[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคราแป้ง
441 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 44 หน้า, หน้าที่ 45 มี 1 รายการ

โรคพริก โรคแอนแทรคโนสพริก โรคกุ้งและ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
โรคพริก โรคแอนแทรคโนสพริก โรคกุ้งและ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
โรคแอนแทรคโนส หรือโรคกุ้งแห้ง (เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides_ Colletotrichum capsici) มักพบบนผลพริกที่เริ่มสุก หรือก่อนที่ผลพริกจะเปลี่ยนสี อาการเริ่มแรกเป็นจุดหรือแผลช้ำยุบตัวเล็กน้อย ต่อมาแผลขยายใหญ่ลักษณะเป็นวงรีหรือวงกลม บริเวณแผลพบส่วนของเชื้อราเป็นตุ่มสีดำขนาดเล็กเรียงเป็นวงซ้อนกัน ในสภาพที่อากาศชื้นจะเห็นเมือกเยิ้มสีส้มอ่อน ซึ่งเป็นกลุ่มสปอร์ของเชื้อราสาเหตุโรค ถ้าอาการรุนแรงจะทำให้ผลเน่า ผลพริกที่เป็นโรคนี้จะโค้งงอบิดเบี้ยวลักษณะคล้ายกุ้งแห้ง และร่วงก่อนเก็บเกี่ยว

การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#โรคพริก #โรคกุ้งแห้ง #โรคแอนเทรคโนสพริก #พริกเป็นเชื้อรา #โรคราพริก #โรคราในพริก #พริกเป็นรา

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
โรคกุ้งแห้ง หรือ โรคแอนแทรคโนสในพริก
โรคกุ้งแห้ง หรือ โรคแอนแทรคโนสในพริก
#โรคกุ้งแห้ง หรือ #โรคแอนแทรคโนสในพริก สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศเย็นลง มีฝนตก บางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกพริก ในทุกระยะการเจริญเติบโต หมั่นตรวจสอบแปลงพริกอยู่เสมอ เพื่อป้องกันผลผลิตเสียหาย โรคแอนแทรคโนส หรือโรคกุ้งแห้ง (เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides_ Colletotrichum capsici)โรคนี้มักพบบนผลพริกที่เริ่มสุก หรือก่อนที่ผลพริกจะเปลี่ยนสี อาการเริ่มแรกเป็นจุดหรือแผลช้ำยุบตัวเล็กน้อย ต่อมาแผลขยายใหญ่ลักษณะเป็นวงรีหรือวงกลม บริเวณแผลพบส่วนของเชื้อราเป็นตุ่มสีดำขนาดเล็กเรียงเป็นวงซ้อนกัน ในสภาพที่อากาศชื้นจะเห็นเมือกเยิ้มสีส้มอ่อน ซึ่งเป็นกลุ่มสปอร์ของเชื้อราสาเหตุโรค ถ้าอาการรุนแรงจะทำให้ผลเน่า ผลพริกที่เป็นโรคนี้จะโค้งงอบิดเบี้ยวลักษณะคล้ายกุ้งแห้ง และร่วงก่อนเก็บเกี่ยว

แนวทางป้องกัน/แก้ไข

1. เลือกซื้อเมล็ดพันธุ์ หรือต้นกล้า จากแหล่งที่ปราศจากโรค หรือถ้าเก็บเมล็ดพันธุ์เอง ต้องเลือกจากผลพริกที่ไม่เป็นโรค

2. ควรแช่เมล็ดพันธุ์ในน้ำอุ่น 50 องศาเซลเซียส นาน 20-30 นาที ก่อนเพาะ

3. จัดระยะปลูกพริกให้เหมาะสม ไม่ปลูกชิดกันเกินไป และกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อไม่ให้แปลงปลูกมีความชื้นสูง ซึ่งเป็นสภาพที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค

4. หมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบผลพริกเป็นโรค เก็บนำไปทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรค

ป้องกันกำจัด โรคกุ้งแห้ง โรคแอนแทรคโนสพริก โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

พริกเป็นเชื้อรา พริกเป็นรา โรคราพริก ราในพริก แก้โรคเชื้อราในพริก
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
สาเหตุของ โรคราแป้งทุเรียน โรคราแป้งที่เกิดกับทุเรียนนั้น มีสาเหตุมาจาก เชื้อราออยเดียม (Oidium sp.)

ลักษณะอาการของ โรคราแป้งทุเรียน

พบกลุ่มของเชื้อราสีขาวมีลักษณะคล้ายฝุ่นแป้งปกคลุมผิวเปลือกทุเรียน เชื้อสามารถเข้าทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่จำหน่ายได้ ซึ่งการเข้าทำลายของเชื้อในระยะติดผลใหม่ๆก็อาจจะทำให้ผลอ่อนนั้นร่วงหล่นได้ หรือถ้าเป็นกับผลที่กำลังเจริญเติบโตก็จะทำให้สีผิวของทุเรียนผิดปกติไม่เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำให้ราคาผลผลิตตกต่ำลงการแพร่ระบาด เชื้อราแพร่ระบาดทางลมในระยะที่อากาศเย็นและแห้งแล้ง

การป้องกันกำจัด โรคราแป้งทุเรียน

- ในแหล่งปลูกที่สภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการระบาดของโรค เกษตรกรควรตรวจตราผลทุเรียนในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ

- ฉีดพ่นสารอินทรีย์ ไอเอส สำหรับป้องกันกำจัด โรคราแป้ง ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ให้ทั่วบริเวณ ระดับป้องกัน เดือนละครั้ง ระดับการรักษา ทุก 3-7 วัน

- บำรุงต้นทุเรียน ให้เติบโต สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ ด้วยการฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ครบถ้วนตามที่ต้นทุเรียนต้องการ

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคราแป้งในถั่วลันเตา
โรคราแป้งในถั่วลันเตา
กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลันเตาให้เฝ้าสังเกตการระบาดของโรคราแป้ง สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต

ระยะนี้จะมีอากาศเย็น และมีน้ำค้างในตอนเช้า กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลันเตาให้เฝ้าสังเกตการระบาดของโรคราแป้ง สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของถั่วลันเตา มักพบอาการของโรคได้กับทุกส่วนของพืช อาการเริ่มแรกจะพบที่ใบล่างติดโคนต้นก่อน โดยมีลักษณะคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดกระจายเป็นหย่อมๆ ทั้งบนใบและใต้ใบ หากอาการรุนแรง จะเห็นต้นถั่วลันเตาขาวโพลนทั้งต้น ทำให้ใบและส่วนต่างๆ บิดเบี้ยวเสียรูปทรง ใบจะเหลือง ไหม้ และร่วงก่อนกำหนด กรณีเกิดโรคในระยะออกดอก จะทำให้ต้นแคระแกร็น ติดฝักน้อย ฝักบิดเบี้ยว หรือฝักและเมล็ดลีบเล็กลง

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูก กำจัดวัชพืชในแปลงปลูก และบริเวณใกล้เคียงนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดแหล่งสะสมเชื้อราสาเหตุโรค ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการระบาดของโรค หากเริ่มพบต้นที่เป็นโรค ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
กลุ่มปลูกกุหลาบ ระวังโรคราแป้งระบาด
กลุ่มปลูกกุหลาบ ระวังโรคราแป้งระบาด
กรมส่งเสริมการเกษตร แจ้งเตือนเกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบรวมถึงไม้ตัดดอก โดยเฉพาะภาคเหนือระวังโรคราแป้งขาวระบาด ซึ่งมักพบเมื่อสภาพอากาศหนาวเย็น น้ำค้างลงจัดกลางคืนมีความชื้นสูง ทำให้เชื้อเจริญเติบโตได้ดี สามารถแพร่ระบาดโดยปลิวไปกับลม ทำความเสียหายรุนแรงได้

เกษตรกรหมั่นสำรวจแปลงของตนเองอย่างสม่ำเสมอ หากพบขุยสีขาวขึ้นปกคลุมบริเวณด้านบนใบและใต้ใบ เนื้อใบที่ถูกทำลายจะพองออก ใบบิดงอ โดยเฉพาะใบอ่อน และยอดอ่อน ทั้งนี้ โรคราแป้งกุหลาบเป็นโรคสำคัญชนิดหนึ่งของกุหลาบ และไม้ตัดดอกหลายชนิด ลักษณะโรคจะพบเป็นผงสีขาวคล้ายผงแป้งเคลือบอยู่บนผิวใบ ทั้งด้านบนและด้านใต้ใบ พบมากในใบอ่อน และยอดอ่อนของกุหลาบ เนื้อเยื่อส่วนที่เชื้อราเกาะอยู่จะพองออก ชาวบ้านเรียกว่า โรคใบพอง ทำให้ใบบิดงอ ถ้าใบถูกราแป้งเข้าทำลายมาก จะมองเห็นบริเวณที่เป็นโรคมีสีม่วงถึงดำ และหลุดร่วงในที่สุดต้นกุหลาบแคระแกร็น ดอกกุหลาบที่เชื้อราปกคลุมดอกจะไม่บาน หรือบานแต่ดอกไม่สมบูรณ์เสียรูปทรง

วิธีการป้องกันกำจัดโรคนี้ ต้องตัดแต่งกิ่งกุหลาบที่เป็นโรค เก็บใบหลุดร่วงที่โคนต้นนำไปเผาช่วงมีการระบาดขควรงดให้ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง เพราะจะทำให้โรคระบาดรุนแรงขึ้น

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคถั่วฝักยาว ราแป้งถั่วฝักยาว อาการใบเหลือง ใบไหม้ ในถั่วฝักยาว
โรคถั่วฝักยาว ราแป้งถั่วฝักยาว อาการใบเหลือง ใบไหม้ ในถั่วฝักยาว
โรคราแป้งถั่วฝักยาว เกิดจากเชื้อรา ออยเดียม จะพบผงสีขาว ทั้งด้านใต้ใบและบนใบ ถ้าเป็นมากผงสีขาวจะหนาแน่นมองเห็นชัดเจน เมื่อเอามือลูบจะหลุดออกเป็นแผ่น จะพบมากบริเวณโคนต้น แล้วลุกลามขึ้นด้านบน และผงสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง และระบาดโดยปลิวไปตามลม

การป้องกัน

ํ ไม่ควรเก็บเมล็ดพันธุ์จากต้นเป็นโรคไปทำพันธุ์

ํ ควรรดน้ำต้นถั่วให้เปียกทั่วใบอย่างสม่ำเสมอ เพราะส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราแป้งนี้จะไม่งอก ถ้ามีละอองน้ำมาก ๆ

ํ แปลงที่มีประวัติการระบาดของโรคนี้ ควรพ่นสารป้องกัน

ํ แปลงที่เป็นโรคมากควรรื้อและเผาทำลายทันที ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ให้เป็นแหล่งแพร่กระจายของเชื้อโรคต่อไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
สวนยาง อากาศแปรปรวน โรคราแป้งระบาด แนะใส่ปุ๋ยธาตุไนโตรเจนสูง
สวนยาง อากาศแปรปรวน โรคราแป้งระบาด แนะใส่ปุ๋ยธาตุไนโตรเจนสูง
เกษตรเมืองเลยเตือนชาวสวนยางเฝ้าระวังโรคราแป้งกำลังระบาด เหตุอากาศผันผวน ทั้งหนาว หมอกลง ตกบ่ายร้อนจัดหรือมีฝนตก ทำให้เชื้อราแป้งระบาดเร็ว แนะใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูงกว่าปกติ

นายอัคนีวุธ กลับน่วม เกษตรจังหวัดเลย กล่าวว่า ได้ออกประกาศเตือนชาวสวนยางพารา ว่าช่วงนี้สภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน มีทั้งหนาว น้ำค้าง ร้อน หรือมีฝนตกปรอยๆ ซึ่งจะทำเกิดโรคโรคราแป้งในยางพารา โดยโรคราแป้ง หรือโรคใบร่วงออยเดียม (Powdery mildew or Oidium Leaf Disease) เกิดจากเชื้อรา Oidium heveae Steinm ลักษณะทั่วไปจะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเป็นกระจุกเส้นใยสีขาว ถ้าส่องดูด้วยแว่นขยายจะเห็นสปอร์ติดกันเป็นลูกโซ่อยู่ปลายเส้นใย โดยกลุ่มของเชื้อราเจริญได้ดีบนใบ มองเห็นเป็นรอยหย่อมๆ ทั่วไป ซึ่งเชื้อสกุลออยเดียมที่พบทำลายใบและดอกยางเป็นชนิด Oidium heveae ซึ่งเจริญเติบโตบนเนื้อเยื่อของพืชที่มีชีวิตเท่านั้น

“เชื้อราสกุลดังกล่าวอยู่ได้นานข้ามปีได้ อาศัยบนใบยางที่อยู่กิ่งล่างหรือต้นกล้าที่งอกในสวนยาง แต่ยังไม่พบว่าเชื้อรานี้สร้างสปอร์ชนิดอื่นๆ เพื่ออยู่ข้ามฤดูกาลได้ โดยมักจะระบาดบนใบยางอ่อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ส่งผลให้ใบยางร่วงซ้ำอีกครั้ง กิ่งแขนงบางส่วนอาจแห้งตาย ความรุนแรงของโรคนี้อยู่กับลักษณะการผลัดใบ อายุใบ ความต้านทานโรคของพันธุ์ยางด้วย”

นายอัคนีวุธกล่าวว่า การแพร่ระบาดจะรุนแรงช่วงที่ยางผลิใบใหม่ และในพื้นที่ซึ่งมีสภาพแวดล้อมกลางวันร้อนจัด กลางคืนเย็นและชื้น มีหมอกในตอนเช้า หรือมีฝนตกปรอยๆ ในบางวัน โรคราแป้งแพร่กระจายได้โดยลม และแมลงจำพวกไรที่ดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนของยาง ทำให้ใบยางบิดงอ เน่าดำ และร่วงจากลำต้น

สำหรับวิธีการป้องกันและกำจัด ให้เกษตรกรใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูงกว่าปกติในช่วงปลายฤดูฝน และใส่ในช่วงที่ยางผลิใบอ่อน เพื่อเร่งให้ใบยางที่ผลิออกใหม่แก่เร็วขึ้น ถ้าต้นยางที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ให้เกษตรกรพ่นใบยางอ่อนในช่วงเช้าตรู่ด้วยผงกำมะถัน อัตราไร่ละ 1.5-4 กิโลกรัม ทุก 5-7 วัน พ่นประมาณ 5-6 ครั้ง หรือใช้สารเคมีจำพวกเบโนมิล คาร์เบนดาซิม ซัลเฟอร์ ไตรดีมอร์ฟ และกำมะถัน อัตราการใช้ที่แนะนำตามตาราง ห้ามใช้อัตราสูงกว่าคำแนะนำ เพราะจะทำให้ใบยางไหม้ได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคราแป้งยางพารา
โรคราแป้งยางพารา
ในการเพาะปลูกพืชแต่ละชนิดถ้าผู้ปลูกคำนึงถึงการจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำลายของ ศัตรูพืชแต่ละชนิดคงจะดีมาก เพราะ การลดความเสี่ยงนี้ คือ ความสามารถในการจัดการพืชให้รอดปลอดภัยจาก โรคและแมลงศัตรูพืช

ในช่วงเดือน ธันวาคม –มกราคม ใบยางพาราร่วงหล่น เป็นอีกสัญญาณหนึ่งที่ชาวสวนยางต้องเฝ้าสังเกต ต้นยางอย่างใกล้ชิดมากขึ้นเพราะเมื่อใบเก่าร่วงไป ใบใหม่ก็ต้องมาทดแทน ซึ่งโรคราแป้งในยางพาราก็มักจะเกิด ในช่วงแตกใบอ่อน ดังนั้นแล้วก็ต้องเฝ้าระวัง

ราแป้ง เกิดจากเชื้อเชื้อราOidium heveae Steinm ( Oidium Leaf Disease)

เชื้อสาเหตุมีลักษณะเป็นฝุ่นแป้งบนใบอ่อนยางพารามักพบการระบาดในช่วงที่ฝนตกปรอยๆ อุณหภูมิลดลง ๓ – ๔ องศาเซลเซียส หรือสภาพอากาศเย็นอุณหภูมิประมาณ ๑๘ – ๒๐ องศาเซลเซียส ใบอ่อนยางพาราจะมีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง กระจายทั่วทั้งใบ ประมาณ ๒ – ๔ วัน หลังจากนั้นใบจะร่วง มีอาการคล้ายน้ำร้อนลวก อาการรุนแรงร่วงโกรนทั้งต้น ไม่รุนแรงใบจะมีรอยจุด หรือบิดงอใบยางพาราที่เจริญงอกมาแทนใบร่วงโกรนใบจะเล็กกว่าปกติ

ผลกระทบ: กรณีใบร่วงโกรนทั้งต้น ยางพาราจะใช้เวลาเพิ่มที่จะพัฒนาเป็นแก่จัดพร้อมเปิดประมาณ ๓๐ – ๓๕ วันและผลผลิตลดลง กรณีใบเป็นจุดผลผลิตจะลดลง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคราแป้งกุหลาบ
โรคราแป้งกุหลาบ
กรมวิชาการเกษตร เพื่อเกษตรกร ระยะนี้อากาศเย็น และมีหมอกในตอนเช้าอาจส่งผลกระทบต่อการปลูกกุหลาบ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบเฝ้าระวังการเกิดโรคราแป้ง สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของต้นกุหลาบ

โดยจะพบอาการของโรคได้กับทุกส่วนของพืช บนใบอ่อน หรือดอกตูม เริ่มแรกจะพบแสดงอาการบนผิวใบเกิดรอยแผลจุดสีชมพูเข้ม ต่อมาจะพบเชื้อรามีลักษณะคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดขึ้นเป็นหย่อมๆ ทั้งด้านบนใบและใต้ใบ หากรุนแรง จะพบผงสีขาวบนก้านใบ กิ่ง ดอก ก้านดอก ใบอ่อน กลีบเลี้ยง กลีบดอก และลำต้น หรือพบผงสีขาวทั่วทั้งต้น ทำให้ใบและดอกบิดเบี้ยวเสียรูปทรง ใบจะเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล แห้งกรอบ และร่วงในที่สุด

เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูก กำจัดวัชพืช ตัดแต่งและเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดแหล่งสะสมเชื้อราสาเหตุโรค ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการระบาดของโรค หากเริ่มพบต้นที่เป็นโรค ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.)
โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.)
ชนิดพืชที่อาจเกิดผลกระทบ : พืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีน และบวบ

ระยะการเจริญเติบโตของพืช : ทุกระยะการเจริญเติบโต

ปัญหาที่ควรระวัง : โรคราแป้ง (เชื้อรา Oidium sp.)

ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ

พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

แนวทางป้องกัน/แก้ไข

1. ดูแลและบำรุงรักษาต้นพืชให้มีความแข็งแรง สมบูรณ์

2. หมั่นกำจัดวัชพืช เพื่อให้มีการถ่ายเทอากาศในแปลงได้ดี

3. ตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคเริ่มระบาด พ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรค

4. แปลงที่เป็นโรค หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ควรเก็บซากพืชไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
441 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 44 หน้า, หน้าที่ 45 มี 1 รายการ
|-Page 37 of 45-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โกโก้ พืชเศรษฐกิจทางเลือกใหม่สร้างกำไรดี ผลตอบแทน 22,400 บาท ต่อไร่ ต่อปี
Update: 2564/08/12 00:24:21 - Views: 3080
กำจัดโรคใบเหลืองในต้นยางพารา ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/10 12:03:18 - Views: 3324
อ้อยใบไหม้ โรคแส้ดำ หนอนกออ้อย เพลี้ยอ้อย ปุ๋ยสำหรับอ้อย ทดแทนปุ๋ยเม็ด ลดต้นทุน ผลผลิตสูงขึ้น
Update: 2565/04/25 17:26:16 - Views: 3030
การป้องกันกำจัด โรคราดำทุเรียน โรคราแป้งในต้นทุเรียน ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/27 10:17:36 - Views: 3042
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในสับปะรด และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/07 10:45:33 - Views: 2992
โรคราน้ำค้างระบาดในแปลงผัก ผลผลิตตกต่ำ
Update: 2564/08/10 05:04:36 - Views: 3026
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เพิ่มประสิทธิภาพให้ต้นมันสำปะหลังของคุณ
Update: 2567/01/26 12:03:27 - Views: 161
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน น้อยหน่า เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดยไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/26 14:33:51 - Views: 3029
ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 5-3-14 (เพอร์เฟคพี) ตรานกอินทรีคู่ สำหรับ เร่งผล เร่งน้ำหนัก เพิ่มความหวาน พืชออกผลทุกชนิด รวมถึงอ้อย และมันสำปะหลัง
Update: 2566/01/02 08:14:10 - Views: 3221
ฮิวมิค แอซิด: สารออกฤทธิ์ที่พัฒนาดินและเพิ่มผลผลิตในการปลูกมันเทศ
Update: 2567/02/13 09:35:13 - Views: 123
ความสำคัญของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม ซิงค์ และ สารลดแรงตึงผิว ที่มีต่อพืชทุกชนิด
Update: 2566/12/28 05:51:15 - Views: 412
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 8983
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าและ ใน ผักกาดขาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/13 13:18:50 - Views: 3048
🔥หากพบ หนอนเจาะทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ เพลี้ยไก่แจ้ โรคใบจุดทุเรียน เพลี้ยต่างๆ
Update: 2563/02/17 10:37:59 - Views: 3018
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 9263
ยาแก้พริกใบหงิก พริกใบม้วน เพราะเพลี้ยไฟ และเพลี้ยต่างๆเข้าทำลาย ยาแก้โรคพริกที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผลเน่า ใบไหม้ ใบแห้ง
Update: 2563/07/02 10:48:23 - Views: 3861
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้างเทียม หรือโรคผลไหม้สีน้ำตาล ใน ลิ้นจี่ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/16 10:44:45 - Views: 3215
ปุ๋ยสำหรับ พืชออกผลทุกชนิด ฉีดพ่นทางใบ FK-1 เร่งโต และ FK-3 เพิ่มผลผลิต
Update: 2564/09/02 03:08:03 - Views: 2980
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 16862
คู่มืองป้องกันและกำจัดโรคในลำไย โรคราต่างๆ ใบไหม้ ราแป้ง ราสนิม กิ่งแห้ง และราอื่นๆ
Update: 2566/04/30 08:55:27 - Views: 16386
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022