[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - หนอนผีเสื้อ
145 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 14 หน้า, หน้าที่ 15 มี 5 รายการ

หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน
หนอนเยื่อไผ่ หรือ หนอนรถด่วน นำไปประกอบอาหาร ต้ม ทอด ตำน้ำพริก การศึกษา พบว่า จากการบริโภคหนอนรถด่วนนี้จะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนจำพวกกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย 8 ชนิด

อันดับ Lepidoptera
วงศ์ Pylalidae
ชื่อวิทยาศาสตร์ Omphisa fuscidentalis
โดย วรวุฒิ วรคุตตานนท์

หนอนรถด่วน หรือ Bamboo Caterpillar เป็นหนอนของผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่ง ซึ่งตัวหนอนกินเยื่อไผ่เป็นอาหาร ชาวจีนฮ่อเรียก จูซุง คนพม่าเรียก ลาโป้ว และชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า คลีเคล๊ะ ส่วนคนไทยเรียกว่าหนอนรถด่วน เพราะ ตัวหนอนมีรูปร่างลักษณะคล้ายโบกี้รถไฟนั่นเอง หนอนรถด่วนเป็นหนอนผีเสื้อที่มีวงจรชีวิตที่ยาวนานถึงหนึ่งปีเต็ม เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ผีเสื้อจะจับคู่ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูฝนจากนั้นเพศเมียก็จะวางไข่บนหน่อไม้เมื่อตัวอ่อนฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปอยู่ในหน่อไม้เพื่อกินเยื่อไผ่เป็นอาหารหนอนจะผ่านการลอกคราบถึง 5 ครั้งใช้เวลา ถึง 10 เดือน จากนั้นจะเข้าสู้ระยะดักแด้เพื่อเปลี่ยนสรีระร่างกายประมาณ 40 – 60 วัน และลอกคราบออกเป็นตัวเต็มวัยในที่สุด ผีเสื้อมีอายุ 1 – 2 สัปดาห์ ไผ่ที่พบหนอนรถด่วน ได้แก่ ไผ่ซาง ไผ่หก ไผ่บง ไผ่ไร่รอ และไผ่สีสุก พบที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 430 – 1300 เมตร ชาวไทยภาคเหนือนิยมบริโภคหนอนรถด่วนมายาวนาน วิธีนำไปประกอบอาหารได้แก่ ต้ม ทอด ตำน้ำพริก การศึกษา พบว่า จากการบริโภคหนอนรถด่วนนี้จะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนจำพวกกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย 8 ชนิด และที่ไม่จำเป็นต่อร่างกายอีก 9 ชนิด ดังนี้

ประเภทกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายเมื่อเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ตามน้ำหนัก ได้แก่ ทรีโอนีน 1.15% ซีสตีน 0.28% วาลีน 1.60% เมธิโอนีน 0.66%ไอโซลิวซีน 0.94% ลิวซีน 2.05% เฟนิวอะลานีน 0.63% และไลซีน 1.66%

ประเภทกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็นต่อร่างกาย ได้แก่ ทรีโอนีน 1.15% เซรีน 1.84% กลูตามิก 2.96% โปรลีน 1.46% ไกลซีน 1.01% อะลานีน 1.24% และอาร์จีนีน 1.22%

การสังเกตต้นไผ่ที่มีหนอนรถด่วนตามภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยดูว่า ต้นไผ่ต้นใดมีขนาดปล้องค่อนข้างสั้น และหากสังเกต จะพบรูเล็กๆ ที่โคนของไผ่ประมาณปล้องที่ หนึ่งหรือ ปล้องที่สอง ซึ่งเป็นรูที่ตัวเต็มวัยจะออกมาเมื่อกลายเป็นผีเสื้อ จึงมั่นใจได้ว่าไผ่ลำนี้มีหนอนรถด่วนอยู่แน่นอน

หนอนรถด่วนยังเป็นแมลงเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับชาวชนบท ทั้งนี้เพราะตัวหนอนสดมีราคาขายส่งกิโลกรัมละ 100 – 250 บาท ทำให้ชาวบ้านมีรายได้มากถึง 500 – 1000 บาทต่อวัน สำหรับพ่อค้าแมลงทอด จะขายหนอนรถด่วนราคากก.ละ1200 – 1500 บาททีเดียว

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
หนอนไม้ไผ่ หรือ หนอนเยื่อไฝ่ หรือ รถด่วน กินได้ อร่อย และมีประโยชน์
หนอนไม้ไผ่ หรือ หนอนเยื่อไฝ่ หรือ รถด่วน กินได้ อร่อย และมีประโยชน์
หนอนไม้ไผ่ หรือ หนอนเยื่อไผ่ หรือรถด่วน เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่ง เป็นแมลงที่กินได้ (edible insect) มีชื่อชื่อทางวิทยาศาสตร์ (Omphisa fuscidenttalis Hampson) จัดอยู่ในวงศ์ Pryralidae มีชื่อสามัญอีกหลายชื่อ เช่น หนอนกินเยื่อไผ่ หนอนผีเสื้อเจาะไผ่ชาวบ้านทางภาคเหนือเรียก แน้ แมะ หรือแด้ หรือด้วงไม้ไผ่ หรือรถด่วน อีก้อ เรียกฮาโบลัว กะเหรี่ยง เรียกคลีเคล้ะ พม่า เรียกวาโป้ว และจีนฮ่อ เรียกจูซุง มีถิ่นที่อยู่อาศัยพบกระจายอยู่ในป่า จากข้อมูลทางโภชนาการของหนอนรถด่วนทอดประกอบด้วย (ในหน่วยของ % (w/w) ) โปรตีน 22.5_ คาร์โบไฮเดรต 11_ ไขมัน 55.4_ กรดแอมิโน และแร่ธาตุจำพวกเหล็ก ฟอสฟอรัส แคลเซียม และโพแทสเซียม โดยในปริมาณ 100 กรัมจะให้พลังงาน 643.7 กิโลแคลอรี (ไพฑูรย์ 2538_ 2544)

การบริโภคหนอนเยื่อไผ่เป็นที่นิยมในกลุ่มผู้บริโภคเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเขตจังหวัดภาคเหนือ ทั้งยังมีคุณค่าทางโภชนาการและประโยชน์ต่อร่างกายมีโปรตีนสูงและไขมันต่ำ จึงจัดได้ว่าเป็นแมลงเศรษฐกิจที่ทำรายได้ให้กับประชาชนในภูมิภาคนี้ และมีการส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริมรายได้ แต่มีผู้บริโภคอีกจำนวนมากไม่นิยม

การแปรรูปหนอนเยื่อไผ่ให้มีรูปร่างที่แตกต่างไปจากเดิม โดยกรรมวิธีการบดด้วยเครื่องบดแบบค้อนทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หนอนเยื่อไผ่ออกมาในรูปลักษณะผง ที่อาจทำให้ผู้บริโภคยอมรับในรูปของผลิตภัณฑ์มากขึ้น นำไปใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารพื้นเมืองชนิดอื่นได้อย่างหลากหลายและช่วยส่งเสริมให้ผู้เพาะเลี้ยงมีรายได้มากขึ้นและเพิ่มมูลค่าให้แก่หนอนเยื่อไผ่

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
กองทัพหนอนคูนหรือหนอนต้นขี้เหล็กนับหมื่นๆ ตัว บุกเข้าโรงเรียนเสิงสาง ต.เสิงสาง อ. เสิงสาง จ.นครราชสีมา ไต่ตัวอาคารและพื้นที่ต่างๆ ภายในโรงเรียนได้เริ่มกลายเป็นดักแด้

หนอนต้นขี้เหล็กที่ฟักตัวเป็นดักแด้ ได้กลายร่างเป็นผีเสื้อแสนสวยสีเหลืองเขียวบินไปทั่วบริเวณ ซึ่งก่อนหน้านี้ มีชาวบ้านที่ทราบข่าวการระบาดต่างพากันมาเก็บตัวดักแด้ไปประกอบอาหารและจำหน่าย ทำให้จำนวนของดักแด้ของหนอนต้นขี้เหล็ก แทบจะไม่เหลือให้เห็น ทั้งๆ ที่ทางโรงเรียนเห็นว่า หนอนขี้เหล็กไม่มีพิษมีภัยอะไรกับนักเรียน จึงอยากจะอนุรักษ์เอาไว้ดูความสวยงามเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้วงจรชีวิต แต่ก็ไม่ทัน เพราะชาวบ้านเข้ามาเก็บตัวดักแด้ในวันที่คณะครูอาจารย์และนักเรียนไปทัศนศึกษา จึงไม่มีใครคอยอยู่ห้ามปรามชาวบ้านที่เข้ามาเก็บ จึงเหลือหนอนดักแด้ที่กลายเป็นผีเสื้อแสนสวยโบยบินให้เห็นไม่มากนัก

ในขณะที่บริเวณหาดชมตะวัน ภายในอ่างเก็บน้ำลำปลายมาศ อุทยานแห่งชาติทับลานที่ 4 อำเภอเสิงสางจังหวัดนครราชสีมา ก็มีผีเสื้อที่กลายร่างจากหนอนคูนหรือหนอนต้นขี้เหล็ก ออกมาโบยบินเป็นจำนวนมาก ซึ่งในบริเวณนี้เป็นเขตอุทยานฯ ที่ชาวบ้านไม่สามารถเข้ามาเก็บตัวดักแด้ของหนอนผีเสื้อต้นขี้เหล็กได้ จึงทำให้มีจำนวนของผีเสื้อออกมาโบยบินให้ได้ชมความงามตลอดแนวของอ่างเก็บน้ำลำปลายมาศ ในระยะที่สามารถเข้าใกล้ได้แค่คืบเดียวเท่านั้น นับเป็นภาพที่สวยงาม ทำให้ประชาชนที่ทราบข่าวพากันเดินทางมาชมความสวยงามของผีเสื้อในบริเวณนี้จำนวนมาก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
แห่เก็บดักแด้ หนอนต้นขี้เหล็ก ชาวบ้านชี้หากินยาก รสชาติอร่อย ราคาดี
แห่เก็บดักแด้ หนอนต้นขี้เหล็ก ชาวบ้านชี้หากินยาก รสชาติอร่อย ราคาดี
แห่เก็บดักแด้ หนอนต้นขี้เหล็ก ชาวบ้านชี้หากินยาก รสชาติอร่อย ราคาดี
แห่เก็บดักแด้หนอนต้นขี้เหล็กระบาดในโรงเรียน ชาวบ้านชี้หากินยาก รสชาติอร่อย ราคาดี
หลังจากสื่อต่างๆ ได้เผยแพร่ข่าวการระบาดของหนอนต้นคูณ หรือหนอนต้นขี้เหล็ก ที่โรงเรียนเสิงสาง อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา ทำให้มีชาวบ้านแห่เดินทางไปเก็บตัวดักแด้ของหนอนขี้เหล็กเพื่อนำไปประกอบอาหารรับประทาน และนำไปขายกันเป็นจำนวนมาก

โดยนางทองจันทร์ เครือชัย อายุ 51 ปี ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งทำงานอยู่กรุงเทพฯ หลังทราบข่าวจากทางโทรทัศน์ว่ามีการระบาดของหนอนผีเสื้อในอำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา จึงอาศัยโอกาสที่เดินทางกลับมาใช้สิทธิเลือกตั้งเทศบาลฯ ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ แวะมาที่โรงเรียนเสิงสางก่อน เพื่อเก็บหนอนดักแด้กลับไปฝากญาติพี่น้องที่บ้านเกิด โดยบอกว่าอยู่แถวๆ บ้านก็มี และชาวบ้านชอบทานกันมาก แต่ก็ไม่ได้มีจำนวนมากขนาดนี้ พอทราบข่าวจึงใช้ช่วงเวลาที่จะต้องเดินทางกลับไปใช้สิทธิเลือกตั้ง แวะมาเก็บดักแด้นำไปฝากญาติพี่น้องและนำไปคั่วกิน โดยบางส่วนอาจจะนำไปขาย ราคาจะตกกิโลกรัมละ 300 บาท

ด้านนางสาวดารณี พิมพ์เภา อายุ 22 ปี ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์อีกรายหนึ่ง บอกว่า เดินทางไปมารับญาติที่ นวนคร ปทุมธานี เพื่อที่จะกลับบ้านที่ จ.กาฬสินธุ์ จะไปทำบุญให้กับคุณพ่อที่เพิ่งเสีย และเมื่อทราบข่าวว่ามีการระบาดของหนอนขี้เหล็กที่นี่ ก็เลยแวะมาเก็บตัวดักแด้ไปคั่วกินที่บ้าน เพราะรสชาติอร่อยเหมือนดักแด้ และหากินยาก ซึ่งอยู่ที่แต่ละคนจะชอบแบบไหน ส่วนตนจะนำไปคั่วก่อน จะทำให้ได้รสชาติที่มันอร่อยมากขึ้น

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ความสัมพันธ์ลับ ระหว่างหนอนผีเสื้อกับมด
ความสัมพันธ์ลับ ระหว่างหนอนผีเสื้อกับมด
ในธรรมชาติ มด จัดว่าเป็นสัตว์ผู้ล่าที่สามารถกินอาหารได้หลากหลายไม่เว้นแม้กระทั้งแมลงด้วยกันเอง หนอนผีเสื้อหลายชนิดก็กลายเป็นอาหารอันโอชะของมดด้วยเช่นกัน แต่หนอนผีเสื้อบางกลุ่มกลับมีวิวัฒนาการอย่างแนบแน่นกับมดจนแทบแยกออกจากกันไม่ได้ โดยเฉพาะหนอนในวงศ์ผีเสื้อสีน้ำเงิน (Lycaenidae) หนอนผีเสื้อบางชนิดในวงศ์นี้กินเฉพาะตัวอ่อนมดเป็นอาหาร เกิดเป็นความสัมพันธ์แบบภาวะล่าเหยื่อ (predation) แต่ในที่นี้ผู้ล่า (predator) คือ หนอนผีเสื้อ ส่วน มด กลายเป็นเยื่อ (prey) แทน ตัวอย่างเช่น หนอนผีเสื้อมอธ (Liphyra brassolis) สามารถสร้างสารฟีโรโมนที่คล้ายกับของมดแดง (Oecophylla smaragdina) จนสามารถเข้าไปอาศัยอยู่ในรังมดและคอยกินตัวอ่อนของมดแดงภายในรังจนกระทั่งเข้าดักแด้และออกมาเป็นตัวเต็มวัย

นอกจากนี้หนอนผีเสื้อบางชนิดมีความสัมพันธ์กับมดแบบภาวะพึ่งพาอาศัยกัน (mutualism) โดยหนอนผีเสื้อจะปล่อยของเหลวออกมาจากต่อมบนลำตัวซึ่งของเหลวนี้จะดึงดูดให้มดเข้ามากินและทำให้มดคอยทำหน้าที่ดูแลคุ้มครองหนอนผีเสื้อจากศัตรูทั้งหลายจนไม่มีใครกล้ามายุ่งวุ่นวายกับหนอนอีกเลย แต่จากการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ประเทศญี่ปุ่นพบว่าของเหลวที่หนอนผีเสื้อฟ้าไม้ก่อญี่ปุ่น (Arhopala japonica) ปล่อยออกมาให้มด (Pristomyrmex punctatus) กินนั้น ไม่ได้เป็นเพียงของเหลวธรรมดาเสียแล้ว เมื่อ ดอกเตอร์มาซารุ และทีมงานแห่งมหาวิทยาลัยโกเบ พบว่าของเหลวที่หนอนผีเสื้อฟ้าไม้ก่อญี่ปุ่นปล่อยออกมาทำให้มดงานที่กินของเหลวนี้เคลื่อนที่ช้าลงและตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อศัตรูของหนอนผีเสื้อมากกว่ามดที่ไม่ได้กินของเหลวนั้น แสดงว่าของเหลวที่หนอนผีเสื้อฟ้าไม้ก่อญี่ปุ่นปล่อยออกมานี้สามารถควบคุมมดได้ ซึ่งพฤติกรรมของหนอนผีเสื้อฟ้าไม้ก่อญี่ปุ่นนี้เข้าข่ายความสัมพันธ์ก้ำกึ่งในรูปแบบภาวะปรสิต (parasitism) ต่อสังคมมดนั่นเอง

ผู้เรียบเรียง : นายทัศนัย จีนทอง

ที่มาของภาพ : ทัศนัย จีนทอง_ http://www.farmkaset..link..
ที่มาของแหล่งข้อมูล:

http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
เพลี้ยอ่อนผักบุ้ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ Aphis gossypii (Aphidiae) เพลี้ยอ่อนจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง ทำให้ผลผลิตผักบุ้งเสียหาย ตัวอ่อนมีสีเขียวเข้ม บางครั้งพบตัวอ่อนสีเหลืองซีด หากพบใต้ใบหนาแน่น

ป้องกัน กำจัดเพลี้ยอ่อนผักบุ้ง ด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acherontia lachesis (Sphingidae) หนอนผีเสื้อจะกัดกินใบผักบุ้ง จนเกิดความเสียหาย ลักษณะตัวหนอน จมีสีเขียวแถบเหลือง ของฟ้า โตเต็มวัย ยาวประมาณ 10-12 ซม.

ป้องกัน กำจัดหนอนในผักบุ้ง กำจัดหนอนต่างๆ ด้วย ไอกี้-บีที

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง

โรคราสนิมขาว สร้างความเสียหายให้กับผักบุ้ง ทั้งผักบุ้งไทย และผักบุ้งจีน สามารถพบโรคนี้ได้ทั่วไป

อาการของโรคราสนิมขาว จะเกิดจุดเหลืองซีด บริเวณใบผักบุ้ง หลังจากนั้นจะเริ่มเป็นแผลสีขาว อยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่งผลให้ผักบุ้งโตช้า ได้ผลผลิตน้อย และดูไม่สวยงาม ไม่น่าทาน ทำให้ขายยาก ราคาตก

สาเหตุของโรคราสนิมขาว

เกิดจากเชื้อรา Albugo ipomoeae-aquaticae ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดี หรือลุกลามเข้าทำลายได้มาก ในช่วงอุณหภูมิ 10-35 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภมิทั่วไปของไทย

ป้องกัน กำจัดโรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง ยับยั้งโรคผักบุ้งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ด้วย ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโต ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้พืชโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

หนอนผีเสื้อหัวกะโหลกในงา หรือ หนอนแก้ว
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลกในงา หรือ หนอนแก้ว
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลกในงา หรือ หนอนแก้ว
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก (Acherontia styx ; Death’s head hawk month) หรือเกษตรกรมักจะเรียกว่า “หนอนแก้ว” เป็นแมลงศัตรูที่มีพืชอาหารกว้าง พบในถั่วงา มะเขือ ยาสูบ มันเทศ ม่านบาหลี และแตง เป็นต้น

วงจรชีวิตของหนอนผีเสื้อหัวกะโหลกใช้เวลา 49-56 วัน ผีเสื้อเพศเมียหนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 125-156 ฟอง ระยะไข่ 6-7 วัน ระยะหนอน 19-21 วัน หนอนที่โตเต็มที่มีขนาดลำตัวใหญ่ยาว 10 เซนติเมตร ดักแด้ยาว 5.5 เซนติเมตร กว้าง 1.5 เซนติเมตร ระยะดักแด้ 17-23 วัน จึงเป็นตัวเต็มวัย เพศเมียมีชีวิต 12-14 วัน เพศผู้มีชีวิต 9-10 วัน ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อที่มีสีสันน่ากลัว โดยเฉพาะที่สันหลังอกมีรูปหัวกะโหลกเป็นภาพลวงตาเพื่อข่มขู่ศัตรูในการป้องกันตัวเอง ขนาดของผีเสื้อ เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้ โดยเพศเมีย มีลำตัวยาว 5.3 เซนติเมตร ปีกคู่หน้ายาว 5.6 เซนติเมตร งวงยาว 1.7 เซนติเมตร กว้าง 0.2 เซนติเมตร และระยะระหว่างปลายปีกสองข้าง 9-12 เซนติเมตร

ลักษณะการทำลาย

หนอนผีเสื้อหัวกะโหลกเป็นแมลงศัตรูที่สําคัญของงา ทำความเสียหายกับงาอย่างมากและรวดเร็ว เนื่องจากหนอนมีขนาดใหญ่ สามารถกัดกินใบงาจนเหลือแต่ก้านและลำต้น เมื่อกินใบจนหมดต้นก็จะย้ายไปกินต้นอื่น หนอนออกหากินในเวลากลางคืน จะเข้าทำลายตั้งแต่งาเริ่มแตกใบจริงจนกระทั่งติดดอกออกฝัก หนอนชนิดนี้มักชอบหลบอยู่ใต้ใบ ตัวหนอนมีลักษณะสีเขียวคล้ายต้นงา ทําให้สังเกตได้ยาก

อ้างอิง
ที่มาของข้อมูล : ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์
ลิงค์อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
ชบาในบ้านเรารู้จักกันมานานแล้ว จะเห็นได้จากบ้านคนสมัยก่อนจะมีชบายอยู่แทบทุกบ้านปัจจุบันชบาได้รับการผสมพันธุ์เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ออกมามากมาย ซึ่งล้วนแต่สวย ๆ งาม ๆทั้งนั้น ทำให้ได้ดอกของชบาที่มีรูปร่างสวยงามสีสันของดอกสดใส ขบานั้นจัดเป็นไม้พุ่ม ความสูงดดยทั่วไปประมาณ 2.50 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม มนรี ปลายใบแหลม แต่ปัจจุบันก็ยังมีพันธุ์ แตกต่างออกไปอีกมากมาย

การดูแล

แสง ชอบแสงแดดมาก

น้ำ ต้องการน้ำพอประมาณ

ดิน เป็นไม้ที่ปลูกได้ง่ายสามารถเจริญเติบโตได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ไม่ควรให้ดินเปียกหรือแฉะเกินไป

ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก

การขยายพันธ์ ตอน ปักชำ

โรคและแมลง ไม่ค่อยมีโรคจะมีก็แต่เพลี้ยที่รบกวนอยู่

การป้องกันกำจัด ฉีดพ่นด้วยยามาลาไธออนหรือไดอาซินอน ตามคำแนะนำที่ระบุไว้ในฉลาก

ลักษณะเด่น

คือ มีเส้นใยและยางเมือก (mucilagnous) อยู่ในเนื้อไม้โดยทั่วไปเป็นไม้พุ่มขนาดกลางใบเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับมีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปไข่ รูปกลม รูปรีหรือเว้าเป็นแฉก3-5 แฉก มีกลีบดอก 5 กลีบแต่ละดอกจะเชื่อมติดกันเป็นวงที่ฐานดอกเกสรเพศผู้ประกอบด้วยอับเรณูสีเหลืองรูปไตและก้านชูอับเรณูสีขาวหรือสีเดียวกันเกสรเพศเมีย อยู่ปลายหลอดเกสรเพศผู้มักมีก้านเล็ก ๆ แยกยอดเกสรเพศเมียเป็น 5 ยอกตามจำนวนห้องรังไข่ส่วนยอดมีน้ำหวานสำหรับจับละอองเรณู

ประเภทของดอกอาจแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ
1.ดอกบานเป็นรูปถ้วย
2.ดอกบานเป็นรูปแผ่แบน
3.กลีบดอกบานแบบแผ่โค้ง

การขยายพันธุ์

การขยายพันธุ์มี 3 วิธี คือ
1.การปักชำ
2.การเสียบยอด
3.การติดตา

โรคและแมลงศัตรู
1. โรค ที่พบในชบาได้แก่ โรคใบจุดในช่วงฤดูฝน โรคใบหงิกที่เกิดจากเชื้อไวรัสโดยมีแมลงหวี่ขาวเป็นพาหะ

2. แมลงศัตรุ ที่พบมากได้แก่ แมลงหวี่ขาวดูดน้ำเลี้ยงจากใบและยอดอ่อนทำให้เกิดโรค ใบหงิก เพลี้ยแป้ง เพี้ยหอย
ดูดน้ำเลี้ยงจากใบและกิ่งก้านนอกจากนี้ยังมีหนอนผีเสื้อบางชนิดกัดกินดอกอ่อนทำให้ดอกไม่บานหรือกลีบเว้าแห่วง

3. สัตว์สัตรู ได้แก่ หอยทาก ทำลายโดยการกัดกินดอก กำจัดโดยใช้มือดึงออกหรือโรยปูนขาวรอบพื้นที่ปลูก

สรรพคุณทางยาและประโยชน์

ในคัมภีร์อายุรเวท พูดถึงสรรพคุณของดอกชบาว่า ช่วยฟอกโลหิต บำรุงจิตใจให้แช่มชื่น บำรุงผิวพรรณ นอกจากนี้ยังช่วยรักษาและบรรเทาโรคเกี่ยวกับไต และโดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง เช่นเสียเลือดประจำเดือนมากเกินไป ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ รวมทั้งปัญหาเรื่องระดูขาวไม่เพียงแต่ดอกชบาเท่านั้นที่ใช้เป็นยาดีของอินเดีย ส่วนอื่นๆของชบายังใช้เป็นยารักษาโรคได้ด้วย อย่างเช่น เปลือกต้นชบาใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบชบาใช้แก้แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก บำรุงผม

ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ มีระดูขาว - นำดอกชบาสด 4 ดอกมาตำให้แหลก แล้วกินตอนท้องว่างในตอนเช้าติดต่อกัน 7 วัน นำดอกชบามาตากให้แห้งในที่ร่ม เมื่อแห้งสนิทดีแล้ว เอามาบดเป็นผง กินครั้งละ 1 ช้อนชาตอนเช้าติดต่อกันนาน 7 วัน
ประจำเดือนไม่มา ใช้ดอกชบา 3 ดอกบดให้แหลก แล้วผสมกับน้ำมะนาวสัก 2 ช้อนโต๊ะ หรือผสมกับนม 1 แก้ว แล้วดื่มตอนท้องว่างตอนเช้า จะช่วยปรับเรื่องประจำเดือนได้ เอาเฉพาะกลีบดอกชบาผสมกับน้ำตาลอ้อยหรือน้ำตาลปี๊บอย่างละเท่าๆ กันใส่ในโถแก้วมีฝาปิด แล้วเอาโถแก้วออกตากแดดติดต่อกันสัก 21 วัน น้ำตาลจะละลายผสมกับดอกชบา พอครบกำหนดแล้วเอามากินครั้งละ 2 ช้อนชา วันละ 2 ครั้ง นานสองถึงสามสัปดาห์ ยาสูตรนี้ถือว่า เป็นยาบำรุงประจำเดือน
ดับร้อนและแก้ไข้ - ใช้ดอกชบา 4 ดอกแช่ในน้ำต้มสุก 2 แก้ว แล้วดื่มต่างน้ำ จะช่วยดับร้อนผ่อนกระหายและแก้ไข้ได้ดี
รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา เช่น ฮ่องกงฟุต - ใช้เปลือกต้น 50 กรัม แช่ในแอลกอฮอล์ 150 ซีซี นานหนึ่งวัน แล้วกรองเอาแต่น้ำยาไว้ทาบริเวณที่เป็นฮ่องกงฟุต
รักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก - ใช้ใบชบาหรือฐานดอกก็ได้มาตำให้แหลก แล้วเอามาพอกบริเวณที่ถูกไฟไหม้น้ำร้อนลวก น้ำเมือกจากใบจะช่วยรักษาแผลได้เป็นอย่างดี
บำรุงผม - ใช้ใบชบาหนึ่งกำมือมาล้างให้สะอาด ตำให้แหลก เติมน้ำเล็กน้อย แล้วคั้นเอาแต่น้ำ กรองเอากากทิ้ง แล้วใช้น้ำเมือกจากใบชบาสระผม ช่วยชำระล้างสิ่งสกปรก และบำรุงเส้นผมให้ดกดำเป็นเงางาม

Reference: nongyai.ac.th
อ่าน:3882
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หมั่นสำรวจสวนและเฝ้าระวังการระบาดของหนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง

ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีลายบนปีก ลำตัวยาวประมาณ 1.2 ซม. เมื่อกางปีก ปีกกว้างประมาณ 2.5 ซม.จะวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ที่ขั้วผลมะม่วง

หลังจากนั้นจะฟักเป็นตัวหนอน ตัวหนอนมีสีแดงสลับขาวพาดตามขวางของลำตัว ตัวหนอนจะเจาะผลมะม่วงบริเวณก้นผลเข้าไปอาศัยและกัดกินอยู่ภายในผลและเจาะเข้าไปจนถึงเมล็ดอ่อนของมะม่วง และขับมูลออกทางรูที่เจาะเข้าไป

ผลที่ถูกทำลายจะมีขี้ขุยออกมาบริเวณเปลือกของผล ภายในผลที่ถูกทำลายจะพบหนอน 5-10 ตัวต่อผล เมื่อผ่าผลมะม่วงดูจะพบรอยทำลายเป็นทางยาวเข้าเมล็ด ทำให้ผลเน่าเสียและร่วงหล่น อาจพบผลร่วงตั้งแต่ขณะยังเป็นผลเล็ก แต่ในบางครั้งจะไม่ร่วงเพราะระหว่างผลและก้นขั้วผลมีใยถักยึดไว้ตั้งแต่เมื่อหนอนเริ่มฟักออกจากไข่ พบการทำลายทั้งผลเล็กและเริ่มแก่

วิธีการป้องกันกำจัดหนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง

1. การป้องกันจะให้ผลดีกว่าการกำจัดเพราะตัวหนอนกัดกินอยู่ภายในผล การพ่นยา ไอกี้-บีที ควรพ่นขณะที่มะม่วงยังติดผลอ่อนอยู่ ซึ่งจะเป็นวิธีป้องกันผีเสื้อวางไข่

2. ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันและกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

3. เก็บผลมะม่วงที่ถูกหนอนทำลายที่ติดอยู่บนต้น และที่หล่นมาเผาหรือฝังทำลาย

4. การห่อผลมะม่วงตั้งแต่ขนาดผลอ่อนจะช่วยป้องกันไม่ให้ผีเสื้อมาวางไข่

5. ใช้ FK-1 ฉีดพ่น เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค หรือสามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ การใช้ ไอกี้-บีที เพื่อป้องกันกำจัดหนอนได้ในครั้งเดียวกัน

Reference: main content from samutprakan.doae.go.th
อ่าน:5821
หนอนองุ่น หนอนกระทู้องุ่น (หนอนกระทู้ผักในองุ่น) ป้องกันกำจัดด้วย สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย
หนอนองุ่น หนอนกระทู้องุ่น (หนอนกระทู้ผักในองุ่น) ป้องกันกำจัดด้วย สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย
หนอนกระทู้ผัก (Mealy bugs) ที่เข้าทำลายองุ่น

การเข้าทำลาย : กัดกินใบองุ่น ก้าน ยอด และผล

ลักษณะอาการ : จะพบกลุ่มไข่และตัวหนอนอายุ3-4 วัน อยู่บริเวณใต้ใบ ตัวหนอนมีการเจริญเติบโตค่อนข้างเร็ว กัดกินใบองุ่นทำให้ใบพรุน ไม่มีพื้นที่ให้สังเคราะห์แสง และชะงักการเจริญเติบโตในที่สุดจึงต้องมีการป้องกันกำจัดตั้งแต่ระยะแรก

การระบาด : พฤษภาคม-กันยายน

การป้องกันกำจัด :

1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มกลุ่มไข่และหนอนอายุ 3-4 วัน

2. ติดไฟแบล๊คไลท์ล่อหนอนผีเสื้อกลางคืน

3. การใช้สารปลอดภัย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

✅ ปลอดสารพิษ ✅ จากธรรมชาติ ✅ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

🚚 มีบริการเก็บเงินปลายทางฟรี ไม่ต้องโอน

📞 โทรสอบถามหรือสั่งซื้อ 090-592-8614

👉 แอดไลน์ไอดี FarmKaset หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
👉 สอบถามสั่งซื้อทางเพจ ฟาร์มเกษตร หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
reference: main content from hrdi.or.th
อ่าน:3081
145 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 14 หน้า, หน้าที่ 15 มี 5 รายการ
|-Page 14 of 15-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
รักษา โรคทานตะวันใบไหม้ โรคใบจุดทานตะวัน ราน้ำค้าง โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/21 04:45:38 - Views: 3077
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะกิ่งและลำต้น ใน มะขามหวาน และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/16 15:01:00 - Views: 3119
มะนาวใบไหม้ ใบเหลือง ขอบใบแห้ง เพราะโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/08/03 02:58:39 - Views: 4112
ไขข้อข้องใจ … ทำไมแหนมถึงกินดิบได้?
Update: 2565/11/16 13:48:55 - Views: 9830
แก้ปัญหาโรคใบไหม้ ใบแห้ง ใบจุด ราสนิม โรคจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค 1ขวด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/16 07:40:46 - Views: 3393
โรคราน้ำค้างคะน้า คะน้าใบไหม้ คะน้าใบจุดสีน้ำตาล โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/13 03:06:19 - Views: 3026
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ลิ้นจี่ เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/20 11:27:06 - Views: 2999
ยากำจัดโรคต้นเน่า ใน ดอกทานตะวัน โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/06 15:40:50 - Views: 2970
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:41:38 - Views: 3160
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
Update: 2564/04/27 09:44:54 - Views: 3677
ราแป้ง ในดอกกุหลาบ โรคราต่างๆ ในต้นดอกกุหลาบ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/04/20 10:58:45 - Views: 81
ยารักษาโรค ไฟทอปธอร่า Phytophthora ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/16 07:37:01 - Views: 3269
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์ และเทคนิคการควบคุมไอออน
Update: 2566/01/11 19:51:02 - Views: 3200
เพิ่มผลผลิตอ้อย ด้วยปุ๋ย FK-1 890บาท และ FK-3S 950บาท โตไวผลผลิตดี
Update: 2562/10/06 07:54:44 - Views: 3249
ที่สุดของ ปุ๋ยน้ำ FK-1 ทดแทนปุ๋ยเม็ด ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ธาตุหลัก N20% P20% K20% และสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ Mg23% Zn10% โปรดอ่านวิธีใช้ โทร 090-592-8614 ไลน์ @FarmKaset
Update: 2565/03/07 00:04:59 - Views: 3075
APCO วิจัยสำเร็จใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดด้วยสารสกัดจากพืชกินได้ปราบ HIV
Update: 2564/08/12 00:21:22 - Views: 3117
กำจัดหนอน ไอกี้-บีที [Aiki-BT] สารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง สกัดจากธรรมชาติ FK-1 เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อราในพืช
Update: 2566/06/19 13:23:19 - Views: 506
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคแอนแทรคโนส ใน พุทรา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/11 10:13:00 - Views: 3407
ดาบเหล็กน้ำพี้ คุณค่าเหนือกาลเวลา เป็นมงคลเสริมอำนาจบารมี ป้องกันสิ่งเลวร้าย
Update: 2566/11/20 13:57:55 - Views: 199
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์: เลือกสูตรที่เหมาะกับลิ้นจี่ในทุกช่วงอายุ
Update: 2567/02/13 08:54:59 - Views: 159
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022