[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - เพิ่มผลผลิต
885 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 88 หน้า, หน้าที่ 89 มี 5 รายการ

โรคราดำกาแฟ มีต้นเหตุจาก เพลี้ย และ เชื้อราสาเหตุ แคบโนเดียม ใช้ มาคา + ไอเอส + FK-1
โรคราดำกาแฟ มีต้นเหตุจาก เพลี้ย และ เชื้อราสาเหตุ แคบโนเดียม ใช้ มาคา + ไอเอส + FK-1
โรคราดำกาแฟ เชื้อราสาเหตุ Capnodium spl. มีคราบเขม่าดำ ปกคลุม ใบ กิ่ง ช่อดอก หากเป็นที่ช่อดอกรุนแรง ส่งผลให้ดอกร่วง ผสมเกสรไม่ได้ ไม่ติดผล ผลผลิตจึงลดลงเป็นอย่างมาก

ลักษณะอาการที่พบ แมลงพวกปากดูดถ่ายน้ำหวานมาปกคลุมส่วนต่าง ๆ ของต้นกาแฟ เชื้อราที่อยู่ในอากาศจะปลิวมาขึ้นบนส่วนที่มีน้ำหวานสีดำของเชื้อราขึ้นปกคลุมใบ กิ่ง ช่อดอก ทำให้เห็นเป็นคราบสีดำคล้ายเขม่า บนใบที่ถูกเคลือบด้วยแผ่นคราบดำของเชื้อ อาการที่ปรากฏที่ช่อดอกถ้าเป็นรุนแรงทำให้ดอกร่วงไม่สามารถผสมเกสรได้

ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด ซึ่งเป็นพาหะของโรค ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด

ป้องกันกำจัด โรคราดำกาแฟ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เชื้อราสาเหตุ Colletotrichum coffeanum ทำให้ใบเหลือง ผลแห้ง ผลผลิตเสียหาย #โรคแอนแทรคโนสกาแฟ #กาแฟผลแห้ง #กาแฟใบเหลือง

ลักษณะอาการที่พบ เกิดได้ทั้งในส่วนของใบ กิ่ง และผล พบจุดลึกสีน้ำตาลเข้ม จากนั้นจะแห้งและเปลี่ยนเป็นสีดำ หากเกิดที่ใบจะทำให้ใบเหลืองและมีแผลแห้ง

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสกาแฟ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมกาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมกาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมกาแฟ (Coffee Leaf Rust) เกิดจากเชื้อรา Helmileia vastatrix หากเป็นรุนแรง ใบร่วงเกือบหมดทั้งต้น #โรคราสนิมกาแฟ #กาแฟใบร่วง

ลักษณะอาการที่พบ พบทั้งในระยะที่เป็นต้นกล้าและต้นโตในแปลง ลักษณะอาการครั้งแรกจะเห็นเป็นจุดสีเหลืองบริเวณด้านในของใบและเกิดกับใบแก่ก่อน จุดสีเหลืองบนใบจะขยายโตขึ้นเรื่อย ๆ สีของแผลจะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีส้มหรือสีส้ม ใบร่วง และกิ่งแห้งในเวลาต่อมา ต้นที่เป็นโรครุนแรงใบจะร่วงเกือบหมดต้น

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมกาแฟ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมกาแฟ โรครากาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมกาแฟ โรครากาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Helmileia vastatrix ทำความเสียหายร้ายแรงแก่กาแฟอาราบิก้ามานานกว่าร้อยปี

ลักษณะอาการของโรค

โรคราสนิมสามารถเกิดกับใบกาแฟพันธุ์อาราบิก้าทั้งใบแก่และใบอ่อน ทั้งในระยะที่เป็นต้นกล้าในเรือนเพาะชำและต้นโตในแปลง ลักษณะอาการครั้งแรกจะเห็นเป็นจุดสีเหลืองเล็กๆ ขนาด 3 ถึง 4 มิลลิเมตรบริเวณด้านในของใบ และมักจะเกิดกับใบแก่ก่อน จุดสีเหลืองบนใบจะขยายโตขึ้นเรื่อยๆ สีของแผลจะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีส้มหรือสีส้มแก่ เมื่ออายุมากขึ้นสีบนแผลจะมีผงสีส้ม ซึ่งเป็นยูรีโดสปอร์ของเชื้อรา บริเวณด้านบนของใบซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจุดที่เป็นโรค จากนั้นใบกาแฟพันธุ์อาราบิก้าจะร่วง ต้นโกร๋น และกิ่งจะแห้งในเวลาต่อมา ต้นที่เป็นโรครุนแรงใบจะร่วงเกือบหมดต้น

ป้องกันกำจัด โรคราสนิม โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมข้าวโพด ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมข้าวโพด ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมที่เกิดจากเชื้อ Puccinia polysora Underw พบครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาโดย Underwood โดยเข้าทำลายพืชที่มีพันธุกรรมใกล้เคียงกับข้าวโพดคือ Tripsacum dactyloides ในรัฐอลาบามา สหรัฐอเมริกา ต่อมาพบในพืช Erianthus ซึ่งเป็นพืชตระกูลหญ้าซึ่งมีพันธุกรรมใกล้เคียงกับอ้อย ส่วนการเข้าทำลายข้าวโพดครั้งแรกรายงานโดย Cummins ( Orian_ 1954; Ullstrup_ 1950) โรคราสนิมที่เกิดจากเชื้อรา P. polysora ระบาดแพร่หลายในเขตร้อนชื้น (tropical) และกึ่งร้อนชื้น (subtropical) ในปี ค.ศ. 1949 พบการระบาดที่อัฟริกา (Robinson_ 1973) ปี 1949 เริ่มระบาดแถบ corn belt หลังจากนั้นเริ่มกระจายออกไปในหลายพื้นที่ปลูก สำหรับประเทศไทยโรคราสนิมมีความสำคัญยิ่งโรคหนึ่ง มีรายงานการระบาดของโรคราสนิม ในปี พ.ศ. 2527 โดยสร้างความเสียหายให้กับข้าวโพดในท้องที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (อุดม_ 2529) นอกจากนี้ยังพบการระบาดในพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวโพดอย่างต่อเนื่อง เช่น การปลูกข้าวโพดหวานเพื่ออุตสาหกรรม อีกประการหนึ่งคือการกระจายของน้ำฝนไม่สม่ำเสมอ ทำให้การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีหลายฤดูปลูก จึงมีพืชอาศัยของโรคตลอดทั้งปีเป็นแหล่งแพร่เชื้อไปสู่ต้นที่ปลูกภายหลัง ปลายฤดูฝน (สิงหาคม-พฤศจิกายน) เป็นช่วงที่เกิดโรครุนแรงที่สุด (ประชุม และคณะ_ 2546) การเขตกรรมและพันธุ์ข้าวโพดที่ปลูกมีผลต่อการระบาดของโรคราสนิม (southern rust) (Futrell_ 1975) ปัจจุบันแหล่งที่พบว่ามีการระบาดของโรคอย่างรุนแรง ได้แก่ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เลย เชียงใหม่ ตาก และ สงขลา (ชุติมันต์ และเตือนใจ_ 2545)

อาการของโรค

ลักษณะอาการของโรคราสนิม (Southern rust) จะเกิดตุ่มนูนของสปอร์ (pustule) ขนาด 0.2-1.3 มิลลิเมตร ตุ่มสปอร์ของโรคราสนิมที่เกิดจากเชื้อรา P. polysora ต่างจากตุ่มสปอร์ที่เกิดจากเชื้อรา P. sorghi ทั้งขนาด รูปร่าง และสี นอกจากนี้ลักษณะแตกต่างที่สำคัญคือโรคราสนิมที่เกิดจากเชื้อรา P. polysora จะมีความรุนแรงมากกว่า สามารถทำให้ข้าวโพดแห้งตายได้ (Rodriguez-Ardon et al._ 1980) ตุ่มของสปอร์ของโรคราสนิมเกิดได้ทั้งด้านบนและด้านล่างของใบ แต่จะพบมากด้านบนของใบ โรคราสนิมสามารถเกิดได้ทุกส่วนของพืช ไม่ว่าบนใบ กาบใบ ลำต้น กาบหุ้มฝัก และช่อดอกตัวผู้ ระยะแรกตุ่มสปอร์จะมีสีน้ำตาลอ่อน ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง เมื่อตุ่มสปอร์แตกออกจะพบผงสีสนิมเหล็ก เป็นหน่วยสืบพันธุ์ของเชื้อที่เรียกว่า uredospore

ความเสียหายที่เกิดจากโรคราสนิม

เมื่อเชื้อสาเหตุโรคราสนิมเข้าทำลายข้าวโพดจะทำให้พื้นที่ใบสูญเสียการสังเคราะห์แสง เกิดอาการใบซีด (chlorosis) และใบแก่เร็วขึ้นทำให้การสร้างเมล็ดไม่สมบูรณ์จึงมีผลต่อผลผลิต ความเสียหายของผลผลิตมีมากขึ้นเมื่อข้าวโพดถูกทำลายเมื่อข้าวโพดยังเล็กและโรคราสนิมลามขึ้นไปถึงใบที่อยู่เหนือฝัก (Biswanath_ 2008) ความเสียหายของผลผลิตข้าวโพดเนื่องมาจากการทำลายของโรคราสนิมนอกจากจะขึ้นกับอาการของโรคแล้ว ยังขึ้นอยู่กับชนิดและพันธุ์ข้าวโพด ตลอดจนปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการเจริญของข้าวโพด เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความชื้นในดิน ซึ่งจะทำให้ข้าวโพดที่เป็นโรคระดับเดียวกันเป็นโรครุนแรงต่างกันได้ Pataky และ Eastburn (1993) รายงานความเสียหายในข้าวโพดหวานที่มีระดับความต้านทานแตกต่างกัน ในข้าวโพดหวานพันธุ์ต้านทานที่เป็นโรคราสนิม 1-20 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ผลผลิตลดลง 0-12 เปอร์เซ็นต์ พันธุต้านทานปานกลางที่เป็นโรค 8-30 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตจะลดลง 5-18 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์อ่อนแอปานกลางที่เป็นโรครุนแรง 15-40 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตจะลดลง 9-24 เปอร์เซ็นต์ และพันธุ์อ่อนแอที่เป็นโรครุนแรง 25-75 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตลดลง 15-45 เปอร์เซ็นต์

ป้องกันกำจัด โรคราสนิม โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้าอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมขาวเบญจมาศ [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมขาวเบญจมาศ [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
แม้ประเทศไทยตอนบนจะเข้าสู่ฤดูหนาวเต็มตัวแล้วก็ตาม แต่ด้วยสภาพอากาศที่เย็นลงและมีความชื้นสูง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศเฝ้าระวังสังเกตการระบาดของ โรคราสนิมขาว

เพราะเป็นโรคที่มักระบาดรุนแรงมากในฤดูหนาว โดยเฉพาะตามแหล่งปลูกในภาคเหนือ

อาการเริ่มแรก จะพบด้านบนใบมีจุดแผลสีเหลืองขนาดเล็ก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ขึ้น ส่วนบริเวณด้านใต้ใบในตำแหน่งเดียวกันจะพบจุดสีขาวนวลที่เป็นเชื้อราสาเหตุโรค จากนั้น แผลจะขยายใหญ่ขึ้นเป็นจุดนูนกลมสีขาวอมชมพู เมื่อเจริญเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีขาวเกิดกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ

ทำให้เนื้อใบตรงข้ามกลุ่มเชื้อราสาเหตุโรคกลายเป็นสีเหลืองและไหม้ ใบมีลักษณะพอง บิดเบี้ยว กรณีที่โรคระบาดรุนแรง จะทำให้ใบเหลือง ไหม้ แห้ง และร่วง หากพบโรคเกิดกับดอกตูม กลีบเลี้ยง และกลีบดอกจะแห้งไม่คลี่บาน

แนวทางในการป้องกันและกำจัด ให้กำจัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณใกล้เคียง ตัดแต่งใบแก่ออกเพื่อให้ต้นโปร่งมีอากาศถ่ายเทสะดวก และเกษตรกรหมั่นสำรวจตรวจดูแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคให้ตัดส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายนอกแปลงปลูก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมขาวเบญจมาศ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราสนิมหอม ราสนิมกระเทียม ราสนิมกุ่ยช่าย : RUST DISEASE [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมหอม ราสนิมกระเทียม ราสนิมกุ่ยช่าย : RUST DISEASE [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Puccinia allii Rud. ชีววิทยาของเชื้อ : พบเชื้อระยะ uredinium เกิดทั้งสองด้านของใบ มีลักษณะเป็นตุ่มนูนรีสีเหลืองสด โดย เกิดเดี่ยวๆ กระจายทั่วใบ บางครั้งเกิดติดๆ กันเป็นทางยาวใต้ชั้น epidermis ของพืช และดัน epidermis โป่งออกมา หรือดัน epidermis จนแตกออก สปอร์ (urediniospore) 1 เซลล์ เกิดบนก้านผนังบาง ไม่มีสี รูปร่างกลมหรือค่อนข้างกลมเป็นส่วนใหญ่ บางสปอร์มีรูปร่างแบบ broadly ellipsoid ขนาด 21.25-25 x 20.00-23.75 ไมครอน (เฉลี่ย 23.31 x 21.88 ไมครอน) พบเม็ด oil content อยู่ภายในสปอร์ สีอำพัน จนถึงเหลืองอ่อน ผนังสปอร์หนาเท่ากันทั้งสปอร์ และใสไม่มีสี ผิวหนังเป็นหนามแบบ echinulate ไม่เห็นจุดงอก

ลักษณะอาการ : เกิดแผลเป็นจุด หรือขีดนูนเล็กๆ สีเหลืองอมส้ม ไปตามแนวความยาวของใบ เกิดทั้ง ด้านบนใบและใต้ใบ ต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้นและแตกปริออก เห็นสปอร์สีเหลืองส้มคล้ายสนิม เกิดกระจาย ทั่วใบ ถ้าเป็นรุนแรงใบจะเหลืองและแห้งตาย นอกจากเกิดโรคบนใบแล้วยังเกิดโรคที่ก้านดอกอีกด้วย

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาดโดยสปอร์ของเชื้อราปลิวไปกับลม เข้าทำลายพืชอาศัย และมีชีวิต อยู่รอด ได้นานหลายปี โรคราสนิมจะระบาดได้ดี หากพืชอยู่ในสภาวะไม่เหมาะสมบางประการ เช่น แห้งแล้ง เกินไป หรือชื้นแฉะเกินไป พืชได้รับไนโตรเจนสูงเกินไป หรือขาดปุ๋ยโปแตสเซียมหรือปลูกพืชแน่นเกินไป โรค มักเกิดในช่วงอากาศเย็น คือปลายฤดูฝน-ฤดูหนาว

การป้องกันกำจัด :

1. เก็บเศษใบและต้นพืชที่เป็นโรคไปเผาทำลาย เพื่อขจัดแหล่งแพร่เชื้อ

2. ปรับปรุงดินด้วยปูนขาว และปุ๋ยอินทรีย์

3. ปลูกพืชอื่นที่ไม่ใช่ พืชสกุลหอมกระเทียมสลับ เพื่อลดพืชอาศัยของเชื้อรา

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมหอม ราสนิมกระเทียม ราสนิมกุ่ยช่าย โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมต้นลีลาวดี โรคราสนิมลั่นทม [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมต้นลีลาวดี โรคราสนิมลั่นทม [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
ในช่วงฤดูฝน ความช้ืนในอากาศสูง เหมาะกบัการเจริญเติบโตของเช้ือราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด ต้นลีลาวดีเป็นต้นไม้ ที่เกิดโรคราสนิมได้ง่าย ในสภาพแวดล้อมดังนี้

1. ความชื้นสูงเป็นเวลานาน

2. รับแสงแดดไม่เพียงพอ ทำให้ต้านทานต่อโรคได้ต่ำ

3. ใบหนาทึบ ไม่โปร่งแสง แดดสาดส่องไม่ถึง

4. พืชอื่นๆ บริเวณใกล้เคียง มีการระบาดของโรคราสนิม

โรคราสนิมลีลาวดี เกิดจากเชื้อสาเหตุ Coleosporium plumeriaePat.

ลักษณะอาการ พบระยะ uredinium มักพบใต้ใบมากกว่าบนใบ เป็นจุดนูนกลม สีเหลืองถึงส้ม เกิดเป็นกลุ่มกระจายทั่วไป ต่อมาจะเกิดอาการใบแห้ง ลีลาวดีใบไหม้เป็นสีน้ำตาล และร่วงหล่น

การป้องกันกำจัดโรคราสนิมลีลาวดี

1. ตัดใบที่เป็นโรคราสนิมเผาทำลาย

2. กำจัดวัดพืช ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง แดดสาดส่องถึง

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมลีลาวดี ราสนิมลั่นทม โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมข้าวโพด ราสนิมข้าวโพดฝักอ่อน ราสนิมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ : RUST DISEASE [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมข้าวโพด ราสนิมข้าวโพดฝักอ่อน ราสนิมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ : RUST DISEASE [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Puccinia polysora ชีววิทยาของเชื้อ : สปอร์ที่พบมากในต้นข้าวโพดเป็นโรคและแพร่ระบาดได้ดีคือ uredospore มีสีเหลืองทอง รูปร่างกลมรี ผนังสีเหลืองหรือสีทองบางและเป็นหนามแหลมหนา 1-1.5 ไมครอน มีรูที่กึ่งกลาง 4-5 รู เมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมจะสร้าง teliospore ในการอยู่ข้ามฤดู รูปร่างกลมหรือทรงกระบอก หัวท้ายมน ผนังเรียบ สีน้ำตาลเข้มมี 2 เซลล์ เกิดอยู่บนก้านชูสปอร์สีเหลืองหรือสีน้ำตาล ที่ยาวประมาณ ไม่เกินหนึ่งในสี่ของความยาวสปอร์ สปอร์ชนิดนี้สร้างอยู่ในแผลขนาด 0.2-0.5 มิลลิเมตร กลมหรือกลมรี สีน้ำตาลเข้มหรือดำอยู่ใต้ผิวใบ บางครั้งจะสร้างรอบๆ สปอร์แบบแรกคือ uredospore

ลักษณะอาการ : ใบข้าวโพดจะเกิดเป็นจุดนูนทั้งด้านบนใบและใต้ใบแต่จะพบด้านบนใบมากกว่า ด้านใต้ใบ ระยะแรกจุดนูนจะมีสีน้ำตาลอ่อน ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงเมื่อจุดนูนแตกมีผงสีคล้ายสนิม อาการของโรคจะพบได้แทบทุกส่วนของข้าวโพดคือ ใบ ลำต้น กาบใบ และกาบฝัก

การแพร่ระบาด : โรคราสนิมข้าวโพดระบาดได้ทุกฤดูแต่พบระบาดมากในช่วงปลายฤดูฝน เชื้อรา จากจุดนูนที่แตกเป็นผงฝุ่นขึ้นรอบๆ สามารถแพร่ระบาดโดยลม

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิม ในข้าวโพดต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
สวนพริกให้ระวังโรคแอนแทรคโนส
สวนพริกให้ระวังโรคแอนแทรคโนส
#โรคกุ้งแห้ง #โรคแอนแทรคโนสพริก ในระยะที่มีอากาศเย็นลงและมีฝนตกบางพื้นที่ช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพริกเตรียมรับมือการระบาดของโรคแอนแทรคโนส สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของต้นพริก มักพบแสดงอาการบนผลพริกที่เริ่มสุกหรือก่อนที่ผลพริกจะเปลี่ยนสี อาการเริ่มแรกจะพบจุดหรือแผลช้ำยุบตัวเล็กน้อย ต่อมาแผลขยายใหญ่เป็นวงรีหรือวงกลม บริเวณแผลพบส่วนของเชื้อราเป็นตุ่มสีดำขนาดเล็กเรียงเป็นวงซ้อนกัน ในกรณีที่สภาพอากาศชื้นจะเห็นเมือกเยิ้มสีส้มอ่อนที่เป็นกลุ่มสปอร์ของเชื้อราสาเหตุโรค ถ้าอาการรุนแรงจะทำให้ผลเน่า ผลพริกที่เป็นโรคนี้จะโค้งงอบิดเบี้ยวคล้ายกุ้งแห้ง และจะร่วงหล่นก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรคเริ่มระบาด ให้เก็บผลพริกที่เป็นโรคนำไปทำลายทิ้งนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อราสาเหตุโรค และควรกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อไม่ให้แปลงปลูกมีความชื้นสูงและมีสภาพที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค

ป้องกันกำจัด โรคกุ้งแห้ง โรคแอนแทรคโนสพริก โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
885 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 88 หน้า, หน้าที่ 89 มี 5 รายการ
|-Page 85 of 89-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ทางเลือกใหม่สำหรับการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของส้ม
Update: 2567/03/05 10:19:29 - Views: 115
อาการพืชขาดธาตุแมกนีเซียม พืชจะใบเหลือง และมีเส้นใยสีเขียวบนใบเหลือง อาการเกิดที่ใบแก่ ฉีดพ่น FK-1
Update: 2564/03/11 12:09:38 - Views: 3051
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ผักคะน้า เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดยไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/26 13:38:32 - Views: 3043
คู่มือเบื้องต้น การป้องกันกำจัดโรคข้าวโพดต่างๆ ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อรา
Update: 2566/04/29 15:44:41 - Views: 10476
ยากำจัดโรคใบจุด ใน ถั่วลิสง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 10:25:13 - Views: 6901
กำจัดเพลี้ย ใน ต้นโกโก้ เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/11 14:06:12 - Views: 3061
ยาฆ่าเพลี้ย มะขามเทศ ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/10 10:04:34 - Views: 3300
ทำไมขนมเบื้อง ถึงมีไส้แค่สองแบบตามรูป ขาดวิวัฒนาการ หรือ ใส่ไส้แบบอื่นไม่ได้เอ่ย?
Update: 2562/08/25 14:37:20 - Views: 4555
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน มะม่วง เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:29:51 - Views: 2984
ป้องกัน กำจัดเพลี้ยต่างๆ ด้วย มาคา และ เร่งพืชให้ฟื้นตัวไว กลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง ด้วย FK-1
Update: 2562/10/04 15:23:43 - Views: 2963
ครู กศน.อำเภอรัตนบุรี จ.สุรินทร์ นำนักศึกษาสร้างศูนย์การเรียนรู้พืชสมุนไพร ต้านภัยโควิด-19
Update: 2564/08/12 00:19:19 - Views: 3099
โรคมันสำปะหลัง มันใบไหม้ โรคใบจุดมันสำปะหลัง โรคเชื้อราในมันสำปะหลัง ไอเอส สารอินทรีย์
Update: 2566/10/21 10:22:33 - Views: 193
ยากำจัดโรครากเน่า ใน ลองกอง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/06 13:44:28 - Views: 7307
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยหอย ในดอกกุหลาบ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/11 14:13:10 - Views: 3141
ยากำจัดโรคราแป้ง ใน ดอกดาวเรือง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/09 11:22:24 - Views: 6868
การควบคุมวัชพืชด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG) ในไร่สับปะรด
Update: 2567/01/25 12:39:38 - Views: 152
ปุ๋ยฉีดพ่นกะเพรา ปุ๋ยสำหรับกะเพรา ปุ๋ย กะเพรา ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม และสารจับใบ ในกล่อง ฉีดพ่น FK-1
Update: 2564/10/10 02:21:31 - Views: 3080
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในสตรอเบอร์รี่อย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/13 10:49:34 - Views: 3037
ปุ๋ยบอนไซ รักษาโรคบอนไซ ใบเหลือง ใบจุด ใบไหม้ ขาดธาตุ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #ปุ๋ยบอนไซ #บอนไซใบแห้ง
Update: 2564/11/04 08:01:29 - Views: 2997
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับการเพิ่มผลผลิตขนุน ช่วยให้ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก และเพิ่มคุณภาพของผล เหมาะสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเพิ่มผลผลิตและรายได้
Update: 2567/03/14 10:57:02 - Views: 95
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022