[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคราสีชมพู
212 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 21 หน้า, หน้าที่ 22 มี 2 รายการ

โรคทุเรียน ใบติด ใบไหม้ ไฟทอปธอร่า ราสีชมพู แอนแทรคโนส ราแป้ง ราดำ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคทุเรียน ใบติด ใบไหม้ ไฟทอปธอร่า ราสีชมพู แอนแทรคโนส ราแป้ง ราดำ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
ป้องกันกำจัดโรคทุเรียน เฉพาะที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่ง โรคพืชที่พบในทุเรียน มีจำนวนมาก ที่มีต้นเหตุ หรือสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ

เช่น

โรคใบติด เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani

โรคไฟทอปธอร่า เกิดจากเชื้อรา Phytophthora spp.

โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

โรคราสีชมพู เกิดจากเชื้อรา Cortricium Salmonicolor

โรคราแป้ง เกิดจากเชื้อรา Oidium sp.

โรคราดำ เกิดจากเชื้อรา Polychaeton sp._ Tripospermum sp.

การป้องกันกำจัด

ชุดคู่ป้องกันกำจัด บวกด้วยฟื้นฟูบำรุง

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ โรคใบไหม้ ใบจุด ยอดแห้ง ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟทอปโธร่า

และ FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ราพืชไม่กินปุ๋ย อาการใบซีด ใบเหลือง ต้นแคระ อาการขาดธาตุอาหารของพืช

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
โรคส้มโอ จุดสนิม ราสีชมพู ส้มโอใบไหม้ สแคป โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคส้มโอ จุดสนิม ราสีชมพู ส้มโอใบไหม้ สแคป โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคส้มโอ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ที่พบบ่อย ทั่วทั้งประเทศไทย ได้แก่ โรคราดำส้มโอ โรคราสีชมพูในส้มโอ โรคส้มโอจุดสนิม โรคสแคป

โรคสแคปที่เกิดกับส้มโอ หรือ ส้มโอยางไหล มีสาเหตุจากเชื้อรา อาการจะเป็นแผลนูนสีน้ำตาล ที่ใบส้มโอส หากเกิดกับผลส้มโอ จะพบรอยบุ๋มที่ใต้ผล หากเป็นหนัก จะพบยางไหลออกมา

โรคราสีชมพูในส้มโอ มีสาเหตุจากเชื้อรา พบที่เปลือกกิ่งของต้นส้มโอ เป็นจุดสีน้ำตาล และลุกลามจนทำให้กิ่งส้มโอแห้งตายได้ และราสีชมพู จะเกิดที่กิ่งที่แห้ง ส่งผลให้ ส้มโอใบเหี่ยว ส้มโอใบร่วง

โรคราดำส้มโอ พบราดำ ขึ้นตามใบ และผลของส้มโอ ราดำจะปกคลุมใบ ทำให้ส้มโอสังเคราะห์แสงได้ไม่ดี โตช้า ผลอ่อนร่วง ผลผลิตน้อยลง ไม่สวยงาม คุณภาพไม่ดี

การป้องกันกำจัด

ชุดคู่ป้องกันกำจัด บวกด้วยฟื้นฟูบำรุง

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ โรคใบไหม้ ใบจุด ยอดแห้ง ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟทอปโธร่า

และ FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ราพืชไม่กินปุ๋ย อาการใบซีด ใบเหลือง ต้นแคระ อาการขาดธาตุอาหารของพืช

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
โรคเชื้อราต่างๆ ที่เกิดกับลองกอง
โรคเชื้อราต่างๆ ที่เกิดกับลองกอง
โรคราสีชมพูในลองกอง เชื้อราสาเหตุ Erythricium salmonicolor (Corticium salmonicolor)

สภาพอากาศในช่วงนี้มีฝนตกและฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกลองกอง ในระยะ ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต รับมือโรคราสีชมพู (เชื้อรา Erythricium salmonicolor (Corticium salmonicolor))

พบเส้นใยสีขาวของเชื้อราเจริญคลุมกิ่ง หรือลำต้น ต่อมาเส้นใยของเชื้อราหนาขึ้นเปลี่ยนเป็นสีชมพูอ่อนยึดแน่นกับกิ่ง เมื่อเฉือนดูพบเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล กิ่งที่เป็นโรคยอดจะเหี่ยว ใบเหลืองและร่วงเป็นหย่อมๆ ต่อมากิ่งจะแห้งตาย

http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
สภาพอากาศร้อน สลับกับมีฝนตกในช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนลองกองเฝ้าระวัง การระบาดของโรคราสีชมพู มักพบโรคในระยะที่ต้นลองกองมีผลอ่อน เริ่มแรกพบเส้นใยสีขาวของเชื้อรา เจริญคลุมกิ่งหรือลำต้น ต่อมาเส้นใยของเชื้อราหนาขึ้นและเปลี่ยนเป็นสีชมพูยึดแน่นกับกิ่ง เมื่อเฉือนดูบริเวณกิ่งหรือลำต้นที่พบเชื้อรา จะพบเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล และกิ่งที่เป็นโรคราสีชมพูบริเวณยอดจะเหี่ยว ใบเหลือง และร่วงเป็นหย่อมๆ ต่อมากิ่งจะแห้งตายในที่สุด

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคราสีชมพู ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มต้นลองกองให้โปร่ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อลดการสะสมความชื้นใต้ทรงพุ่มไม่ให้มีมากเกินไป ส่วนในช่วงฤดูฝนเกษตรกรควรหมั่นตรวจดูต้นลองกองบริเวณกิ่งภายในสวนอย่างสม่ำเสมอ หากพบอาการใบเหลืองหรือพบราสีขาว หรือสีชมพูขึ้นบนกิ่ง ให้เกษตรกรตัดกิ่งที่เป็นโรค เก็บเศษซากพืชส่วนที่เป็นโรค และกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกนำไปเผาทำลายนอกสวน เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมผลผลิต
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
ทุเรียนเป็นไม้ผลเขตร้อน ซึ่งในประเทศไทยมีปลูกกันมากในภาคตะวันออกและภาตใต้ พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์หมอนทอง ก้านยาว ชะนี และกระดุมทอง ทุเรียนนอกจากจะผลิตเพื่อบริโภคในประเทศแล้วยังมีการผลิตเพื่อส่งไปขายยังต่างประเทศทั้งในรูปของผลสดและแปรรูปในลักษณะต่าง ๆ แต่เนื่องจากทุเรียนเป็นไม้ผลที่ต้องการการดูแลเอาใจใส่อย่างดี โดยเฉพาะการเข้าทำลายของโรคและแมลง ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่พบเสมอทุกปี ดังนั้นเกษตรกรที่ทำสวนทุเรียนควรได้รู้จักโรคของทุเรียน และการป้องกันกำจัดโรคชนิดต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เพื่อให้ทุเรียนที่ผลิตได้มีคุณภาพดี

โรคที่สำคัญของทุเรียนมีดังนี้

โรครากเน่าและโคนเน่า

เกิดจากเชื้อราเจริญเติบโตเข้าไปทำลายทุเรียนทั้งที่โคนต้น ลำต้น กิ่งและราก โดยจะสังเกตได้จากต้นที่เป็นโรคนี้จะมีใบด้าน ไม่เป็นมัน และสีจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วร่วงหล่น ต้นที่เป็นโรคจะแสดงอาการเน่าและใบเหี่ยว แผลที่ต้นหรือกิ่งจะเน่าเป็นจุดฉ่ำน้ำ เปลือกจะเน่าเป็นสีน้ำตาลและมีเมือกไหลออกมา ซึ่งจะสังเกตได้ในเวลาเช้าหรือช่วงที่มีอากาศชื้น เมื่อถากเปลือกออกจะเห็นเปลือกด้านในมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเข้ม และถ้าขุดดูรากจะพบว่าที่รากแก้วและรากฝอยถูกทำลายเน่าเป็นสีน้ำตาล ทำให้ต้นทุเรียนทรุดโทรมและตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปเผาทำลาย
2. อย่าให้น้ำขังแฉะบริเวณโคนต้น
3. ถากบริเวณที่เป็นโรคออกเพียงบาง ๆ แล้วใช้สารเคมีจำพวกเมททาแลคซิลหรือฟอสเอทธิลอะลูมินั่มผสมน้ำทาบริเวณที่ถากออก


โรคทเรียนผลเน่า

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลาย ส่วนใหญ่จะเริ่มเข้าทำลายบริเวณปลายผลหรือก้นผล โดยจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ ปนเทา แล้วขยายตัวออกไปตามเปลือกผล ทำให้รอยแบ่งของเปลือกแตกออกจากกันได้ง่าย เมื่อผ่าตรวจดูภายในผลจะพบว่าเนื้อเยื่อโดยรอบของเปลือกจะเน่าช้ำสีน้ำตาล ส่วนที่พูเนื้อหุ้มเมล็ดนั้นจะเน่าเละมีสีเหลืองปนน้ำตาล แล้วลุกลามเป็นหมดทุกพู นอกจากนี้ผลที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นก่อนกำหนด
การป้องกันกำจัด
1. เก็บผลที่เป็นโรคผลเน่าไปเผาทำลายเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา หลังจากทุเรียนติดผลแล้ว 2 เดือน

โรคใบติดทุเรียน

เกิดจากเชื้อรา โรคนี้จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน ลักษณะอาการบนใบที่พบจะมีรอยคล้าย ๆ ถูกน้ำร้อนลวก ขอบแผลไม่แน่นอน อาจเริ่มที่ปลายใบ กลางใบ หรือโคนใบ แล้วลุกลามจนเป็นทั้งใบ และจะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวนวลแผ่ปกคลุมคล้ายใยแมงมุมแผ่ไปตามผิวใบ ใบที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นไปในที่สุด ถ้าใบที่เป็นโรคไปสัมผัสกับใบที่ปกติไม่ว่าจะเป็นใบที่อยู่ล่าง ๆ หรือใบที่อยู่เหนือกว่า ใบปกตินั้นก็จะเป็นโรคใบติดได้เช่นกัน
การป้องกันกำจัด
1. ไม่ควรปลูกทุเรียนให้ชิดกันเกินไปเพราะจะทำให้ทรงพุ่มประสานกัน เกิดเป็นโรคติดต่อกันได้ง่าย
2. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายเสีย ตลอดจนทำความสะอาดบริเวณโคนต้นโดยเก็บใบที่เป็นโรคเผาทำลาย
3. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ พ่นทุก 5-7 วันต่อครั้ง

โรคจุดสนิมทุเรียน

เกิดจากพืชชั้นต่ำพวกสาหร่ายทำความเสียหายให้กับทุเรียนโดยดูดอาหารจากใบ ทำให้ต้นทรุดโทรม อาการของโรคจะพบทั้งที่ใบและกิ่ง ที่ใบจะปรากฏเป็นจุดหรือดวงสีเทาอ่อนปนเขียว แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลคล้ายสนิมมีลักษณะเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ ส่วนการทำลายที่กิ่งนั้นจะทำให้เปลือกหนา ซึ่งนานเข้าจะทำให้เปลือกแตก กิ่งแห้งและทรุดโทรมในเวลาต่อมา
การป้องกันกำจัด
1. ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราสีชมพูทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายกิ่งโดยเฉพาะบริเวณง่ามกิ่งซึ่งมีผลทำให้ใบมีสีเหลืองร่วงหล่นไปคล้ายกับอาการกิ่งแห้งและใบร่วงที่เกิดจากโรคโคนเน่า แต่จะสังเกตเห็นเส้นใยของเชื้อรามีลักษณะเป็นขุยสีชมพูปกคลุมบริเวณโคนกิ่งที่มีใบแห้งนั้น และทำให้เปลือกของกิ่งทุเรียนปริแตกและล่อนจากเนื้อไม้ เมื่อถากเปลือกจะพบว่าเนื้อไม้ภายในมีสีน้ำตาล ถ้าเกิดรอบกิ่งจะทำให้กิ่งทุเรียนแห้งตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย และตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่งเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราแป้งทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายผลทุเรียนตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ ผิวที่ผลอ่อนจะมีผงสีขาว ๆ คล้ายโรยด้วยแป้ง และผลอ่อนก็จะร่วงไป แต่ถ้าเชื้อโรคเข้าทำลายเมื่อผลโตแล้วจะทำให้ผลแก่มีสีผิวที่ผิดปกติ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
การป้องกันกำจัด
1. นำผลทุเรียนที่ร่วงหล่นไปเผาทำลาย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3175
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกทุเรียน สภาพดิน ควรเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินเหนียวปนทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี มีหน้าดินลึก

เพราะทุเรียนเป็นพืชที่อ่อนแอต่อสภาพน้ำท่วมขัง และความเป็นกรดด่างของดิน 5.5-6.5 หากจำเป็นต้องปลูกทุเรียนในสภาพดินทราย จำเป็นต้องนำหน้าดินจากแหล่งอื่นมาเสริมและต้องใส่ปุ๋ยคอกร่วมด้วย และควรมีการจัดการเรื่องระบบน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกติดผลของทุเรียนด้วย

แหล่งน้ำ ต้องมีแหล่งน้ำจืดให้ต้นทุเรียนได้เพียงพอตลอดทั้งปี

อุณหภูมิและความชื้น ทุเรียนชอบอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วงประมาณ 25-30
องศาเซลเซียส มีความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศประมาณ 75-85 เปอร์เซ็นต์ หากปลูกในพื้นที่ที่มีอากาศแห้งแล้ง

พื้นที่ที่มีอากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด และมีลมแรง จะพบปัญหาใบไหม้หรือใบร่วง ทำให้ต้นทุเรียน
ไม่เจริญเติบโตหรือเติบโตช้าให้ผลผลิตช้า น้อย และไม่คุ้มต่อการลงทุน

การเตรียมพื้นที่ จำเป็นต้องมีการปรับพื้นที่ปลูก กำหนดผังปลูกและติดตั้งระบบน้ำ โดยปรับพื้นที่
ให้ราบไม่ให้มีแอ่งน้ำท่วมขัง และควรปรับเป็นเนินลูกฟูกเพื่อปลูกทุเรียนบนสันเนิน ระยะปลูก 8*8 เมตร หรือ 9*9 เมตร (16-25 ต้น/ไร่) หากมีการทำสวนขนาดใหญ่ ควรขยายระยะระหว่างแถวให้กว้างขึ้นเพื่อสะดวกต่อการปฏิบัติงาน การวางแนวปลูกควรขวางความลาดเทของพื้นที่ หรือกำหนดแถวปลูกในแนวทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตก และถ้ามีการจัดวางระบบน้ำจะต้องพิจารณาแนวทางจัดวางท่อในสวนเพื่อให้มีการจัดการที่ง่ายและสะดวก

การวางผังปลูก

สามารถเลือกระบบการปลูกทุเรียนเป็นลักษณะต่าง ๆ ได้แก่

ระบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสามเหลี่ยมด้าน
เท่าระยะปลูก 8-10 เมตร เหมาะกับพื้นที่ที่ค่อนข้างเรียบ

ระบบแถวกว้างต้นชิด (Hedge row system)
ในการปลูกระบบนี้ระยะระหว่างต้นเป็น 30-50% ของระยะระหว่างแถวและมีการวางแถวปลูกในแนวเหนือใต้ มีด้านกว้างระหว่างแถวขวางแนวขึ้นลงของพระอาทิตย์ แถวมีความกว้างพอที่จะให้เครื่องจักรกลผ่านเข้าออกได้สะดวก

การดูแลบำรุง

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

การป้องกันกำจัดโรคทุเรียน

โรคจากเชื้อราต่าง เช่น โรคใบติด (โรคใบไหม้) โรคไฟทอปธอราในทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคราดำทุเรียน ตัดและเก็บส่วนที่เป็นโรครวมกัน เผาทำลาย และ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง เพื่อยับยั้งการลุกลาม ไม่ให้ขยายวง

การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูทุเรียน

เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน หนอนเจาะผล เหล่านี้ควรฉีดป้องกันไว้ หากเป็นแล้วเสียหายไปแล้ว ผลผลิตก็เสียหาย ทำได้คือการยับยั้ง ไม่ให้ลุกลามเข้าไปทำลายผลใหม่ ที่ยังไม่โดยหนอนเจาะทำลาย ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ชีวภัณ์กำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

# Go..Reference..Site..
อ่าน:3292
โรคราสีชมพูในลองกอง
โรคราสีชมพูในลองกอง
สาเหตุของโรคราสีชมพูในลองกอง เกิดจากเชื้อรา Corticium salmonicolor Berk & Br.

ลักษณะอาการ ของโรคราสีชมพู

เชื้อราเข้าทําลายบริเวณกิ่งและลําต้น โดยเชื้อราจะเริ่มจับที่กิ่งและลําต้นเป็นจุดสีขาวเล็กๆ แล้วเจริญเป็นเส้นใยปกคลุมบางๆ และค่อยๆ หนาขึ้น ทําให้เปลือกที่หุ้มลําต้น กิ่ง เน่าเปื่อยยุ่ยเป็นสีน้ําตาลอ่อน เมื่อถูกทําลายรุนแรงเส้นใยจะเปลี่ยนเป็นสีชมพู อาการต้นลองกองที่โรคราสีชมพูเข้าทําลายที่สังเกตได้เด่นชัด คือ ใบจะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แคระแกร็น ใบแห้งและร่วงหล่น เนื้อเปลือกเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล กิ่งหรือลําต้นจะแห้งตายไปในที่สุด หากพบเชื้อราเข้าทําลายบนกิ่งที่มีหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกองเข้าทําลายจะทําให้กิ่งแห้งตายอย่างรวดเร็ว

พืชอาศัยของโรคราสีชมพู

ราสีชมพูสามารถเข้าทําลายพืชได้หลายชนิด เช่น ลองกอง ยางพารา กาแฟ ส้มเขียวหวาน มะม่วง ทุเรียน การแพร่กระจายและฤดูการระบาด

โรคราสีชมพูระบาดมากในช่วงฤดูฝน มักเกิดกับต้นที่มีทรงพุ่มแน่นทึบ หรือมีการทําลายของหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง การทําสวนลองกองใกล้กับการทําสวนยางพาราควรระมัดระวังโรคนี้ให้มาก เพราะเป็นโรคที่ระบาดรุนแรงในยางพาราเช่นกัน

การป้องกันและกําจัด โรคราสีชมพู

1. ควรทําการตัดแต่งกิ่งลองกองให้ทรงพุ่มโปร่ง ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เป็นการลดความชื้นในทรงพุ่มและลดการสะสมเชื้อรา โดยเฉพาะกิ่งที่มีการทําลายของหนอนกินใต้ผิวเปลือกลองกอง

2. ในช่วงฤดูฝนหมั่นตรวจแปลงบ่อยๆ ถ้าพบอาการในระยะแรกให้ถากเปลือก และ ฉีดพ่นด้วยไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

3. ตัดกิ่งส่วนที่เป็นโรคไปเผาทําลาย และฉีดพ่นแผลด้วย ไอเอส

4. ในช่วงที่มีการระบาด ฉีดพ่นไอเอส ผสม FK-1 ทุก 5-7 วัน หมั่นสังเกตุอาการ หากจำเป็นต้องใช้มากกว่า 4 ครั้ง ควรหายามาสลับใช้ เพื่อป้องกันการดื้อยา

Reference
Main content from: trat.doae.go.th
อ่าน:3347
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
อาการ ทุเรียนยอดแห้ง ใบทุเรียนแห้ง ใบทุเรียนหลุดร่วง มีสาเหตุหลักๆจากโรคเชื้อรา เชื้อรา Phyllosticta sp. ทำให้เนื้อเยื่อตายบริเวณปลายใบ และมักมีเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ปะปนเล็กน้อย

โรคใบติด ใบไหม้ ใบร่วง (Leaf blight_ leaf fall)

เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

โรคใบจุด (Leaf Spot)

เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โดย หากเป็นเชื้อ Colletotrichum sp. ซึ่งทำให้เกิดโรคแอนแทรคโนส ใบอ่อนจะมีสีซีดคล้ายโดนน้ำร้อนลวก ส่วนขยายพันธุ์เป็นจุดดำ ๆ ส่วนใบแก่เป็นจุดกลมขอบแผลสีเข้ม และมีการขยายขนาด ส่วนเชื้อรา Phomopsis sp. ทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายบริเวณใบแก่ มีขนาดจำกัด

เชื้อรา Pseudocercospora sp ทำให้เนื้อตายเป็นจุดเหลี่ยม ๆ เล็ก ๆ กระจัดกระจายบนใบ และใต้ใบมีกลุ่มสปอร์สีดำ ทำให้ใบร่วงรุนแรงได้

โรคราสีชมพู (Pink disease)

เกิดจากเชื้อรา Erythricium Salmonicolor กิ่งมีลักษณะคราบสีขาวแกมชมพูแห้งแข็งบนผิวเปลือก เมื่อใช้มีดถากเปลือกบริเวณที่เป็น จะพบเนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum Zibethinum ทำลายช่อดอกในระยะช่อบาน ทำให้ดอกมีสีคล้ำ เน่าดำก่อนบาน มีราสีเทาดำปกคลุมเกสร กลีบดอก ทำให้ดอกแห้ง ร่วงหล่น

โรคราแป้ง (Powdery mildew)

เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. มักแพร่ระบาดในช่วงที่อากาศแห้งและเย็น เข้าทำลายในระยะดอกบานและติดผลอ่อน เชื้อรามีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง ปกคลุมกลีบดอกและผลอ่อน ทำให้แลดูขาวโพลน ต่อมาดอกและผลอ่อนจะร่วง ส่วนผลที่พัฒนาโตขึ้น จะมีเชื้อราสีขาวปกคลุมบาง ๆ อาจทำให้ผลชะงักการเจริญเติบโต ทำให้ผลผิวหยาบไม่สวย รสชาติอาจเปลี่ยนแปลง และมีเปลือกหนา

โรคโคนเน่า รากเน่า ผลเน่า และแคงเคอร์ที่กิ่ง

เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora โดยเชื้อราจะเข้าทำลายระบบราก และโคนต้น ปรากฎจุดฉ่ำน้ำ และมักมีน้ำเยิ้มออกมา เมื่อใช้มีดถากดูจะพบว่ามีน้ำไหลทะลักออกมา เนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม หากอาการเน่าลุกลาม จะทำให้ใบร่วง โดยเริ่มจากปลายกิ่ง ในที่อากาศชื้น เชื้อราสามารถแพร่ทางลม เข้าทำลายกิ่งและผลได้ โดยมักพบเชื้อรา Lasiodiplodia sp. ร่วมด้วยเสมอ

โรคใบจุดสนิม จุดสาหร่าย

เกิดจากสาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze พบ ในใบแก่ ลักษณะเป็นจุดฟูเสีเขียวแกมเหลือง ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้ม ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาด

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:4729
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
ศัตรูที่สำคัญของทุเรียนในระยะต้นเล็กซึ่งมีการเจริญเติบโตทางกิ่งก้านสาขา ได้แก่ โรครากเน่าโคนเน่า โรคราใบติด โรคราสีชมพู เพลี้ยไก้แจ้ และปัญหาสำคัญ คือวัชพืช ควรใช้หลายๆ วิธีประกอบกัน ทั้งการใช้แรงงานถอน ถาก ตัดด้วยเครื่องมือหรือใช้ยาอินทรีย์ โดยต้องระมัดระวังอย่าให้ระบบรากกระทบกระเทือน

1. โรคจากเชื้อราไฟทอฟธอรา
1.1 โรคเข้าทำลายใบ ให้พ่นไอเอส ให้ทั่วทั้งภายในและนอกทรงพุ่ม
1.2 โรคที่ระบบราก ใช้ไอเอสผสมน้ำราดใต้ทรงพุ่มให้ทั่ว พร้อมกับกระตุ้นการเจริญของรากโดยการผสมปุ๋ยน้ำ FK-1 ไปพร้อมกัน
1.3 โรคที่ลำต้นและกิ่ง ถ้าอาการเล็กน้อย ให้ขูดผิวเปลือกส่วนที่เป็นโรคออกนำไปเผาทำลาย แล้วทาด้วยปูนแดง ถ้าพบอาการรุนแรง ใช้กรดฟอสฟอรัส ฉีดเข้าลำต้น หรือกิ่งในบริเวณตรงข้าม หรือส่วนที่เป็นเนื้อไม้ดีใกล้บริเวณที่เป็นโรค

2. โรคใบติด พบอาการเล็กน้อยให้ตัดเผาทำลาย หากอาการรุนแรงให้พ่นด้วยไอเอส

3. เพลี้ยไก่แจ้ เมื่อพบยอดทุเรียนถูกทำลายมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ของยอดหรือพบไข่บนยอดมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ให้พ่นด้วยมาคา ทุก 3 ถึง 7 วันจนใบแก่

4. หนอนเจาะผล พ่นด้วยไอกี้-บีที

ขอบคุณข้อมูลก่อนปรับแต่งจาก arda.or.th/kasetinfo/south/durian/controller/01-08.php
อ่าน:3041
ปัญหา ของทุเรียน อย่างหนึ่งคือปัญหำโรครากเน่าโคนเน่ำทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora
ปัญหา ของทุเรียน อย่างหนึ่งคือปัญหำโรครากเน่าโคนเน่ำทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora
กรมวิชาการเกษตรเล็งเห็นถึงความสาคัญของการผลิตทุเรียน เพราะในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การส่งออกทุเรียนของไทยได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะจากตลาดการนาเข้าของจีนที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลต่อการปรับตัวของราคาทุเรียนทั้งในตลาดส่งออกและตลาดภายในประเทศ ราคาที่ปรับตัวสูงขึ้นได้สร้างแรงจูงใจต่อการขยายพื้นที่การเพาะปลูกทุเรียนเป็นจานวนมาก เกษตรกรจึงต้องมีการดูแลรักษาให้ต้นทุเรียนมีความอุดมสมบูรณ์เพื่อให้พร้อมสาหรับการออกดอกติดผล และมีการป้องกันกาจัดศัตรูพืชเพื่อป้องกันผลผลิตเสียหาย แต่เนื่องจากทุเรียนมีศัตรูหลายชนิด และพบระบาดเป็นประจาในพื้นที่ปลูกทุเรียนทั่วไป บางชนิดมีการระบาดรุนแรงเฉพาะในบางพื้นที่ และบางชนิดมีความรุนแรงถึงขั้นทาให้ต้นทุเรียนตายได้ ปัญหำที่สำคัญของทุเรียนที่อย่ำงหนึ่งคือปัญหำโรครำกเน่ำโคนเน่ำทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora ระบาดได้ดีในช่วงที่มีฝนตกหนักและมีความชื้นสูง แม้จะได้มีการศึกษาวิจัยแก้ปัญหานี้มากกว่า 50 ปีแล้วก็ตาม นักวิชาการของภาครัฐและเอกชนต่างช่วยกันระดมความคิดในการแก้ปัญหานี้และเกษตรกรพยายามดาเนินการทุกวิถีทางที่จะปราบโรคร้ายให้หมดไป นอกจากปัญหาการระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า และยังมีโรคที่สาคัญอีกหลายชนิดได้แก่ โรคใบติด โรคราสีชมพู โรคราแป้ง โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุด และอาการที่เกิดจากการขาดธาตุอาหาร รวมทั้งการสับสนของเกษตรกรเกี่ยวกับโรคราสีชมพูของทุเรียน และโรครากเน่าโคนเน่า ที่ทาให้เกษตรกรใช้สารเคมีในการป้องกันกาจัดโรคไม่ถูกต้อง และทาให้ต้นทุนในการผลิตสูง

อ้างอิง doa.go.th/learn/?qa=98/52-โรคทุเรียน
อ่าน:3010
212 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 21 หน้า, หน้าที่ 22 มี 2 รายการ
|-Page 21 of 22-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
มะยงชิดใบไหม้ มะปรางใบไหม้ ใบจุด ราสนิม แอนแทรคโนส โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/15 23:25:03 - Views: 3418
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน องุ่น เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/24 14:25:09 - Views: 2962
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
Update: 2563/06/08 08:49:24 - Views: 2961
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
Update: 2564/04/22 11:28:26 - Views: 3365
โรคกิ่งเน่า ลำต้นเน่า โคนเน่า ในมังคุด: วิธีป้องกันและกำจัดด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/13 07:58:38 - Views: 3065
อุตสาหกรรมมันเส้น และการผลิตมันเส้น
Update: 2555/04/11 14:56:21 - Views: 3216
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในฝรั่ง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/06 12:00:28 - Views: 3157
ประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะกรูด
Update: 2566/05/04 11:56:57 - Views: 3153
ดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ราแป้ง กำจัดโรคดาวเรือง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/15 11:46:16 - Views: 3003
โรคราสนิมแคคตัส โรคแคคตัส โรคจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส หยุดโรค (1ขวด ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/16 07:37:52 - Views: 3096
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์ และเทคนิคการควบคุมไอออน
Update: 2566/01/11 19:51:02 - Views: 3197
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/04/26 00:48:24 - Views: 4314
โรคเปลือกแตก ยางไหล กิ่งแห้ง ที่เกิดกับไม้ยืนต้นต่างๆ แก้ได้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/05/05 03:12:57 - Views: 3778
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 17082
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น กล้วย ผลใหญ่ หวีใหญ่ เต็มเครือ ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:21:42 - Views: 3031
กำจัดหนอน ใน สตอเบอร์รี่ เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/18 15:21:46 - Views: 3166
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น แตงกวา ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:15:13 - Views: 3039
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
Update: 2563/11/27 08:49:56 - Views: 5149
การเพิ่มผลผลิตมะม่วง ด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3 โดยวิธีง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก
Update: 2566/01/06 07:12:02 - Views: 3051
มะไฟ ผลร่วง กำจัดโรคมะไฟ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/05 11:21:41 - Views: 3100
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022