[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - FK-1
900 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 0 รายการ

โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
ทุเรียนเป็นไม้ผลเขตร้อน ซึ่งในประเทศไทยมีปลูกกันมากในภาคตะวันออกและภาตใต้ พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์หมอนทอง ก้านยาว ชะนี และกระดุมทอง ทุเรียนนอกจากจะผลิตเพื่อบริโภคในประเทศแล้วยังมีการผลิตเพื่อส่งไปขายยังต่างประเทศทั้งในรูปของผลสดและแปรรูปในลักษณะต่าง ๆ แต่เนื่องจากทุเรียนเป็นไม้ผลที่ต้องการการดูแลเอาใจใส่อย่างดี โดยเฉพาะการเข้าทำลายของโรคและแมลง ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่พบเสมอทุกปี ดังนั้นเกษตรกรที่ทำสวนทุเรียนควรได้รู้จักโรคของทุเรียน และการป้องกันกำจัดโรคชนิดต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เพื่อให้ทุเรียนที่ผลิตได้มีคุณภาพดี

โรคที่สำคัญของทุเรียนมีดังนี้

โรครากเน่าและโคนเน่า

เกิดจากเชื้อราเจริญเติบโตเข้าไปทำลายทุเรียนทั้งที่โคนต้น ลำต้น กิ่งและราก โดยจะสังเกตได้จากต้นที่เป็นโรคนี้จะมีใบด้าน ไม่เป็นมัน และสีจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วร่วงหล่น ต้นที่เป็นโรคจะแสดงอาการเน่าและใบเหี่ยว แผลที่ต้นหรือกิ่งจะเน่าเป็นจุดฉ่ำน้ำ เปลือกจะเน่าเป็นสีน้ำตาลและมีเมือกไหลออกมา ซึ่งจะสังเกตได้ในเวลาเช้าหรือช่วงที่มีอากาศชื้น เมื่อถากเปลือกออกจะเห็นเปลือกด้านในมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเข้ม และถ้าขุดดูรากจะพบว่าที่รากแก้วและรากฝอยถูกทำลายเน่าเป็นสีน้ำตาล ทำให้ต้นทุเรียนทรุดโทรมและตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปเผาทำลาย
2. อย่าให้น้ำขังแฉะบริเวณโคนต้น
3. ถากบริเวณที่เป็นโรคออกเพียงบาง ๆ แล้วใช้สารเคมีจำพวกเมททาแลคซิลหรือฟอสเอทธิลอะลูมินั่มผสมน้ำทาบริเวณที่ถากออก


โรคทเรียนผลเน่า

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลาย ส่วนใหญ่จะเริ่มเข้าทำลายบริเวณปลายผลหรือก้นผล โดยจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ ปนเทา แล้วขยายตัวออกไปตามเปลือกผล ทำให้รอยแบ่งของเปลือกแตกออกจากกันได้ง่าย เมื่อผ่าตรวจดูภายในผลจะพบว่าเนื้อเยื่อโดยรอบของเปลือกจะเน่าช้ำสีน้ำตาล ส่วนที่พูเนื้อหุ้มเมล็ดนั้นจะเน่าเละมีสีเหลืองปนน้ำตาล แล้วลุกลามเป็นหมดทุกพู นอกจากนี้ผลที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นก่อนกำหนด
การป้องกันกำจัด
1. เก็บผลที่เป็นโรคผลเน่าไปเผาทำลายเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา หลังจากทุเรียนติดผลแล้ว 2 เดือน

โรคใบติดทุเรียน

เกิดจากเชื้อรา โรคนี้จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน ลักษณะอาการบนใบที่พบจะมีรอยคล้าย ๆ ถูกน้ำร้อนลวก ขอบแผลไม่แน่นอน อาจเริ่มที่ปลายใบ กลางใบ หรือโคนใบ แล้วลุกลามจนเป็นทั้งใบ และจะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวนวลแผ่ปกคลุมคล้ายใยแมงมุมแผ่ไปตามผิวใบ ใบที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นไปในที่สุด ถ้าใบที่เป็นโรคไปสัมผัสกับใบที่ปกติไม่ว่าจะเป็นใบที่อยู่ล่าง ๆ หรือใบที่อยู่เหนือกว่า ใบปกตินั้นก็จะเป็นโรคใบติดได้เช่นกัน
การป้องกันกำจัด
1. ไม่ควรปลูกทุเรียนให้ชิดกันเกินไปเพราะจะทำให้ทรงพุ่มประสานกัน เกิดเป็นโรคติดต่อกันได้ง่าย
2. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายเสีย ตลอดจนทำความสะอาดบริเวณโคนต้นโดยเก็บใบที่เป็นโรคเผาทำลาย
3. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ พ่นทุก 5-7 วันต่อครั้ง

โรคจุดสนิมทุเรียน

เกิดจากพืชชั้นต่ำพวกสาหร่ายทำความเสียหายให้กับทุเรียนโดยดูดอาหารจากใบ ทำให้ต้นทรุดโทรม อาการของโรคจะพบทั้งที่ใบและกิ่ง ที่ใบจะปรากฏเป็นจุดหรือดวงสีเทาอ่อนปนเขียว แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลคล้ายสนิมมีลักษณะเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ ส่วนการทำลายที่กิ่งนั้นจะทำให้เปลือกหนา ซึ่งนานเข้าจะทำให้เปลือกแตก กิ่งแห้งและทรุดโทรมในเวลาต่อมา
การป้องกันกำจัด
1. ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราสีชมพูทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายกิ่งโดยเฉพาะบริเวณง่ามกิ่งซึ่งมีผลทำให้ใบมีสีเหลืองร่วงหล่นไปคล้ายกับอาการกิ่งแห้งและใบร่วงที่เกิดจากโรคโคนเน่า แต่จะสังเกตเห็นเส้นใยของเชื้อรามีลักษณะเป็นขุยสีชมพูปกคลุมบริเวณโคนกิ่งที่มีใบแห้งนั้น และทำให้เปลือกของกิ่งทุเรียนปริแตกและล่อนจากเนื้อไม้ เมื่อถากเปลือกจะพบว่าเนื้อไม้ภายในมีสีน้ำตาล ถ้าเกิดรอบกิ่งจะทำให้กิ่งทุเรียนแห้งตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย และตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่งเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราแป้งทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายผลทุเรียนตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ ผิวที่ผลอ่อนจะมีผงสีขาว ๆ คล้ายโรยด้วยแป้ง และผลอ่อนก็จะร่วงไป แต่ถ้าเชื้อโรคเข้าทำลายเมื่อผลโตแล้วจะทำให้ผลแก่มีสีผิวที่ผิดปกติ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
การป้องกันกำจัด
1. นำผลทุเรียนที่ร่วงหล่นไปเผาทำลาย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3186
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกทุเรียน สภาพดิน ควรเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินเหนียวปนทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี มีหน้าดินลึก

เพราะทุเรียนเป็นพืชที่อ่อนแอต่อสภาพน้ำท่วมขัง และความเป็นกรดด่างของดิน 5.5-6.5 หากจำเป็นต้องปลูกทุเรียนในสภาพดินทราย จำเป็นต้องนำหน้าดินจากแหล่งอื่นมาเสริมและต้องใส่ปุ๋ยคอกร่วมด้วย และควรมีการจัดการเรื่องระบบน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกติดผลของทุเรียนด้วย

แหล่งน้ำ ต้องมีแหล่งน้ำจืดให้ต้นทุเรียนได้เพียงพอตลอดทั้งปี

อุณหภูมิและความชื้น ทุเรียนชอบอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วงประมาณ 25-30
องศาเซลเซียส มีความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศประมาณ 75-85 เปอร์เซ็นต์ หากปลูกในพื้นที่ที่มีอากาศแห้งแล้ง

พื้นที่ที่มีอากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด และมีลมแรง จะพบปัญหาใบไหม้หรือใบร่วง ทำให้ต้นทุเรียน
ไม่เจริญเติบโตหรือเติบโตช้าให้ผลผลิตช้า น้อย และไม่คุ้มต่อการลงทุน

การเตรียมพื้นที่ จำเป็นต้องมีการปรับพื้นที่ปลูก กำหนดผังปลูกและติดตั้งระบบน้ำ โดยปรับพื้นที่
ให้ราบไม่ให้มีแอ่งน้ำท่วมขัง และควรปรับเป็นเนินลูกฟูกเพื่อปลูกทุเรียนบนสันเนิน ระยะปลูก 8*8 เมตร หรือ 9*9 เมตร (16-25 ต้น/ไร่) หากมีการทำสวนขนาดใหญ่ ควรขยายระยะระหว่างแถวให้กว้างขึ้นเพื่อสะดวกต่อการปฏิบัติงาน การวางแนวปลูกควรขวางความลาดเทของพื้นที่ หรือกำหนดแถวปลูกในแนวทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตก และถ้ามีการจัดวางระบบน้ำจะต้องพิจารณาแนวทางจัดวางท่อในสวนเพื่อให้มีการจัดการที่ง่ายและสะดวก

การวางผังปลูก

สามารถเลือกระบบการปลูกทุเรียนเป็นลักษณะต่าง ๆ ได้แก่

ระบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสามเหลี่ยมด้าน
เท่าระยะปลูก 8-10 เมตร เหมาะกับพื้นที่ที่ค่อนข้างเรียบ

ระบบแถวกว้างต้นชิด (Hedge row system)
ในการปลูกระบบนี้ระยะระหว่างต้นเป็น 30-50% ของระยะระหว่างแถวและมีการวางแถวปลูกในแนวเหนือใต้ มีด้านกว้างระหว่างแถวขวางแนวขึ้นลงของพระอาทิตย์ แถวมีความกว้างพอที่จะให้เครื่องจักรกลผ่านเข้าออกได้สะดวก

การดูแลบำรุง

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

การป้องกันกำจัดโรคทุเรียน

โรคจากเชื้อราต่าง เช่น โรคใบติด (โรคใบไหม้) โรคไฟทอปธอราในทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคราดำทุเรียน ตัดและเก็บส่วนที่เป็นโรครวมกัน เผาทำลาย และ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง เพื่อยับยั้งการลุกลาม ไม่ให้ขยายวง

การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูทุเรียน

เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน หนอนเจาะผล เหล่านี้ควรฉีดป้องกันไว้ หากเป็นแล้วเสียหายไปแล้ว ผลผลิตก็เสียหาย ทำได้คือการยับยั้ง ไม่ให้ลุกลามเข้าไปทำลายผลใหม่ ที่ยังไม่โดยหนอนเจาะทำลาย ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ชีวภัณ์กำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

# Go..Reference..Site..
อ่าน:3302
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
สภาพอากาศในช่วงฝนฟ้าคะนอง แนะเกษตรกรชาวสวนทุเรียนพื้นที่ภาคใต้เฝ้าระวังการระบาดของโรคใบติดหรือโรคใบไหม้ สามารถพบได้ในระยะแตกใบอ่อน อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง กรณีที่มีความชื้นสูง เชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะแห้งติดอยู่กับกิ่งก่อนหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคใบติด เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดของโรคใบติด ให้เกษตรกรตัดส่วนที่เป็นโรคและเก็บเศษพืชที่เป็นโรคและใบที่ร่วงหล่นนำไปทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสะสมในแปลง

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

ส่วนในแปลงปลูกที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ หลีกเลี่ยง การใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบของต้นทุเรียน จากนั้น ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่งและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อให้ต้นทุเรียนได้รับแสงแดด อากาศถ่ายเทสะดวก และช่วยลดความชื้นสะสมในแปลงปลูก ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะต่อการระบาดของโรค อีกทั้งควรทำความสะอาดอุปกรณ์การเกษตรเมื่อใช้กับต้นที่เป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ทุกครั้ง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3029
โรคแตงโมเถาเหี่ยว โรคราน้ำค้างแตงโม เพลี้ยไฟแตงโม
โรคแตงโมเถาเหี่ยว โรคราน้ำค้างแตงโม เพลี้ยไฟแตงโม
การป้องกันกำจัดโรคต่างๆในแตงโม โรคเถาเหี่ยว โรคราน้ำค้าง และ กำจัดแมลง พวก เพลี้ยไฟ ในแตงโม

โรคเถาเหี่ยว (ที่เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม)

แตงโมที่เป็นโรคนี้สีใบจะซีด ใบและเถาจะเหี่ยวจริงบริเวณโคนเถาที่ใกล้กับผิวดิน จะแตกตามยาวและมีน้ำเมือกซึมออกมา เมื่อผ่าไส้กลางเถาดูจะเห็นภายในเป็นสีน้ำตาล โรคนี้จะระบาดมากในช่วงแตงโมออกดอก การปลูกซ้ำที่เดิม โรคนี้จะระบาดรุนแรงมาก

สาเหตุ

เชื้อรานี้เจริญและทำลายแตงโมได้ดีที่อุณหภูมิระหว่าง 24 - 27 องศาเซลเซียส
ขณะแตงกำลังเจริญเติบโตมีผนตกติดต่อกันยาวนาน
ดินมีธาตุไนโตรเจนอยู่สูง แต่มีธาตุฟอสฟอรัส (P2O5) และโปแตสเซี่ยม (K2O) อยู่ต่ำ
ดินเป็นกรดจัด

การป้องกันและกำจัด

- อย่าปลูกแตงโมซ้ำที่เดิม
- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน
- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

ลักษณะที่มองเห็นในครั้งแรก คือ ใบในเถาจะเหี่ยวลงทีละใบ การเหี่ยวจะเหี่ยวจากปลายเถามาหาโคนเถาในเถาใดเถาหนึ่ง เมื่อเหี่ยวมาถึงโคนเถาก็จะเหี่ยวพร้อมกันหมดทั้งต้น แต่ใบยังคงเขียวอยู่ และพืชตายในทันทีที่พืชเหี่ยวทั้งต้นสาเหตุของการเหี่ยวก็คือเชื้อแบคทีเรียไปอุดท่อส่งน้ำเลี้ยงในต้นแตงโม ถ้าเอามีดเฉือนเถาตามยาวดูจะเห็นว่ากลางลำต้นในเถาฉ่ำน้ำมากกว่า ปกติเชื้อแบคทีเรียนี้อาศัยอยู่ในตัวของแมลงเต่าแตงต้นแตงโมได้รับเชื้อโรคจากการกัดกินใบของแมลงเต่าแดงนี้ เมื่อเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ต้นแตงโมทางแผลที่แมลงเต่ากัดกิน ก็จะเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างรวดเร็ว แล้วก็กระจายตัวเข้าสู่ท่อน้ำและอาหารของแตงโม เราอาจป้องกันและรักษาได้ โดยฉีดสารเคมีเซวิน 85 ป้องกันแมลงเต่าแตงและใช้ยาปฏิชีวนะสเตรปโตมัยซิน เช่น อะกริมัยซิน ฉีดพ่นทุกสัปดาห์ ใช้อัตราส่วนผสมตามที่แจ้งไว้ในซองบรรจุสารเคมีที่จำหน่าย เมื่อพบว่าต้นแตงโมบางส่วนเริ่มเป็นโรคนี้ สารเคมีนี้ช่วยรักษาและป้องกันได้ แต่มีข้อเสียคือเสื่อมคุณภาพเร็วจึงต้องซื้อแต่สารเคมีใหม่ใช้เท่านั้น ถ้าสารเคมีอะกริมัยซินเก่าเกิน 1 ปีขึ้นไป จะฉีดไม่ได้ผล

โรคราน้ำค้าง

ลักษณะที่มองเห็นได้ คือ เกิดจุดสีเหลืองบนหลังใบ และขยายตัวใหญ่ขึ้น จำนวนจุดสีเหลืองเพิ่มปริมาณมากขึ้น และใต้ใบตรงตำแหน่งเดียวกัน จะมีกลุ่มของเชื้อราสีม่วงอมเทาเกาะเป็นกลุ่มอยู่ เชื้อโรคนี้เจริญได้อย่างรวดเร็ว เมื่ออากาศอุ่นและชุ่มชื้น เมื่อใบแก่ตายเชื้อก็จะไปทำลายใบอ่อนต่อไป เมื่อใบแห้งไปหมดแล้ว ผลที่เกิดขึ้นมาก็คือ แตงติดผลน้อยและคุณภาพผลแก่ก็ต่ำด้วย สปอร์ของเชื้อรานี้แพร่ระบาดไปโดยลมและโดยแมลงพวกเต่าแตง

การป้องกันและกำจัด

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน
- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

แมลงศัตรูที่สำคัญ

เพลี้ยไฟ

เป็นแมลงชนิดหนึ่งที่มีตัวขนาดเล็กมาก ตัวอ่อนจะมีสีแสด ตัวแก่จะเป็นสีดำ มีขนาดเท่าปลายเข็ม จะดูดน้ำเลี้ยงที่ยอดอ่อนของแตงโม และใต้ใบอ่อนของแตงโม มีผลทำให้ใบแตงโมไม่ขยาย ยอดหดสั้นลง ปล้องถี่ ยอดชูตั้งขึ้นชาวบ้านเรียกโรคนี้ว่า โรคยอดตั้ง บางแห่งก็เรียก โรคไอ้โต้ง เพลี้ยไฟจะบินไปเป็นฝูง มีลักษระเล็กละเอียดคล้ายฝุ่น สภาพฤดูแล้ง ความชื้นในอากาศต่ำลมจะช่วยพัดพาเพลี้ยไฟให้เคลื่อนที่เข้าทำลายพืชผลในไร่ได้รวดเร็วขึ้น ในพืชผักที่ปลูกด้วยกัน เช่น ฟักทอง แตงโม แฟง ฟัก ในไร่ของเกษตรกรถูกเพลี้ยไฟทำลายเสียหายหนัก มีมะระพืชเดียวที่สามารถต้านทานเพลี้ยไฟได้ และเมื่อสวนใดสวนหนึ่งฉีดพ่นยา เพลี้ยไฟจะหนีเข้ามายังสวนข้างเคียงที่ไม่ได้ฉีดยาป้องกัน

การป้องกันและกำจัด

- ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยแมลงศัตรูพืช ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน
- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3429
ปุ๋ยสำหรับต้นทานตะวัน
ปุ๋ยสำหรับต้นทานตะวัน
ปุ๋ยสำหรับต้นทานตะวัน
ดูแลต้นทานตะวัน บำรุงให้แข็งแรงอยู่เสมอ เมื่อต้านทานตะวัน มีความสมบูรณ์ แข็งแรง จะมีภูมิต้านทานต่อโรค และแมลงศัตรูสูงขึ้น ส่งผลให้ทานตะวันออกดอก สวยงาม สมบูรณ์ อย่างต่อเนื่อง ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบไปด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของต้นทานตะวัน ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง

* พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารพืชตัวที่ขาดไป แปลง่ายๆอีกครั้งว่า หากเราไม่เติมธาตุเสริม ตัวที่ขาด หรือตัวที่มีน้อยที่สุด ธาตุตัวที่มีอยู่ในดินน้อยที่สุด จะจำกัดการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืช ไม่โต หรือ โตช้า หรือ ไม่แข็งแรง ไม่ออกผลผลิต หรือ ผลผลิตน้อย ไม่มีคุณภาพ ถ้าเปรียบกับคนก็ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ก็ดำรงชีวิตได้ แต่ไม่แข็งแรงเท่าคนอื่น โตช้ากว่า ร่างกายไม่สมบูรณ์

ฉีดพ่น FK-1 อย่างสม่ำเสมอ ทุก 15-30 วัน เพื่อช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ให้กับต้นทุเรียนอย่างต่อเนื่อง มีความสมบูรณ์แข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลง ตลอดไปจนได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีคุณภาพ และปริมาณที่มากขึ้น ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ต่างๆ ที่มีอยู่ใน FK-1 ที่มากพอ เพียงพอต่อความต้องการของต้นทุเรียน ในหลายๆระยะการเจริญเติบโต

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen N) มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมีสีเขียว เร่งการเจริญเติบโตทางใบ หากพืชขาดธาตุนี้จะแสดงอาการใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง ลำต้นแคระแกร็นและให้ผลผลิตต่ำ

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus - P) เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารพันธุกรรมและสารชีวเคมีที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของรากและช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาดฟอสฟอรัสจะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้

ธาตุโพแทสเซียม (Potassium - K) โพแทสเซียม เป็นธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด ถ้าขาดธาตุนี้พืชจะไม่แข็งแรง ลำต้นอ่อนแอ ผลผลิตไม่เติบโต มีคุณภาพต่ำ สีไม่สวย รสชาติไม่ดี

ธาตุแคลเซียม (Calcium - Ca) แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด พืชขาดธาตุนี้ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดดำที่เส้นใบ รากสั้น ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium - Mg) แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล ทำให้สภาพกรดด่างในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุนี้ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเร็ว

ธาตุสังกะสี (Zinc Zn) สังกะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์ และแป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผ่นใบ โดยเส้นใบยังเขียว รากสั้นไม่เจริญตามปกติ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3495
โรคทานตะวัน และแมลงศัตรูทานตะวัน
โรคทานตะวัน และแมลงศัตรูทานตะวัน
โรคทานตะวัน และแมลงศัตรูทานตะวัน
โรคที่พบมากในทานตะวัน ได้แก่ โรคทานตะวันใบไหม้ และลำต้นไหม้ ซึ่งมีสาเหตุจาก เชื้อรา อัลเทอร์นาเรีย Alternaria_ spp. นอกจากนี้ ยังพบโรคโคนเน่า และลำต้นเน่า ในทานตะวัน

ในส่วนของแมลงศัตรูทานตะวันนั้น จะมีหนอนหลายชนิด เช่น หนอนกระทู้ผัก หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ หนอนเจาะลำต้น

นอกจากนั้น นก และ หนู ก็เป็นศัตรูทานตะวันเช่นกัน ที่สร้างความเสียหายแก่ทานตะวันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในแปลงปลูกใหญ่

เมื่อพบโรคทานตะวัน ทีมีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

เมื่อพบหนอนทุกชนิด ที่เข้าทำลายทานตะวัน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันและกำจัดหนอนทุกชนิด ปลอดสารพิษ ในอัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

เมื่อต้องการบำรุงให้ทานตะวัน ฟื้นฟูจากโรคได้รวดเร็ว แข็งแรง โตไว ให้ผลผลิตที่ดีขึ้น
ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด
อ่าน:3304
ปุ๋ยสำหรับแครอท
ปุ๋ยสำหรับแครอท
ปุ๋ยสำหรับแครอท
ฉีดพ่น FK-1 เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต ให้ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อ แครอท อย่างครบถ้วน แครอทจะโตไว สมบูรณ์แข็งแรง เมื่อแครอทมีความสมบูรณ์ แข็งแรง ก็จะมีภูมิต้านทานต่อโรค และแมลงศัตรูพืชสูงขึ้น ให้ผลผลิตดีขึ้น ทั้งทางด้านคุณภาพ และปริมาณ

* พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารพืชตัวที่ขาดไป แปลง่ายๆอีกครั้งว่า หากเราไม่เติมธาตุเสริม ตัวที่ขาด หรือตัวที่มีน้อยที่สุด ธาตุตัวที่มีอยู่ในดินน้อยที่สุด จะจำกัดการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืช ไม่โต หรือ โตช้า หรือ ไม่แข็งแรง ไม่ออกผลผลิต หรือ ผลผลิตน้อย ไม่มีคุณภาพ ถ้าเปรียบกับคนก็ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ก็ดำรงชีวิตได้ แต่ไม่แข็งแรงเท่าคนอื่น โตช้ากว่า ร่างกายไม่สมบูรณ์

ฉีดพ่น FK-1 อย่างสม่ำเสมอ ทุก 15-30 วัน เพื่อช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ให้กับต้นทุเรียนอย่างต่อเนื่อง มีความสมบูรณ์แข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลง ตลอดไปจนได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีคุณภาพ และปริมาณที่มากขึ้น ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ต่างๆ ที่มีอยู่ใน FK-1 ที่มากพอ เพียงพอต่อความต้องการของต้นทุเรียน ในหลายๆระยะการเจริญเติบโต

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen N) มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมีสีเขียว เร่งการเจริญเติบโตทางใบ หากพืชขาดธาตุนี้จะแสดงอาการใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง ลำต้นแคระแกร็นและให้ผลผลิตต่ำ

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus - P) เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารพันธุกรรมและสารชีวเคมีที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของรากและช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาดฟอสฟอรัสจะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้

ธาตุโพแทสเซียม (Potassium - K) โพแทสเซียม เป็นธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด ถ้าขาดธาตุนี้พืชจะไม่แข็งแรง ลำต้นอ่อนแอ ผลผลิตไม่เติบโต มีคุณภาพต่ำ สีไม่สวย รสชาติไม่ดี

ธาตุแคลเซียม (Calcium - Ca) แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด พืชขาดธาตุนี้ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดดำที่เส้นใบ รากสั้น ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium - Mg) แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล ทำให้สภาพกรดด่างในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุนี้ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเร็ว

ธาตุสังกะสี (Zinc Zn) สังกะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์ และแป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผ่นใบ โดยเส้นใบยังเขียว รากสั้นไม่เจริญตามปกติ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3377
โรค แครอทใบไหม้
โรค แครอทใบไหม้
โรคต้นใบไหม้แห้ง ในแครอท เชื้อราสาเหตุ Cercospora (Cercospora blight)_ Alternaria (Alternaria blight)

Cercospora ที่เป็นสาเหตุโรคต้นใบไหม้แห้งของแครอทคือ Cercospora carotae เชื้อนี้จะเข้าทำลายและก่อให้เกิดอาการกับต้นแครอทได้ทุกส่วนที่อยู่เหนือดินไม่ว่าจะเป็น ต้น กิ่ง ใบ ก้านใบ และดอก บนใบ แผลจะมีลักษณะค่อนข้างกลม สีนํ้าตาลเทา หรือดำ เมื่อเป็นมากๆ เนื้อใบจะถูกทำลายทำให้เกิดอาการเหี่ยวแห้งกลายเป็นสีดำทั้งใบ บนกิ่งก้านและก้านใบแผลจะมีลักษณะยาวรี ขอบสีเข้ม ตอนกลางซีดจาง สำหรับดอกหากถูกเชื้อเข้าทำลายในระยะที่ดอกยังอ่อนจะแห้งตายทั้งดอก ถ้าเป็นดอกที่ผสมติดฝักแล้ว เชื้อราก็จะเข้าทำลายฝักต่อไปแต่จะไม่ทำอันตรายเมล็ดที่มี ภายในฝักนั้นแต่อย่างไร เพียงแต่เส้นใยจะไปอาศัยเกาะพักตัวอยู่ตามเปลือกและผิวของเมล็ดดังกล่าวเพื่อข้ามฤดู และใช้เมล็ดนั้นเป็น seed-borne ต่อไป

Alternaria เป็นราอีกชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคต้นและใบไหม้แห้งกับพืชผักต่างๆ ได้แพร่หลาย เช่น เดียวกับเชื้อ Cercospora ชนิดที่ทำลายแครอทนั้น ได้แก่ Alternaria dauci

การแพร่ระบาด

การแพร่ระบาดที่จัดว่าสำคัญและดีที่สุดของโรคนี้ เกิดจากเชื้อที่ติดอยู่กับเมล็ดในลักษณะของ seed-borne ดังกล่าวแล้ว ส่วนราพวกที่เกาะกินอยู่บนต้นพืชเมื่อพืชตายก็จะติดอยู่กับเศษซากที่เป็นโรคและถูกปล่อยทิ้งอยู่ตามดินแปลงปลูก พวกนี้ต่อมาจะรวมตัวกันสร้าง stroma เกิดเป็นจุดสีดำเล็กๆ ขึ้นตามบริเวณแผลที่เป็นอยู่เดิม บน stroma นี้ ก็จะเป็นที่เกิดของสปอร์หรือโคนีเดียอีกทีหนึ่ง สปอร์พวกนี้ทำหน้าที่แพร่ระบาดก่อให้เกิดโรคกับพืชในฤดูปลูกต่อไป โดยปลิวไปตามลม นํ้า หรือติดไปกับสิ่งที่เคลื่อนไหวได้ต่างๆ ที่ไปถูกต้องสัมผัสเข้า เมื่อตกลงบนพืช และสิ่งแวดล้อมเหมาะสม เช่น ได้รับความชื้นพอเพียงอากาศอบอุ่น (19- 28∘ซ.) ก็จะงอกเจริญเติบโตเป็นเส้นใยจากนั้นก็จะเข้าไปใน โดยผ่านทางช่อง stomata ก่อให้เกิดโรคและสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาดต่อไปได้อีกภายใน 2-3 วัน ใบอ่อนของแครอทจะถูกเชื้อทำลายและเสียหายได้ง่ายกว่าใบแก่

การป้องกันกำจัด

1. หลีกเลี่ยงการปลูกแครอทซํ้าลงในดินหรือแปลงที่เคยเกิดโรคมาก่อนหรือปลูกพืชอย่างอื่นสลับเป็นเวลาอย่างน้อย 3 ปี

2. เลือกใช้เมล็ดพันธุ์ที่สะอาดปราศจากเชื้อ หากไม่แน่ใจควรนำเมล็ดมาแช่ในน้ำอุ่น 50°ซ. นาน 15-20 นาที หรือแช่เมล็ดด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตรส่วน 20ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

3. เมื่อเกิดโรคขึ้นกับแครอทในแปลงปลูกให้ทำการ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

4. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3170
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
ดูแลสวนมะพร้าว ให้ต้นมะพร้าวเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง แข็งแรง ต้านทานต่อโรค ตลอดไปจนการส่งเสริมผลผลิต ทั้งด้านคุณภาพ และปริมาณ ด้วยการฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบไปด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อความต้องการของ มะพร้าว

การให้อาหารทางใบ ทำให้ต้นมะพร้าว ได้รับธาตุอาหารได้รวดเร็วกว่าทางดิน การปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่เดิมเป็นเวลานาน และเติมเฉพาะปุ๋ยมาตฐานทั่วๆไป มักจะเติมเฉพาะธาตุหลัก 3 ธาตุคือ NPK แต่ในความเป็นจริงแล้ว นอกจากธาตุหลักแล้ว พืชยังต้องการ ธาตุรอง และธาตุเสริมอีกหลายสิบธาตุ ยกตัวอย่างที่สำคัญเช่น แคลเซียม แมกนีเซียม สังกะสี ที่จะมีส่วนช่วยให้พืชดูดกินธาตุหลักได้อย่างเต็มที่ ร่วมถึงเกี่ยวข้องกับความสมบูรณ์แข็งแรง และผลผลิตโดยตรง เป็นไปตามกฎของ Liebig's law of the minimum ซึ่งมีใจความสำคัญว่า

* พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารพืชตัวที่ขาดไป แปลง่ายๆอีกครั้งว่า หากเราไม่เติมธาตุเสริม ตัวที่ขาด หรือตัวที่มีน้อยที่สุด ธาตุตัวที่มีอยู่ในดินน้อยที่สุด จะจำกัดการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืช ไม่โต หรือ โตช้า หรือ ไม่แข็งแรง ไม่ออกผลผลิต หรือ ผลผลิตน้อย ไม่มีคุณภาพ ถ้าเปรียบกับคนก็ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ก็ดำรงชีวิตได้ แต่ไม่แข็งแรงเท่าคนอื่น โตช้ากว่า ร่างกายไม่สมบูรณ์

ฉีดพ่น FK-1 อย่างสม่ำเสมอ ทุก 15-30 วัน เพื่อช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ให้กับต้นทุเรียนอย่างต่อเนื่อง มีความสมบูรณ์แข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลง ตลอดไปจนได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีคุณภาพ และปริมาณที่มากขึ้น ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ต่างๆ ที่มีอยู่ใน FK-1 ที่มากพอ เพียงพอต่อความต้องการของต้นทุเรียน ในหลายๆระยะการเจริญเติบโต

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen N) มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมีสีเขียว เร่งการเจริญเติบโตทางใบ หากพืชขาดธาตุนี้จะแสดงอาการใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง ลำต้นแคระแกร็นและให้ผลผลิตต่ำ

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus - P) เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารพันธุกรรมและสารชีวเคมีที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของรากและช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาดฟอสฟอรัสจะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้

ธาตุโพแทสเซียม (Potassium - K) โพแทสเซียม เป็นธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด ถ้าขาดธาตุนี้พืชจะไม่แข็งแรง ลำต้นอ่อนแอ ผลผลิตไม่เติบโต มีคุณภาพต่ำ สีไม่สวย รสชาติไม่ดี

ธาตุแคลเซียม (Calcium - Ca) แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด พืชขาดธาตุนี้ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดดำที่เส้นใบ รากสั้น ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium - Mg) แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล ทำให้สภาพกรดด่างในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุนี้ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเร็ว

ธาตุสังกะสี (Zinc Zn) สังกะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์ และแป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผ่นใบ โดยเส้นใบยังเขียว รากสั้นไม่เจริญตามปกติ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3405
ปุ๋ยสำหรับทุเรียน ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตทุเรียน
ปุ๋ยสำหรับทุเรียน ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตทุเรียน
ปุ๋ยสำหรับทุเรียน ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตทุเรียน
ระหว่าง เรารวบข้าวเช้า ข้าวเที่ยง ข้าวเย็น มาทานมื้อเดียวให้อิ่มไปเลย อัดเข้าไปเยอะๆ กินให้ได้เยอะที่สุด กับการที่เรา ทานข้าวเช้า ข้าวเที่ยง และเย็น ตามเวลา ทานในปริมาณที่พอเหมาะ

ผู้อ่านมีความเห็นว่า ทานแบบไหน ถึงจะทานได้ในปริมาณที่มากกว่า และร่างกายได้รับประโยชน์ จากอาหารที่ทานได้มากกว่า?

ต้นทุเรียน ก็เช่นเดียวกัน การที่เราอัดปุ๋ยไปมากๆครั้งเดียว นานๆให้สักครั้งนึง ย่อมสู้กับการให้น้อยๆ ให้บ่อยๆไม่ได้ ความสามารถในการดูดกินอาหารของพืช และการรับธาตุอาหารนั้นมีจำกัด ในช่วงเวลาหนึ่ง ก็รับธาตุอาหารได้จำกัด ใส่ไปมากกว่านั้น ก็ไม่สามารถจะดูดกินขึ้นไปพัฒนาเป็นการเจริญเติบโต หรือผลผลิตได้ เราใส่มากไปก็เกิน ที่เกิน ก็สลาย หายไปกับน้ำ กับลม กับฝน ระเหิด ระเหย ไปกับแสงแดด

ฉีดพ่น FK-1 อย่างสม่ำเสมอ ทุก 15-30 วัน เพื่อช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ให้กับต้นทุเรียนอย่างต่อเนื่อง มีความสมบูรณ์แข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลง ตลอดไปจนได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีคุณภาพ และปริมาณที่มากขึ้น ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ต่างๆ ที่มีอยู่ใน FK-1 ที่มากพอ เพียงพอต่อความต้องการของต้นทุเรียน ในหลายๆระยะการเจริญเติบโต

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen N) มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมีสีเขียว เร่งการเจริญเติบโตทางใบ หากพืชขาดธาตุนี้จะแสดงอาการใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง ลำต้นแคระแกร็นและให้ผลผลิตต่ำ

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus - P) เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารพันธุกรรมและสารชีวเคมีที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของรากและช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาดฟอสฟอรัสจะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้

ธาตุโพแทสเซียม (Potassium - K) โพแทสเซียม เป็นธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด ถ้าขาดธาตุนี้พืชจะไม่แข็งแรง ลำต้นอ่อนแอ ผลผลิตไม่เติบโต มีคุณภาพต่ำ สีไม่สวย รสชาติไม่ดี

ธาตุแคลเซียม (Calcium - Ca) แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด พืชขาดธาตุนี้ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดดำที่เส้นใบ รากสั้น ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium - Mg) แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล ทำให้สภาพกรดด่างในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุนี้ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเร็ว

ธาตุสังกะสี (Zinc Zn) สังกะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์ และแป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผ่นใบ โดยเส้นใบยังเขียว รากสั้นไม่เจริญตามปกติ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3166
900 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 0 รายการ
|-Page 76 of 91-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
แก้ปัญหาเพลี้ย กำจัดเพลี้ยด้วย มาคา แก้ใบไหม้ แก้โรคจาเชื้อรา ด้วย ไอเอส
Update: 2563/05/25 13:25:08 - Views: 2968
ฝรั่งใบไหม้ ฝรั่งขั้วผลเน่า ใบเหลืองแห้ง โรคใบจุดฝรั่ง โรคฝรั่ง จาก เชื้อรา ใช้ ไอเอส จาก FK
Update: 2565/06/18 06:23:59 - Views: 3043
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
Update: 2563/07/04 09:19:08 - Views: 4758
แก้ พืชใบไหม้ ราน้ำค้าง ใบเหลือง ใบจุด โรคราเขม่า เชื้อราเขม่าผง รากเน่า โรคราสนิม ใบแห้ง ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/07 08:56:20 - Views: 3128
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้ง ศัตรูพืชหน้าร้อน ด้วย INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
Update: 2567/02/21 13:48:02 - Views: 137
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
Update: 2564/06/18 08:43:44 - Views: 3159
กำจัดเชื้อรา มะเขือเทศ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/01 10:54:30 - Views: 3056
เพลี้ยไฟ ศัตรูร้าย ในต้นมะม่วง สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร??
Update: 2566/11/06 10:46:54 - Views: 312
การจัดการและควบคุมหนอนในต้นข้าว: วิธีการป้องกันและลดความเสี่ยงสูญเสียผลผลิต
Update: 2566/11/17 13:28:33 - Views: 268
กรมส่งเสริมการเกษตร ตั้ง คลินิกพืช ปั้นนักส่งเสริมเป็น หมอพืช วินิจฉัยโรคพืช แก้ปัญหาให้กับเกษตรกรตรงจุด
Update: 2564/08/12 22:07:12 - Views: 3012
ทุเรียน ขอบใบไหม้ ใบติด ผลเน่า รากเน่า โคนเน่า ไฟทอปธอร่า โรคราต่างๆ กำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟูด้วย ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/27 11:57:04 - Views: 111
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับการเพิ่มผลผลิตขนุน ช่วยให้ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก และเพิ่มคุณภาพของผล เหมาะสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเพิ่มผลผลิตและรายได้
Update: 2567/03/14 10:57:02 - Views: 104
ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้าง โรคราแป้ง และโรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/16 01:32:24 - Views: 3099
ยากำจัดโรครากเน่าแห้ง ใน กาแฟ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 15:17:18 - Views: 7981
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคใบจุด ใน มะเขือเทศ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/05/31 10:48:14 - Views: 3283
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน แมลงศัตรู ผักสลัด ผักไฮโดรโปนิกส์ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/09 11:56:31 - Views: 3040
ปุ๋ยน้ำบำรุงมังคุด ปุ๋ยสำหรับมังคุด ฉีดพ่นมังคุด โตไว ออกดอก ออกผล FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/09 03:15:13 - Views: 3051
โรคราในฟักข้าว ฟักข้าว ใบแห้ง ใบใหม้ ใบจุดสีน้ำตาล แอนแทรคโนสฟักข้าว โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/10/07 03:11:43 - Views: 2964
ป้องกัน กำจัด ยาฆ่าหนอน อินทผาลัม หนอนหน้าแมว หนอนเจาะผลอินทผาลัม หนอนอินทผลัม หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/20 21:48:36 - Views: 3080
ส่งออกข้าวโพดหวาน อนาคตรุ่ง
Update: 2555/07/27 15:00:57 - Views: 3609
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022