<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

โรคราดำมรณะ ในอินเดียอันตรายซ้ำซ้อนช่วงวิกฤติ Covid-19

172.70.143.20 2564/08/02 14:25:15 , View: 2479, e
โรคราดำมรณะ ในอินเดียอันตรายซ้ำซ้อนช่วงวิกฤติ Covid-19

โรคราดำมรณะในคน (Mucormycosis) เป็นโรคที่ระบาดอย่างหนักในประเทศอินเดียช่วงวิกฤติ Covid-19 เนื่องจากเป็นเชื้อราที่สามารถลุกลามเนื้อเยื่อในร่างกายได้อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในร่างกายที่อ่อนแอทำให้เสี่ยงเสียชีวิตค่อนข้างสูง สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัดนำเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อออกก่อนลุกลามหนัก หรือรับยาอย่างต่อเนื่อง 2 เดือน



โรคราดำมรณะ (Mucormycosis) คืออะไร

หลายคนเรียกกันทั่วไปว่า “เชื้อราดำ (Black Fungus)” เกิดจากเชื้อราจากธรรมชาติชื่อ “Mucormycetes” พบได้ในดินหรืออินทรียวัตถุที่เกิดการเน่าเปื่อยแล้ว เช่น ซากไม้ ใบไม้ ผักผลไม้ที่เน่าแล้ว หรือปุ๋ยหมัก เป็นต้น เชื้อราชนิดนี้มีผลต่อผู้ที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอหรือร่างกายไม่แข็งแรงทำให้การกระจายของเชื้อค่อนข้างรวดเร็วจนส่งผลให้มีอัตราเสียชีวิตมากถึงประมาณ 50 % ของผู้ป่วยที่มีอาการโรคราดำมรณะในประเทศอินเดีย



ทำไมจึงเรียกว่าโรคราดำมรณะ


เนื่องจากระหว่างทำการทดลองเกี่ยวกับเชื้อราชนิดนี้พบว่ามีคุณสมบัติที่สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วในอุณหภูมิร่างกายมนุษย์ หรือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อกับการมีชีวิตอยู่อย่างอินทรียวัตถุ และด้วยเชื้อราชนิดนี้มีลักษณะเป็นสีน้ำตาลเข้มคล้ายสีดำจึงถูกเรียกว่าเชื้อราดำ

โรคราดำมรณะติดเชื้อในคนได้อย่างไร


โรคราดำมรณะจะมีผลต่อผู้ที่มีร่างกายอ่อนแอเมื่อได้รับเชื้อเข้าไป ในทางตรงกันข้ามหากร่างกายแข็งแรงดีจะสามารถป้องกันโรคร้ายนี้ได้ดีกว่า ซึ่งเชื้อรานี้สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ด้วยวิธีดังต่อไปนี้



การทานอาหารที่มีการปนเปื้อนเชื้อรา
เข้าสู่ร่างกายผ่านการสูดหายใจ
บาดแผลบนร่างกายมีการสัมผัสกับเชื้อรา


นอกจากนี้ยังมีข้อมูลว่าการใช้สารสเตียรอยด์สามารถกระตุ้นความเสี่ยงในการเกิดโรคราดำมรณะได้ จึงอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการระบาดในประเทศอินเดียช่วง Covid-19 เนื่องจากมีการใช้สเตียรอยด์เพื่อลดอาการอักเสบที่เกิดขึ้นกับปอด



อาการอันตรายเมื่อติดโรคราดำมรณะ


ตำแหน่งที่มีการพบว่าติดเชื้อมักจะอยู่บริเวณจมูกโดยเชื้อสามารถลุกลามขึ้นสู่สมองได้ หากกลุ่มผู้ที่มีปัญหาด้านภูมิต้านทาน เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือผู้ที่มีเชื้อ HIV เกิดติดเชื้อโรคราดำมรณะอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยอาการที่สังเกตได้มีดังนี้



ปวดศีรษะ
คัดจมูกและมีอาการเลือดออกที่จมูก
มีอาการชักเกร็ง
ตาบวมและมีอาการปวด


การรักษาโรคราดำมรณะ


หากปล่อยทิ้งไว้ผู้ป่วยโรคราดำมรณะจะสูญเสียการมองเห็นได้ และเนื่องจากเชื้อที่ลุกลามรุนแรงและพบได้มากบริเวณจมูกถึงดวงตาสามารถเข้าสู่สมองได้อย่างรวดเร็วจึงต้องรีบรักษาด้วยการผ่าตัดนำเนื้อเยื่อที่เกิดการติดเชื้อออก
รักษาด้วยการรับยาเฉพาะด้วยการฉีดสำหรับรักษาโรคราดำมรณะ โดยต้องรับยาอย่างต่อเนื่องประมาณ 8 สัปดาห์


เนื่องจากการระบาดของโรคราดำมรณะที่รุนแรงในอินเดียด้วยยอดผู้ติดเชื้อจำนวนมากจึงทำให้การรักษาไม่สามารถเข้าถึงได้ทันเวลาพอการระแวดระวังโรคร้ายชนิดนี้ไว้ก่อนจึงเป็นเรื่องสำคัญที่มองข้ามไปไม่ได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ราดำมรณะ เชื้อราดำมรณะ Mucormycosis โรคระบาดอินเดีย



ปุ๋ย ยาปราบฯ ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้





โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ อริย์ธัช ทองคำ, Monday 05 June 2023 13:32:22, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ พิมพาภรณ์ เกื้อกูลวงษ์, Monday 05 June 2023 13:31:05, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ยุพรินทร์ เพิ่มพูล, Monday 05 June 2023 13:29:40, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ พงศกร สถาพรบำรุงเผ่า, Monday 05 June 2023 13:28:24, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ยอด ทรงพระสิริกุล, Monday 05 June 2023 13:26:32, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ดำรงค์ ใจหมั้น, Monday 05 June 2023 13:19:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Phanida, Monday 05 June 2023 13:17:44, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ปราณี อธิหิรัณยภัทร์, Monday 05 June 2023 13:16:05, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุพรรค ชูสิทธิ์, Monday 05 June 2023 13:14:38, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ วณัฐยา เพ็งคำบึ้ง, Monday 05 June 2023 13:13:31, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
โรคใบไหม้ลีลาวดี ลั่นทม เกิดจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #ลีลาวดีใบไหม้ #ลั่นทมใบไหม้
Update: 2564/10/30 03:05:48 - Views: 2466
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
Update: 2564/06/18 08:43:44 - Views: 2545
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันทอง ใน พริก และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 14:17:46 - Views: 166
เฝ้าระวัง โรคยางพาราใบร่วง หรือ ไฟทอฟธอรายางพารา ในช่วงฤดูฝน
Update: 2564/08/23 04:40:58 - Views: 2513
โรคใบร่วงยางพารา
Update: 2565/02/25 01:40:49 - Views: 2496
ปุ๋ยน้ำสำหรับมันสำปะหลัง บำรุงแรกปลูกถึง 3 เดือนด้วย FK-1 เร่งหัว ระเบิดหัวมันสำปะหลังด้วย FK-3C
Update: 2564/06/06 21:28:23 - Views: 2565
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคไฟทอปธอร่า ในทุเรียน โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)1,200ลิตร
Update: 2566/05/29 15:58:39 - Views: 72
กำจัดเชื้อรา ดอกทานตะวัน ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/13 09:47:34 - Views: 2485
เพลี้ยไฟมังคุด เพลี้ยมังคุด เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/09 04:55:12 - Views: 2507
ปุ๋ยถั่วฝักยาว ปุ๋ยน้ำถั่วฝักยาว บำรุง เร่งฝัก เพิ่มน้ำหนัก ถั่วฝักยาว ฉีดพ่น FK-1 มี N-P-K, Mg, Zn และสารจับใบ
Update: 2564/11/06 14:28:29 - Views: 2475
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดสีน้ำตาล ใน ต้นชา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/13 09:56:28 - Views: 2519
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในแตงโม เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/18 14:47:44 - Views: 69
โรคใบไหม้จันผา จันผา ราสนิม ใบแห้ง ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #จันผาใบไหม้ #ปุ๋ยจันผา
Update: 2564/10/31 20:57:43 - Views: 2694
คำนิยม - คุณหนุ่มนาข้าว ใช้ไอเอส แก้โรคจากเชื้อราในมะพร้าว และบำรุงด้วย FK-1
Update: 2562/08/30 12:50:27 - Views: 2523
โรคเปลือกแตก ยางไหล กิ่งแห้ง ที่เกิดกับไม้ยืนต้นต่างๆ แก้ได้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/05/05 03:12:57 - Views: 2978
แก้โรคกล้วยตายพราย ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ยาอินทรีย์ป้องกันและยัยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ
Update: 2562/10/19 14:02:05 - Views: 2572
🔥โรคราสนิม ในพืชต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2564/07/08 16:47:19 - Views: 2580
การเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกทุเรียนให้ได้ผลผลิตสูงสุด: คู่มือการปลูกระยะแรกและการใส่ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/19 10:12:11 - Views: 570
หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะสมอฝ้าย ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/08/14 22:01:12 - Views: 2535
โรคพริกใบจุด
Update: 2564/04/29 13:04:41 - Views: 2540
© FarmKaset.ORG | อนุญาโตตุลาการ | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022