[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - กำจัดโรคพืช
653 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 65 หน้า, หน้าที่ 66 มี 3 รายการ

โรคแอนแทรคโนส มะม่วง
โรคแอนแทรคโนส มะม่วง
เชื้อราสาเหตุของ โรคแอนแทรคโนสมะม่วง Colletotrichum gloeosporioides ข้อสังเกตลักษณะ อาการที่อาจพบ เชื้อสาเหตุโรคเข้าทำลายพืชได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต โดยมีลักษณะอาการดังนี้

อาการที่ใบ
ใบอ่อนพบจุดฉ่ำน้ำต่อมาเปลี่ยนเป็นแผลสีน้ำตาลดำ หากอาการรุนแรงแผลจะขยายตัวอย่างรวดเร็วติดต่อกันทั้งผืนใบ ทำให้ใบบิดเบี้ยวเสียรูปทรงยอดอ่อนเหี่ยวและดำ ส่วนใบแก่พบแผลรูปร่างค่อนข้างเหลี่ยม หากอาการรุนแรงแผลจะทะลุเป็นรู อาการที่ช่อดอก พบจุดหรือขีดสีน้ำตาลแดงเล็กๆ บนก้านช่อดอกต่อมาแผลขยายใหญ่ หากมีความชื้นสูงจะพบเมือกสีส้มซึ่งเป็นกลุ่มสปอร์ของเชื้อราสาเหตุโรคอยู่ที่บริเวณแผล ทำให้ช่อดอกเหี่ยวแห้ง ดอกหลุดร่วงก่อนติดผล

อาการที่ผลอ่อน
พบจุดแผลสีน้ำตาลดำถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมผลที่ถูกทำลายจะเป็นสีดำและหลุดร่วงก่อนกำหนด ในบางครั้งเชื้อสาเหตุโรคเข้าทำลายแบบแฝงในผลอ่อน โดยไม่แสดงอาการของโรค แต่จะแสดงอาการของโรคเมื่อผลสุก และอาการรุนแรงมากขึ้นตามความสุกของผล

อาการที่ผลแก่หรือผลสุกหลังเก็บเกี่ยว
พบจุดแผลสีดำเล็กๆ ต่อมาแผลขยายลุกลามและยุบตัวลง ถ้ามีหลายแผลขยายมาติดกัน ขนาดของแผลจะกว้างขึ้นและยุบตัวเป็นแอ่งบุ๋มทำให้เน่าทั้งผล บางครั้งพบเมือกสีส้ม ซึ่งเป็นกลุ่มสปอร์ของเชื้อราสาเหตุโรคอยู่ที่บริเวณแผล

แนวทางการป้องกัน แก้ไข

1. หมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบพืชเริ่มมีอาการของโรค ตัดแต่งและเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรค

2. กำจัดวัชพืชรอบโคนต้น เพื่อลดความชื้นในทรงพุ่ม

3. ควบคุมปริมาณธาตุอาหารให้เหมาะสม ไม่ควรใส่ปุ๋ยที่มีค่าไนโตรเจนมากเกินไป

4. แหล่งปลูกที่พบการระบาดของโรคเป็นประจำในช่วงที่มะม่วงแตกใบอ่อน เริ่มแทงช่อดอก และหลังติดผลอ่อน ควรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช ตามข้อ 5 แต่ไม่ควรพ่นสารชนิดใดชนิดหนึ่งติดต่อกันเกิน 4 ครั้ง ในช่วงที่มะม่วงติดผล หากมีสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมต่อการเกิดโรค คือ มีฝนตกและอากาศ ร้อนชื้น ควรพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชดังกล่าว เพื่อป้องกันการระบาดของโรค

5. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

6. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส และ มาคา
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3249
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
อาการ มะระจีนใบเหลือง อาจเกิดได้จากสาเหตุต่างๆ เช่นหากเป็นการเหลือง ที่ใบแก่ด้านล่าง แต่ใบบน ใบใหม่ยังเขียวปกติ นั้นเป็นเพราะใบแก่หมดอายุตามปกติ แต่หากเป็นอาการใบเหลืองเป็นหย่อมๆ เกิดทั่วทั้งใบแก่ และใบใหม่ด้วย อาจจะเกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชบางตัว ที่ไม่ได้เติม เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม และหากอาการใบเหลือง ลุกลามเป็นวงกว้าง อาจมีอาการใบไหม้ ใบจุด ราสนิมปะปนอยู่ด้วย อันนี้ มีสาเหตุจากโรคพืช ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร และบำรุงพืชให้โตไวผลผลิตดี แก้ปัญหาการขาดธาตุ ฉีดพ่น FK-1 [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:4577
แก้โรคใบติดทุเรียน ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ทุเรียน
แก้โรคใบติดทุเรียน ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ทุเรียน
สาเหตุของโรคใบติดทุเรียน หรือโรคใบไหม้ทุเรียน เกิดจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.)

ลักษณะอาการของโรคใบไหม้ทุเรียน หรือ โรคใบติดทุเรียน

พบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ บริเวณกลางใบหรือขอบใบ ต่อมาแผลขยายตัวลุกลามและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ขนาดและรูปร่างแผลไม่แน่นอนเชื้อราจะแพร่ไปยังใบอื่นที่ติดกันโดยการสร้างเส้นใยของเชื้อรายึดใบให้ติดกัน ทำให้เกิดอาการใบแห้งเป็นหย่อม ๆ และใบจะค่อย ๆ ร่วงหล่นลงยังโคนต้นเหลือแต่กิ่ง ซึ่งต่อมาจะค่อย ๆ แห้ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง และมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมบูรณ์

การแพร่ระบาดของโรคใบติดทุเรียน หรือ โรคทุเรียนใบไหม้

เชื้อราสามารถพักตัวอยู่ในดินได้เป็นเวลานาน โดยอาศัยเศษซากพืช และแพร่ระบาดเข้าทำลายพืชระยะใบอ่อน โดยเฉพาะในช่วงในตกชุก

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบติด หรือ โรคใบไหม้ทุเรียน

1.ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้เหมาะสม โดยให้มีความชื้นในปริมาณที่ต้นทุเรียนเจริญเติบโตได้ดี และมีความชื้นในทรงพุ่มไม่เหมาะต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรค

2. ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก นำไปเผานอกแปลงปลูก และพ่นด้วยสารกำจัดโรคพืช เช่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อส่งเสริมความสมบูรณ์ และแข็งแรง [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

3. เก็บและรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

4. ในแปลงปลูกที่ความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ ควรใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนต่ำ เพื่อลดความอุดมสมบูรณ์ของการแตกใบ

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3021
โรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มันฝรั่งใบไหม้ ป้องกันและกำจัดได้อย่างไร
โรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มันฝรั่งใบไหม้ ป้องกันและกำจัดได้อย่างไร
ระวังโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง

สภาพอากาศเย็นและมีฝนตกบางพื้นที่ระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมันฝรั่งเฝ้าระวังโรคใบไหม้ สามารถพบได้ในระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น มักพบแสดงอาการของโรคที่ใบล่างก่อน โดยอาการเริ่มแรกด้านบนใบเป็นจุดฉ่ำน้ำสีเขียวเข้มคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ ตรงกลางแผลแห้งเป็นสีน้ำตาล ขอบแผลฉ่ำน้ำสีดำ เมื่อพลิกดูด้านใต้ใบในบริเวณตรงกันจะพบละอองน้ำเล็กสีขาวใสติดอยู่บริเวณขอบแผล และแผลจะขยายลุกลามออกไปจนทำให้ใบไหม้แห้งเป็นสีน้ำตาลในที่สุด

กรณีสภาพแวดล้อมเหมาะสม คือ อากาศเย็นและมีความชื้นสูง หรือในสภาพที่มีหมอกลงจัด โรคใบไหม้จะลุกลามอย่างรวดเร็วไปยังต้นอื่นๆ ทำให้มองเห็นใบไหม้แห้งกระจายเป็นหย่อมในแปลง ส่วนลำต้นและกิ่งก้านที่พบอาการของโรค แผลจะมีสีน้ำตาลหรือสีดำ ถ้าอาการรุนแรง จะทำให้ลำต้นหรือกิ่งก้านหักพับและแห้งตายอย่างรวดเร็ว หากโรคใบไหม้เข้าทำลายที่หัว จะทำให้หัวเน่า

เกษตรกรควรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ ถ้าพบต้นที่แสดงอาการของโรคให้ถอนแล้วนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก หากพบโรคเริ่มระบาด

ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 สำหรับฟื้นฟูส่งเสริมการเจริญเติบโต ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน

ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน และคอยสังเกตุว่าโรคหยุดการลุกลามหรือไม่ หลีกเลี่ยงการพ่นสารชนิดใดชนิดหนึ่งต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน และควรใช้สลับชนิด เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อราสาเหตุโรค

สำหรับในแปลงที่พบการระบาดของโรค หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ให้เกษตรกรเก็บซากพืชที่ตกค้างอยู่ในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูก และให้ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ไม่มีร่องรอยการติดเชื้อ ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตรเมื่อใช้ในแปลงที่มีการระบาดแล้ว ให้นำเครื่องมือมาทำความสะอาดด้วยการล้างและผึ่งแดดให้แห้งก่อนนำกลับไปใช้ในแปลงทุกครั้ง จากนั้นให้ไถพรวนดินและตากดินไว้นาน 1-2 สัปดาห์ เพื่อจะช่วยลดปริมาณเชื้อโรคในดิน หลีกเลี่ยงการปลูกมันฝรั่งในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน และงดการให้น้ำในตอนเย็นและการให้น้ำที่มากเกินไป อีกทั้งควรปรับระยะปลูกไม่ให้แน่นเกินไป เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค

Reference
Main content from: thethaipress.com/2020/27559/
อ่าน:3108
โรคใบไหม้ในทุเรียน โรคใบติดทุเรียน เกิดได้ง่าย ในช่วงอากาศร้อน ปนฝน
โรคใบไหม้ในทุเรียน โรคใบติดทุเรียน เกิดได้ง่าย ในช่วงอากาศร้อน ปนฝน
สภาพอากาศร้อนชื้น เวลากลางวันมีแดดจัด และมีฝนตกในบางพื้นที่ช่วงนี้ แนะนำให้เกษตรกรชาวสวนทุเรียนเฝ้าระวัง การระบาดของโรคใบไหม้หรือโรคใบติด สามารถพบได้ในระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง กรณีที่มีความชื้นสูงเชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะแห้งติดอยู่กับกิ่งก่อนหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคใบไหม้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดของโรคใบไหม้ ให้เกษตรกรตัดส่วนที่เป็นโรคและเก็บเศษพืชที่เป็นโรคและใบที่ร่วงหล่นนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสะสมในแปลง จากนั้น ให้เกษตรกรพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้นด้วย สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อนำ้ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมในคราวเดียวกัน เพื่อฟื้นฟู บำรุงพืช จากการเข้าทำลายของโรคได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ส่วนในแปลงปลูกที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ หลีกเลี่ยง การใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบของต้นทุเรียน จากนั้น ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่งและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก และช่วยลดความชื้นสะสมในแปลงปลูก อีกทั้งควรทำความสะอาดอุปกรณ์การเกษตรเมื่อใช้กับต้นที่เป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ทุกครั้ง

Reference
Main content from: technologychaoban.com
อ่าน:3244
มะยงชิดใบไหม้สีน้ำตาล มะปรางหวานใบไหม้ โรครามะยงชิด
มะยงชิดใบไหม้สีน้ำตาล มะปรางหวานใบไหม้ โรครามะยงชิด
อากาศร้อน และมีฝนตกในบางพื้นที่ระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกมะปรางและมะยงชิดให้ระวังโรคแอนแทรคโนส มักพบเชื้อราสาเหตุโรคเข้าทำลายพืชได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ใบ พบแผลรูปร่างไม่แน่นอน ขอบแผลชัดเจนสีน้ำตาลเข้ม กลางแผลสีน้ำตาลอ่อนบางใสกว่าเนื้อใบรอบๆ กรณีมีความชื้นสูง แผลจะเพิ่มจำนวนขยายใหญ่อย่างรวดเร็วติดต่อกันทั้งใบ ทำให้ใบบิดเบี้ยวหรือไหม้แห้ง หากรุนแรงถึงระยะออกดอก เชื้อราสาเหตุโรคจะเข้าทำลายช่อดอก โดยเห็นเป็นจุดสีน้ำตาลดำกระจายบนก้านดอก ทำให้ดอกเหี่ยวและหลุดร่วงไม่ติดผล ผลอ่อน จะพบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดำและ ร่วงหล่น เชื้อราสาเหตุโรคจะแฝงอยู่ที่ผลอ่อนโดยไม่แสดงอาการของโรค แต่จะแสดงอาการเมื่อผลแก่ โดยพบจุดแผลสีดำเล็กๆ ต่อมาแผลขยายลุกลามและบริเวณแผลอาจพบรอยแตก ทำให้ผลเน่าในที่สุด

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบพืชเริ่มมีอาการของโรค ให้ตัดแต่งกิ่งและเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายทิ้งนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรค และกำจัดวัชพืชรอบโคนต้น เพื่อลดความชื้นในทรงพุ่ม จากนั้น ให้ควบคุมปริมาณธาตุอาหารให้เหมาะสม ไม่ควรใส่ปุ๋ยที่มีค่าไนโตรเจนมากเกินไป ภายหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว เกษตรกรควรตัดแต่งกิ่งให้ทรงพุ่มโปร่ง โดยเฉพาะกิ่งที่เป็นโรค และเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคในฤดูกาลผลิตต่อไป

สำหรับแหล่งปลูกที่พบการระบาดของโรคเป็นประจำ จะพบในช่วงแตกใบอ่อน เริ่มแทงช่อดอก และหลังติดผลอ่อน เกษตรกรควรพ่นในช่วงติดผลด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชแมนโคเซบ 80% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารอะซอกซีสโตรบิน 25% เอสซี อัตรา 10 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารโพรคลอราซ 45% อีซี อัตรา 15 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นทุก 7-10 วัน หากมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค คือ มีฝนตกและอากาศร้อนชื้น ควรพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชดังกล่าว เพื่อป้องกันการระบาดของโรค และควรหยุดพ่นสารก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิตไม่น้อยกว่า 15 วัน หลีกเลี่ยงการพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชในระยะดอกบาน เพื่อป้องกันผลกระทบต่อแมลงช่วยผสมเกสรของพืช

ป้องกัน ยับยั้งด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

📌 ไอเอส ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.farmkaset..link..
📌 ไอเอส ข้อมูลรายละเอียด และโปรโมชั่น ที่ลิงค์นี้นะค่ะ http://www.farmkaset..link..
✅ ปลอดสารพิษ ✅ จากธรรมชาติ ✅ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

🚚 มีบริการเก็บเงินปลายทางฟรี ไม่ต้องโอน

📞 โทรสอบถามหรือสั่งซื้อ 090-592-8614

👉 แอดไลน์ไอดี FarmKaset หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
👉 สอบถามสั่งซื้อทางเพจ ฟาร์มเกษตร หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
ขอบคุณข้อมูลจาก stock.newsplus.co.th/186810
อ่าน:3238
เตือน โรคใบไหม้มะเขือเทศ ป้องกันไว้ ดีกว่าแก้
เตือน โรคใบไหม้มะเขือเทศ ป้องกันไว้ ดีกว่าแก้
จากสภาพอากาศเย็น มีหมอกในตอนเช้า และมีความชื้นสูง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะเขือเทศเฝ้าระวัง โรคใบไหม้มะเขือเทศ ที่สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ เริ่มแรกจะพบอาการของโรคที่ใบล่างก่อน และด้านบนใบพบแผลฉ่ำน้ำสีเขียวหม่นคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ตรงกลางแผลแห้งเป็นสีน้ำตาล บริเวณขอบแผลฉ่ำน้ำมีสีดำ เมื่อพลิกดูด้านใต้ใบบริเวณตรงกันจะพบส่วนของเชื้อราสาเหตุโรคสีขาว และแผลจะลุกลามออกไปทำให้ใบไหม้แห้งเป็นสีน้ำตาลในที่สุด หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมมีความชื้นสูง หรือในสภาพที่มีหมอกลงจัด โรคจะลุกลามอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้จะพบอาการโรคที่ส่วนของลำต้น กิ่ง และผล หากเกิดแผลที่ลำต้นหรือโคนกิ่ง จะทำให้ส่วนยอดแสดงอาการเหี่ยวเฉา เนื่องจากพืชไม่สามารถลำเลียงน้ำและอาหารได้ ต่อมากิ่งหรือต้นจะแห้งตาย หากโรคเข้าทำลายที่ผลจะทำให้ผลเน่า

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรคให้พ่นด้วย สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร โดยพ่นให้ทั่วทั้งบนใบและใต้ใบ ทุก 5-7 วัน และไม่ควรพ่นสารชนิดใดชนิดหนึ่งต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ควรใช้สลับชนิด เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อราสาเหตุโรค

สำหรับในแปลงที่พบการระบาดของโรค หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ให้เกษตรกรเก็บซากพืชไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก จากนั้น ให้ไถพรวนดินและตากดินไว้นานกว่า 2 สัปดาห์ และใส่ปูนขาวเพื่อจะช่วยลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรคในดินลงได้มาก อีกทั้งควรปรับระยะปลูกไม่ให้แน่นเกินไป กรณีปลูกมะเขือเทศแบบยกค้าง ควรตัดแต่งใบล่างให้โปร่ง เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ส่วนต้นที่เป็นโรครุนแรง ควรถอนนำไปทำลายนอกแปลง เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งแพร่ระบาดของโรค หลีกเลี่ยง การปลูกมะเขือเทศในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน งดการให้น้ำ ในตอนเย็น และไม่ให้น้ำมากเกินไป ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตรเมื่อใช้ในแปลงที่มีการระบาดแล้ว ควรนำมาทำความสะอาดด้วยการล้างและผึ่งแดดให้แห้งก่อนนำกลับไปใช้ในแปลงทุกครั้ง

http://www.farmkaset..link..
อ่าน:2987
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp. โดยในอดีตพบระบาดมากในระดับเล็กน้อย-รุนแรงมาก กับพันธุ์การค้าที่มีเนื้อสีขาว ในพื้นที่หลายท้องที่ ได้แก่ ตำบลยายอาม ตำบลสนามไชย ตำบลวังโตนด ตำบลกระแจะ ตำบลช้างข้าม อำเภดนายายอาม ตำบลตะปอน ตำบลมาบไพ ตำบลซึ้ง อำเภอขลุง ตำบลโขมง ตำบลพลอยแหวน ตำบลเขาบายศรี ตำบลทุ่งเบญจา ตำบลหนองบัว ตำบลสองพี่น้อง ตำบลรำพัน ตำบลท่าใหม่ ตำบลแสลง อำเภอเมือง ตำบลมะขาม อำเภอะมะขาม ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดราชบุรี พบการเป็นโรคโดยประมาณ 80-100% คิดเป็นพื้นที่โดยรวม 500 ไร่ นอกจากนี้ยังมีพันธุ์เนื้อสีแดงทีอยู่ในบางพื้นที่ก็มีการระบาดแล้ว ที่ตำบลคลองอุดมสาร อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ลักษณะอาการของ โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล

อาการเริ่มแรกจะพบเข้าทำลายที่บริเวณกิ่งอ่อน หรือ ผลอ่อน เป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กสีน้ำตาลคล้ายสนิมเหล็ก ถ้าแผลขยายใหญ่จะพบอาการเป็นรอยปื้นไหม้ ถ้าพบเป็นที่ผทำให้ผลเสียหายเป็นตำหนิ ทำให้สูญเสียราคาและคุณภาพ

สาเหตุเกิดจาก : เชื้อราที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dothiorella sp.

วิเคราะห์หาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง

จากการสุ่มสำรวจหาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวางในพื้นที่เกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก จำนวนหลายราย ในแต่ละพื้นที่ปลูก เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษา พอสรุปหาสาเหตุของ

การแพร่ระบาดที่ผ่านมาเป็นได้ 7 ประเด็น คือ

1. พบว่าเกษตรกรและนักวิชาการเกษตรยังขาดความเกี่ยวกับโรคนี้ เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นใหม่ในประเทศไทย เริ่มพบการแพร่ระบาดในแถบจังหวัดภาคกลาง ได้แก่ ราชบุรี สมุทสารค จากนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่ผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก ซื้อกิ่งพันธุ์มาจากแถบจังหวัดราชบุรี แล้วอาจมีโรคติดมากับกิ่งพันธุ์ แต่เนื่องจากเกษตรกรเองและนักวิชาการเกษตร ทั้งภาคเอกชนและราชการไม่เคยรู้จักโรค ดังกล่าวมาก่อน เกษตรกรและนักวิชาการด้านเกษตร ก็ยังคิดว่าเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไฟท็อปธอร่า บางรายก็คิดว่าเกิดจากแมลงศัตรูพืช ก็แนะนำการป้องกันกำจัดไม่ตรงกับสาเหตุของโรค เน้นการป้องกันกำจัดในการทดลองใช้สารเคมีเป็นหลัก และมักไม่ตรงกับสาเหตุของโรค

2. เกษตรกรไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคออกจากแปลงปลูก เพราะในเชิงปฏิบัติงานค่อนข้างทำลำบาก เนื่องด้วยแก้วมังกรเป็นพืชมีหนาม หรือ เกษตรกรมักเสียดายกิ่ง หรือ ผลที่เป็นโรค มักมุ่งเน้นแต่การใช้สารเคมี เพราะจริงๆ แล้วสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช จะได้ผลดีในเชิงป้องกันมากกว่ารักษา ไม่เหมือนยาที่ใช้รักษาคน หรือ ในบางรายไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคทิ้งเลย ปล่อยแปลงทิ้งเลิกปลูกและหันไปปลูกพืชชนิดอื่นแทน เนื่องจากการใช้สารเคมีอาจไม่คุ้มต้นทุนการผลิต เพราะประสบปัญหาราคาแก้วมังกรตกต่้ำ

3. เกษตรกรมีการตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคผิดวิธี มักตัดแต่งเฉพาะส่วนที่เป็นโรคออก หรือตัดบริเวณกลางกิ่งที่ไม่ใช่บริเวณรอยข้อต่อของกิ่ง ทำให้เกิดรอยบาดแผลมากขึ้น ทำให้เชื้อโรคสามารถเข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณบาดแผลได้ง่ายมากขึ้น ทำให้โรคมีการระบาดบางต้นยืนต้นตาย

4. ขาดความระมัดระวังในเรื่องการใช้เครื่องมือ ได้แก่ กรรไกรที่ใช้ตัดแต่งกิ่งมักนำไปตัดต้นที่เป็นโรคแล้วไปใช้ตัดแต่งต้นปกติโดยไม่มีการทำความสะอาดก่อนใช้งาน อาจทำให้เชื้อโรคพืชดังกล่าวติดไปกับกรรไกรได้

5.มักพบมีการเร่งใสปุ่ญไนโตรเจนให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0)หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว ทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่ายขึ้น

6. จากการสุ่มสำรวจดินจากแปลงที่พบว่าเป็นโรคดังกล่าว นำไปตรวจวิเคราะห์ทางธาตุอาหาร มักพบดินเป็นกรดจัดมาก มีธาตุเคลเซียม และแมกนีเซียมในปริมาณต่ำ

7. ในพื้นที่ปลูกบางพื้นที่เคยมีการทำนามาก่อนและมักไม่ยกร่องแปลงปลูกบางแปลงพบน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและมีการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เมื่อรวมกับน้ำค้างในช่วงกลางคืน ทำให้แปลงมีความชื้นสูงในแปลงปลูกตลอดเป็นระยเวลานาน อาจทำให้เกิดโรคระบาดง่ายขึ้น

ข้อแนะนำในการป้องกันกำจัดเบื้องต้น

เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยโรคดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกร ทางสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จึงเร่งศึกษาในเบื้องต้น ที่พอจะสรุปไว้เป็นแนวทางในการป้องกันกำจัดไว้ดังนี้ คือ

1.เลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แข็งแรง ปราศจากโรค เพราะเชื้อโรคอาจติดมากับกิ่งพันธุ์ได้

2. เน้นการตัดแต่งกิ่งยอดอ่อนหรือลำต้นหรือส่วนที่เป็นโรค และ เก็บรวบรวมนำไปฝังหรือเผาทำลายเสีย เพื่อลดปริมาณของเชื้อโรคพืช

3. การตัดแต่งกิ่งต้องให้มีขนาดของบาดแผลน้อยที่สุด เช่น ตัดแต่งบริเวณรอยต่อของข้อระหว่างกิ่งจะทำให้เกิดบาดแผลน้อยที่สุด เพื่อป้องกันเชื้อราเข้าทำลายทางบาดแผล หรือ เชื้อแบคทีเรียอื่นหรือแมลง เช่น มดคันไฟ เข้าทำลายซ้ำเติมในภายหลัง

4. ถ้าพบการระบาดมาก หลังจากการตัดแต่งกิ่ง

5. ระมัดระวังอย่านำกรรำกรที่้ใช้ตัดแต่งต้นที่เป็นโรคไปใช้ตัดแต่งต้นปกติ เพระาเชื้อราอาจติดไปกับกรรไกรได้ ควรนำไปล้างทำความสะอาดก่อนนำไปใช้ใหม่ทุกครั้ง

6. ลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอย่าให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0) หรือ ใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือ ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว เพราะจะทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่าย เนื่องจากพืชจะอวบน้ำมากขึ้น เชื้อโรคและแมลงเข้าทำลายได้ง่ายขึ้น แต่ควรใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 กรือ 16-16-16 หรือ สูตรตัวท้ายสูงในช่วงกำลังให้ผลผลิต เช่น 13-13-21 ร่วมกับการฉีดพ่นด้วยธาตุอาหารแคลเซียม และ แมกนีเซียม

7. ถ้าดินเป็นกรดจัดมากอาจจำเป็นต้องปรับสภาพดินด้ววยปูนโดโลไมท์ ซึ่งจะได้รับธาตุแคลเซียมและแมกนีเซียมเสริมไปด้วย (โดยอัตราที่ใช้จำเป็นต้องนำตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์ดูเสียก่อน จึงจะทราบอัตราการใช้ที่แน่นอน)

8. งดการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เนื่องจากจะมีความชื้นสูง เมื่อรวมกับน้ำค้าง จะทำให้เกิดโรคระบาดง่าย โดยควรรดน้ำในช่วงตอนเช้าแทน

อ้างอิง rakbankerd.com /agriculture /page.php?id=4790&s=tblplant

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3087
ยาแก้โรครา ยาแก้โรคใบไหม้ ยาแก้หนอน ยาแก้เพลี้ย จาก ฟาร์มเกษตร สั่งซื้อ ไลน์ไอดี FarmKaset

น้องกุ๊ดจี่ มาแนะนำยาป้องกันและกำจัดโรคพืช กำจัดเพลี้ยแมลงศัตรูพืช กำจัดหนอนต่างๆ จากฟาร์มเกษตร ตามน้องกุ๊ดจี่มาได้เลยนะ

https://www.youtube.com/watch?v=M3ciPXhYZVg
อ่าน:2935
ป้องกันโรคเชื้อรา กำจัดโรคเชื้อรา ที่เกิดกับพืช ด้วย ไอเอส

https://www.youtube.com/watch?v=wpdZMYPU0zg
ไอเอส ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ใช้ได้ทุกพืช

สั่งซื้อ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset
หรือคลิกลิงค์ด้านล่างนี้ เพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset
อ่าน:2942
653 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 65 หน้า, หน้าที่ 66 มี 3 รายการ
|-Page 65 of 66-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การป้องกัน กำจัดเพลี้ย กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วย ชีวภัณฑ์ บิวเวอเรีย และ เมธาไรเซียม ได้ผลดี และปลอดภัย
Update: 2566/11/10 06:26:57 - Views: 7874
ยาฆ่าหนอน ใน ต้นกาแฟ และพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอกี้-บีที และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/04/10 14:42:44 - Views: 3094
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรระเบิดหัว : ตัวช่วยเร่งแป้ง ขยายขนาดหัว เพิ่มน้ำหนักให้มันสำปะหลัง
Update: 2567/03/02 12:46:42 - Views: 107
สารออกฤทธิ์ฮิวมิคแอซิด ฟาร์มิค เพื่อฟื้นฟูระบบรากและปลดปล่อยธาตุอาหารสู่ต้นพริกไทย
Update: 2567/02/13 09:41:28 - Views: 145
กำจัดเชื้อรา ต้นกล้วย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/17 10:26:37 - Views: 3010
ทุเรียนโตไว ใบเขียว แข็งแรง ผลใหญ่ ผลผลิตดี ฉีดพ่น FK-T ธรรมชาตินิยม ใช้ได้ทุกพืช โดย FK
Update: 2566/05/24 10:21:47 - Views: 3026
ความสำเร็จอันหอมหวานของการปลูกทุเรียน: คู่มือสำหรับเกษตรกร
Update: 2566/04/28 13:19:39 - Views: 14503
สตาร์เฟอร์ ปุ๋ยสูตร 10-40-10+3 MgO เป็นตัวช่วยที่ไม่ควรพลาด ที่จะช่วยให้ต้นองุ่นของคุณเติบโตแข็งแรงและมีผลผลิตที่มากขึ้นอย่างมีคุณภาพ
Update: 2567/02/12 13:16:12 - Views: 140
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราแป้ง ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/11 13:12:54 - Views: 3019
ลองกอง โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/22 15:08:31 - Views: 85
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคลำต้นไหม้ ในหน่อไม้ฝรั่ง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/20 12:35:46 - Views: 3033
โรคราสนิมกาแฟ โรคใบจุดกาแฟ โรคกาแฟใบไหม้ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/28 21:47:01 - Views: 3313
ปุ๋ยสำหรับมันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโต และเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง
Update: 2564/09/18 23:44:02 - Views: 3021
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงหมัดผักแถบลาย ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/02 10:25:43 - Views: 3265
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: สู่การออกดอกอันงดงามของกล้วยไม้ด้วยสารอาหารที่เพิ่มพลังการออกดอกและเร่งราก
Update: 2567/02/12 14:42:35 - Views: 171
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคหัวเน่า ในมันหวานญี่ปุ่น ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/06 13:59:39 - Views: 3053
เร่งให้ดอกบานสวย รากแข็งแรงกับปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO สำหรับต้นดอกลีลาวดี
Update: 2567/02/12 14:09:34 - Views: 122
การปลูกบวบ
Update: 2564/08/09 22:32:27 - Views: 3281
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้าง ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 10:36:41 - Views: 4460
กิ่งพันธ์มะนาว พิจิตร1 และมะนาวไร้เมล็ด
Update: 2553/08/19 08:24:19 - Views: 3049
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022