษตรกรแล้ว ความสวยงามของทุ่งดอกทานตะวันที่ชูช่อบานสะพรั่งสู้กับพระอาทิตย์ในหลายๆ พื้นที่ ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเที่ยวชมจนเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของจังหวัดลพบุรีจนทุกวันนี้

ทุ่งดอกทานตะวัน จังหวัดลพบุรี เป็นแห่งแรกที่ได้รับการโปรโมตให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวอันดับต้นๆ ของประเทศ ซึ่งมีแหล่งปลูกจะกระจายอยู่ทั่วไปในเขตอำเภอเมือง อำเภอพัฒนานิคม อำเภอชัยบาดาล ในทุกปีดอกทานตะวันจะบานสะพรั่งดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาเที่ยวชมกันเป็นจำนวนมาก

ทานตะวันเป็นพืชทนแล้งที่เกษตรกรนิยมปลูกหลังจากข้าวโพด เมล็ดทานตะวันจะมีสารอาหารที่มีคุณค่า นิยมใช้สกัดทำน้ำมันปรุงอาหารหรืออบแห้ง เพื่อรับประทานหรือใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอาง และนอกจากนี้ ยังสามารถนำมาเลี้ยงผึ้งและเก็บเอาน้ำหวานจากรังผึ้งที่สร้างจากเกสรดอกทานตะวันเป็นรายได้เสริมอีกทางหนึ่ง

ต้นทานตะวันเริ่มออกดอก
คุณดาหวัน ห้องกระจก อยู่บ้านเลขที่ 57 หมู่ที่ 9 ตำบลโคกตูม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี เป็นเกษตรกรคนหนึ่งที่ปลูกทานตะวันเสริมจากพืชหลัก ในทุกปีช่วงเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม หลังจากปลูกและเก็บเกี่ยวข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คุณดาหวันจะปรับพื้นที่และเตรียมดินเพื่อปลูกพืชรุ่นที่สองอย่างทานตะวันบนพื้นที่ 280 ไร่

การมองหาพืชรุ่นที่สองมาปลูกต่อจากพืชหลักในช่วงนั้นหาได้ยาก เพราะด้วยข้อจำกัดของสภาพแวดล้อมและสภาพพื้นที่ แหล่งน้ำ อีกทั้งกำลังแรงงานที่ใช้ในการดูแลก็มีน้อย ทำให้พืชที่จะนำมาปลูกได้ในตอนนั้นต้องเป็นพืชที่ไม่ต้องดูแลมาก

คุณดาหวัน เล่าให้ฟังว่า ตนเองเป็นเกษตรกรยึดอาชีพเกษตรกรรมมาตั้งแต่รุ่นพ่อแม่ พืชที่ปลูกคือข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พอหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวโพดแล้วก็ไม่ได้ปลูกพืชอะไรต่อ ทำให้พื้นที่ก็ว่างเปล่าอยู่หลายเดือนกว่าฤดูกาลปลูกข้าวโพดจะมาถึง ทำให้ต้องหาพืชรุ่นสองมาปลูกต่อจากข้าวโพด

ครั้นจะปลูกอ้อยกับมันก็ไม่มีความรู้ในการดูแล มีเพียงแต่ทานตะวันที่เห็นเพื่อนเกษตรกรด้วยกันนำเข้ามาปลูกในพื้นที่และได้เข้ามาแนะนำให้ปลูกในทุกๆ ปีของเดือนตุลาคมหลังจากที่เก็บเกี่ยวข้าวโพดแล้ว

เริ่มรายแรก ปลูกเป็นเครือข่าย

หลังจากที่ได้รับคำแนะนำและเรียนรู้การปลูกและการดูแลทานตะวันจากเพื่อนแล้ว หลังเก็บเกี่ยวข้าวโพดเสร็จคุณดาหวันก็ตัดสินใจนำทานตะวันมาปลูกในพื้นที่เป็นรายแรกๆ ของชุมชน หลังจากที่ได้เห็นและเรียนรู้จากการได้เห็นและสัมผัสมา

การเตรียมพื้นที่ปลูก อันดับแรกเราจะใช้รถไถผาล 2 ไถก่อนครั้งแรก พอไถเสร็จเรียบร้อยก็จะหว่านเมล็ดพันธุ์ และสำหรับการหว่านเมล็ดพันธุ์นั้นเราจะต้องหว่านเผื่อไว้เพื่อป้องกันเมล็ดพันธุ์ไปตกติดอยู่ในลำต้นข้าวโพดที่ไถไปกับดิน ซึ่งจะทำให้เมล็ดไม่สามารถงอกได้ ทำให้เราต้องหว่านเผื่อไว้ ซึ่งวิธีนี้เราจะต้องใช้เมล็ดพันธุ์ในการหว่านโดยประมาณ 1.3-1.5 กิโลกรัม ต่อไร่

แต่ถ้าหากมีเวลาในการเตรียมพื้นที่เพาะปลูก จะใช้วิธีการหยอดลงหลุมโดยวิธีนี้จะต้องเตรียมพื้นที่ปลูกให้เป็นแถวก่อน หลังจากนั้น ก็จะใช้รถไถเล็กหยอดเมล็ดพันธุ์ลงไป 1-2 เมล็ด ต่อหลุม ซึ่งการปลูกวิธีนี้จะทำให้ต้นทานตะวันขึ้นตรงกันเป็นแถว ดูเรียบร้อย และที่สำคัญวิธีการหยอดลงหลุมจะใช้เมล็ดพันธุ์เพียง 8 ขีด ต่อไร่ ซึ่งน้อยกว่าการหว่าน

พันธุ์ทานตะวันที่ปลูกเป็นพันธุ์อาร์ตูเอล เป็นพันธุ์ที่มีน้ำหนักดี แต่ให้น้ำมันน้อย แต่ที่ผ่านมาจะปลูกพันธุ์จัมโบ้ ซึ่งจะให้ปริมาณน้ำมันเยอะกว่าสายพันธุ์อื่นที่ปลูกมา แต่สำหรับปีนี้ได้รับแจกเมล็ดพันธุ์จากหน่วยงานของรัฐจึงนำมาปลูก ทำให้สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ทางหนึ่ง เพราะแต่ละปีการปลูกทานตะวันแต่ละรอบนั้นจะต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ที่มีราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 400 บาทใหม่ทุกครั้ง เพราะเราไม่สามารถเก็บเมล็ดจากต้นมาทำเป็นพันธุ์ปลูกต่อได้ คุณดาหวัน กล่าว

ดูแลให้ปุ๋ย ผลผลิตงดงาม

คุณดาหวัน เล่าต่อว่า หลังจากที่ปลูกจนต้นทานตะวันเจริญเติบโตขึ้นมาระยะหนึ่งแล้วก็จะให้ปุ๋ยทางใบเสริม แต่หากช่วงที่ไม่มีเวลาก็ปล่อยให้ธรรมชาติดูแลเอง

ส่วนเรื่องการดูแลทานตะวันนั้น คุณดาหวัน บอกว่า มีการดูแลที่เหมือนกันทุกๆ สายพันธุ์ หากได้รับน้ำในปริมาณที่พอดี ก็จะทำให้ดอกและต้นสวยสมบูรณ์ดี แต่หากได้น้ำมากจนเกินไป ก็จะทำให้ต้นแคระแกร็น ซึ่งตั้งแต่ที่ปลูกมาก็ไม่พบปัญหาอะไรที่รุนแรง โรคและแมลงก็มีน้อย

ทานตะวันจะใช้ระยะเวลาประมาณ 60-65 วัน โดยเฉลี่ยในการสร้างลำต้น ดอก จนสมบูรณ์ถึงจะเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยใช้แรงงานคนหรือเครื่องจักรกล ซึ่งที่นิยมใช้จะเป็นเครื่องจักรกลมากกว่าแรงงานคน เพราะว่าเครื่องจักรกลในขณะที่เก็บเกี่ยวอยู่นั้น เครื่องก็จะทำการสีไปพร้อมๆ กัน เราไม่ต้องนำดอกทานตะวันไปผ่านกระบวนการสีอีกครั้ง แต่สำหรับแรงงานคนเราต้องนำดอกทานตะวันที่เก็บไปผ่านกระบวนการสีอีกครั้งหนึ่งถึงจะนำไปสกัดเป็นน้ำมัน ซึ่งต้องเสียเงินทั้งจ้างแรงงานและจ้างสี ทำให้ต้นทุนการผลิตสูง

ปริมาณผลผลิตที่ได้ของดอกทานตะวันอยู่ที่ 250 กิโลกรัม ต่อไร่ จำหน่ายออกไปกิโลกรัมละ 16-17 บาท ซึ่งหากพูดถึงกำไรก็จะได้ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ถ้าหากน้ำดี ไม่มีโรคแมลงที่ยากที่จะแก้ไข ไม่พบกับปัญหาภัยธรรมชาติ แต่หากปีไหนที่มีปัญหาก็จะได้กำไรลงน้อยลง ขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

วันนี้ทานตะวันมีน้อยลงทุกปี เนื่องจากเกษตรกรเริ่มหันไปสนใจกับมันสำปะหลัง อ้อย และปลูกข้าวโพดรุ่นสองซึ่งมีผลตอบแทนที่ดีกว่าทานตะวัน คุณดาหวัน กล่าวทิ้งท้าย


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..


สนใจสั่งซื้อสินค้า
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset



โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ ร้าน..., Thursday 12 December 2024 13:19:29, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ปัญญ..., Thursday 12 December 2024 13:18:41, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ กนกพ..., Thursday 12 December 2024 13:17:33, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Nu, Thursday 12 December 2024 13:16:30, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สริม..., Thursday 12 December 2024 13:15:17, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประท..., Thursday 12 December 2024 13:05:41, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ หจก...., Thursday 12 December 2024 13:04:30, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ พรชั..., Thursday 12 December 2024 13:03:14, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Pop, Thursday 12 December 2024 13:02:02, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สำรอ..., Thursday 12 December 2024 13:00:43, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
มะเขือเทศ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/28 15:42:59 - Views: 3485
เสาวรส โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ น้ำหนักดี ฉีดพ่นปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/04/04 10:30:54 - Views: 3452
ดูแลมังคุดให้ได้ผลผลิตสูง ตลอดช่วงอายุ
Update: 2567/11/04 17:25:18 - Views: 45
หนอนใยผัก หนอนกระทู้หอม แมลงศัตรู ที่สําคัญ พืชตระกูลกะหล่ำ และการป้องกันกําจัด
Update: 2564/03/10 22:17:18 - Views: 3504
ผักอินทรีย์ นครปฐม โครงการสามพรานโมเดล
Update: 2557/08/18 14:26:32 - Views: 3466
กำจัด โรคราสีชมพู ในต้นทุเรียน แก้ปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์คุณภาพสูง จาก FK ขนาด 250 ซีซี
Update: 2566/05/23 12:03:42 - Views: 3463
น้อยหน่า ใบไหม้ ใบจุด โรคแอนแทรคโนส รากเน่า ผลเน่า โรคมัมมี่ โรคราต่างๆ กำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟูด้วย ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/04 11:50:56 - Views: 3516
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในข้าวโพด และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/26 12:36:52 - Views: 3521
ปุ๋ยสำหรับทับทิม ปุ๋ยน้ำทับทิม ปุ๋ยทับทิม ปุ๋ยฉีดพ่นทับทิม ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/12 23:31:48 - Views: 3484
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราแป้ง ใน เงาะ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/06 14:48:49 - Views: 3465
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ช่วงนี้เข้าฤดูทำนาแล้ว ปุ๋ยและยาแก้โรคข้าว โรคเน่าคอรวง ยาแก้เพลี้ย ติดต่อเราได้เลยนะคะ
Update: 2563/06/07 23:19:47 - Views: 3415
การควบคุมโรคเชื้อราใน แตงกวา อย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 10:53:41 - Views: 3401
3 หลักปฏิบัติ กำจัด โรคใบด่างมันสำปะหลัง โดย กรมส่งเสริมการเกษตร
Update: 2563/06/15 10:14:35 - Views: 3426
ผักชีใบไหม้ ใบเหลือง ใบจุด โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/08 04:04:35 - Views: 4045
เยี่ยมไร่อ้อยของท่านนายกสมาคมชาวไร่อ้อยมุกดาหาร
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3448
การจัดการเพลี้ยในสวนส้มโอ: วิธีการป้องกันและกำจัดเพลี้ยเพื่อสุขภาพและผลผลิตที่ยั่งยืน
Update: 2566/11/21 10:23:11 - Views: 3467
ควบคุมวัชพืชในสวนถั่วฝักยาวด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:12:55 - Views: 3441
การควบคุมวัชพืชในสวนพุทราด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:18:18 - Views: 3484
พลังของสารประกอบอินทรีย์ IS และ FK-1 ในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะละกอ
Update: 2566/02/09 12:55:45 - Views: 3419
อโวคาโด โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/04 15:53:17 - Views: 3465
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022