<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

เผยปลูกกัญชง 4 เดือน ฟันกำไร 2 ล้าน ต้องรู้เทคนิค แนะจุดต่างกัญชา

118.175.156.159 2564/04/06 09:13:01 , View: 2978, e
เผยปลูกกัญชง 4 เดือน ฟันกำไร 2 ล้าน ต้องรู้เทคนิค แนะจุดต่างกัญชา

นักวิชาการ เผยปลูกกัญชง 4 เดือน ฟันกำไร 2 ล้าน ต้องรู้เทคนิค แนะจุดต่างกัญชา

ชื่อของ “กัญชง” ถูกพูดถึง ถูกสงสัย และกลายเป็นพืชที่คนไทยอยากรู้จักมากที่สุด ภายหลังจากที่ ครม.ไฟเขียว เห็นชอบ ร่างกฎกระทรวง ดัน “กัญชง” เป็นพืชเศรษฐกิจชนิดใหม่

ส่วน “กัญชง” คืออะไร ปลูกยังไง ปลูกแล้วรวยหรือไม่ และแตกต่างจากกัญชาอย่างไร ทีมข่าวเจาะประเด็นไทยรัฐออนไลน์ พูดคุยกับ รศ.ดร.วิเชียร กีรตินิจกาล ผู้ทรงคุณวุฒิ ภาควิชาพืชไร่นา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และที่ปรึกษา การปลูกและการปรับปรุงพันธุ์กัญชา องค์การเภสัชกรรม มีข้อมูลน่าสนใจมากมาย ทีมข่าวไล่เรียงใจความสำคัญมาให้ ดังต่อไปนี้

กัญชง VS กัญชา แตกต่างกันอย่างไร?
“อันที่จริงแล้ว กัญชง กับ กัญชา เป็นพืชวงศ์เดียวกัน ถือว่าเป็นพี่น้องกันก็ว่าได้ เพียงแต่ทั้งคู่จะมีความแตกต่างทางกายภาพ และปริมาณสารสำคัญ ซึ่งสหประชาชาติกำหนดไว้ว่า ในกัญชง ต้องมีสาร THC ต่ำกว่า 0.2% แต่สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่า ต้องมี THC ไม่เกิน 1% และไม่ให้ใช้ในอาหาร” รศ.ดร.วิเชียร กล่าว

โดย "กัญชง" และ "กัญชา" จะมีลักษณะทางกายภาพแตกต่างกัน ดังต่อไปนี้

กัญชง - มีลำต้นสูงประมาณ 2 เมตรขึ้นไป สูงใหญ่กว่ากัญชา แตกกิ่งก้านน้อย ใบเป็นสีเขียวอมเหลือง มีแฉกประมาณ 7-9 แฉก แต่กัญชงมีข้อแตกต่างที่ชัดเจนจากกัญชา คือ ชั้นของกิ่งจะสูงชะลูดกว่ากัญชา และถึงแม้ว่า กัญชงจะมีใบเหมือนกัญชา แต่มีสีเขียวเหลืองมากกว่ากัญชา

ขณะที่ กัญชง จะมีสารสำคัญที่จะกล่าวถึงต่อไป คือ THC (Tetrahydro Cannabionol สารออกฤทธิ์ทางจิตประสาททำให้เมา) และ CBD (Cannabinol ไม่ออกฤทธิ์ทางจิตประสาทและไม่เมา)

กัญชา - ส่วนกัญชามีความสูงไม่ถึง 2 เมตร แตกกิ่งก้านมาก มีใบประมาณ 5-7 แฉก เป็นสีเขียวถึงเขียวจัด ส่วนใบเมื่อนำมาสูบจะมีกลิ่นหอมคล้ายหญ้าแห้ง โดยมีสรรพคุณช่วยลดอาการคลื่นไส้อาเจียนจากการได้รับเคมีบำบัด ช่วยผ่อนคลาย แต่หากเสพในปริมาณมากจะทำให้เกิดอาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ควบคุมตัวเองไม่ได้

ประโยชน์ “กัญชง”
โดย รศ.ดร.วิเชียร แบ่งประโยชน์ของกัญชง ออกเป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้

1. ปลูกเพื่อใช้ประโยชน์จากเส้นใย (ชาวเขาในประเทศไทยปลูก)
การปลูกกัญชงเพื่อใช้ประโยชน์จากเส้นใยจะใช้ในส่วนของลำต้น ซึ่งเส้นใยของกัญชงนั้น มีคุณภาพสูง จึงถูกนำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการทำเป็นผลิตภัณฑ์ ได้มากกว่า 50_000 รายการ เช่น เสื้อผ้า_ เยื่อกระดาษ_ เชือก_ กระเป๋า_ ฉนวนกันความร้อน_ วัสดุก่อสร้าง_ เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น ส่วนกากใยที่เหลือก็สามารถนำไปผลิตเป็นเอทานอลได้อีกด้วย

“เส้นใยของกัญชงมีความแข็งแรงมากกว่าฝ้ายถึง 2 เท่า เพราะฉะนั้น เสื้อยืด cotton ธรรมดา ราคาส่งในตลาดอาจอยู่ที่ 30-60 บาท แต่พอเป็นเสื้อที่ผสมใยกัญชง ราคาส่งในตลาดจะพุ่งไปที่ 120-150 บาททันที”

2. ปลูกเพื่อเอาเมล็ด (เมืองไทยยังไม่มีใครปลูก)
ขณะเดียวกัน เมล็ดของกัญชงก็ยังสามารถสกัดเป็นน้ำมันคุณภาพเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร_ เครื่องสำอาง และยังมีโอเมก้า 3 ที่สามารถนำมาเป็นส่วนประกอบในอาหารได้ อีกทั้งยังมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยยับยั้งความเสื่อมของเซลล์ ลดภาวะการอักเสบของผิวหนังได้อีกด้วย

"โดยมูลค่าของน้ำมันจากเมล็ดกัญชง 1 ลิตรจะมีราคาอยู่ที่ประมาณ 3_000-4_000 บาท” รศ.ดร.วิเชียร กล่าว

3. ปลูกเพื่อเอาสาร CBD (ประเทศไทยปลูกได้ แต่ห้ามเอามาใส่ในอาหารเสริม แต่สามารถเอามาใช้เป็นยาได้)
“การปลูกกัญชงเพื่อเอาสาร CBD จะใช้ส่วนของดอก ซึ่งกัญชงประเภทนี้ จะมีความคล้ายกัญชามากๆ และจะมีสาร THC น้อยมาก แต่ให้สาร CBD สูง” รศ.ดร.วิเชียร กล่าว

“การนำ CBD มาใช้เป็นยา ถือว่าให้ผลที่ดีมาก ยกตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ที่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในไทยป่วยเป็นลมชัก อาการอยู่ในระดับแย่มาก แต่เมื่อใช้สารสกัด CBD ก็สามารถรอดชีวิตมาได้ ซึ่งไม่น่าเชื่อว่า นักศึกษาคนหนึ่งที่กำลังจะตาย เพราะไม่มียารักษา กลับรอดด้วยสาร CBD จากกัญชง และนอกจากนี้ สาร CBD ยังช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของการนอนไม่หลับ_ การเจ็บป่วย (ทดแทนมอร์ฟีน)_ รักษาอาการปวดศีรษะ ไมเกรน_ ผลิตภัณฑ์กลุ่มรักษาสิว และเครื่องสำอางได้อีกด้วย” รศ.ดร.วิเชียร กล่าว

ปลูกกัญชงแล้วจะรวยหรือไม่?
เมื่อถามว่า การปลูกกัญชง จะทำให้รวยหรือไม่? รศ.ดร.วิเชียร ผู้มากประสบการณ์ในการวิจัยและพัฒนากัญชง ให้คำตอบว่า “ถ้าถามว่า ปลูกกัญชงแล้วจะรวยไหม คำตอบก็คือ มีโอกาสที่รายได้จะดีขึ้นตามลำดับ ซึ่งการปลูกกัญชงที่ชาวเขาปลูก มีรายได้ไร่ละ 2_000-3_000 บาท จึงไม่มีใครอยากปลูก เพราะรายได้น้อยมาก แต่ถ้าคุณปลูกพันธุ์ที่ดี คุณปลูกถูกวิธี คุณก็จะได้เงินเยอะ เพราะฉะนั้น คุณต้องรู้ว่า คุณควรปลูกกัญชงเพื่อใช้ประโยชน์แบบไหน และคุณต้องรู้ว่า คุณจะปลูกไปขายให้ใคร”

“การปลูกกัญชงเพื่อเอาเส้นใย จะได้เงินน้อยกว่าการปลูกกัญชงเพื่อเอาเมล็ด แต่การปลูกกัญชงเพื่อเอาเมล็ดก็จะได้เงินน้อยกว่าการปลูกกัญชงเพื่อเอาสาร CBD” รศ.ดร.วิเชียร กล่าว

โดย รศ.ดร.วิเชียร กล่าวถึงผลกำไรจากการปลูก “กัญชง” ซึ่งใช้ระยะเวลาในการปลูกรอบละ 4 เดือน บนพื้นที่ 1 ไร่ จะได้ผลกำไรโดยประมาณ(หากปลูกอย่างถูกวิธี) ดังต่อไปนี้

ปลูกเพื่อใช้ประโยชน์จากเส้นใย --> กำไร 2_000 บาท
ปลูกเพื่อเอาเมล็ด --> กำไร 20_000 บาท
ปลูกเพื่อเอาสาร CBD (ขาดตลาด ความต้องการสูงมาก) --> กำไร 2_000_000 บาท หรือเฉลี่ยกิโลกรัมละประมาณ 70_000 กว่าบาท
“แม้สาระสำคัญของร่างกฎกระทรวงจะอนุญาตให้ปลูกกัญชงได้ครัวเรือนละไม่เกิน 1 ไร่ แต่ต้องมีใบอนุญาตปลูก พร้อมระบุสายพันธุ์ที่ได้รับอนุญาต แต่ภาครัฐก็ต้องอธิบายให้ชาวบ้านเข้าใจด้วยว่า การปลูกกัญชงสามารถนำไปขายใครได้บ้าง ปลูกอย่างไร เพราะถ้าปลูกไปแล้ว แต่ไม่รู้จะเอาไปขายใคร ก็เปล่าประโยชน์” รศ.ดร.วิเชียร ทิ้งท้าย.

Reference: thairath.co.th/news/ local/bangkok/1761733





กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ ธวัชชัย ถ้ำกลาง, Wednesday 24 April 2024 14:44:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุภาวดี ชัยเลิศ, Wednesday 24 April 2024 14:42:45, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จิรายุ ยุราวรรณ, Wednesday 24 April 2024 14:41:29, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ วาสนา ฉัตรศักดา, Wednesday 24 April 2024 14:40:11, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประทีป การะภักดี, Wednesday 24 April 2024 13:34:01, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธนกร วรโชติธนโชติ, Wednesday 24 April 2024 13:32:51, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประทีป การะภักดี, Wednesday 24 April 2024 13:25:10, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ร.ต.อ.ศักดิ์ดา ใจกลาง, Wednesday 24 April 2024 13:21:34, เลขจัดส่ง SMAM000199167L8
คุณ วีระศักดิ์, Wednesday 24 April 2024 13:17:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประทีป การะภักดี, Wednesday 24 April 2024 12:03:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 15587
การจัดการเพลี้ยในต้นโหระพา: วิธีป้องกันและกำจัดเพลี้ยในสวนผัก
Update: 2566/11/24 12:27:23 - Views: 365
สตอเบอร์รี่ ผลเน่า ใบไหม้ ใบเหลือง กำจัดโรคสตอร์เบอร์รี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/27 10:07:42 - Views: 2989
โรคเชื้อราในโกโก้: คู่มือเบื้องต้นการป้องกันและรักษาโรคโกโก้
Update: 2566/05/02 07:35:13 - Views: 3244
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: การปฏิวัติการเกษตรอินทรีย์เพื่อความยั่งยืนของดินและพืช
Update: 2567/02/13 09:39:38 - Views: 109
การป้องกันและควบคุมโรคราน้ำค้างในดอกกุหลาบ
Update: 2566/11/22 09:05:02 - Views: 323
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) ก้านใบไหม้ ก้านใบเน่า : LEAF BLIGHT DISEASE ในพืชต่างๆ
Update: 2563/11/03 13:06:08 - Views: 3292
โรคราสนิมถั่วฝักยาว และโรคใบจุดถั่วฝักยาว การป้องกัน การรักษา
Update: 2563/11/20 09:14:03 - Views: 3968
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในต้นข้าว บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/23 10:38:23 - Views: 3136
การรับมือกับโรคใบจุดดำในดอกกุหลาบ: วิธีป้องกันและการรักษา
Update: 2566/11/13 12:49:31 - Views: 239
พุทรา โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/29 15:06:54 - Views: 51
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
Update: 2563/06/19 20:22:23 - Views: 3054
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส
Update: 2565/02/25 02:56:57 - Views: 3071
ปุ๋ยน้อยหน่า ปุ๋ยตรา FK ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นทางใบ น้อยหน่าโตไว ผลผลิตดี ด้วยธาตุอาหารพืชที่สมดุลและครบครัน
Update: 2565/12/17 11:20:47 - Views: 3019
ทำไม ชื่อสายพันธุ์ โควิด-19 จึงเป็น แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า
Update: 2564/08/15 07:21:45 - Views: 3540
การป้องกัน กำจัด โรค แอนแทรคโนส ในต้นหอม
Update: 2563/11/24 08:54:16 - Views: 3000
โรคมะพร้าวยอดเน่า ใบแห้ง ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 13:56:41 - Views: 3243
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
Update: 2564/08/19 07:11:23 - Views: 3301
หนอนชอนใบ แตงกวา แตงโม เมล่อน หนอนต่างๆ กำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2562/08/15 09:06:28 - Views: 3605
ยากำจัดโรคราน้ำค้าง ใน ผักคะน้า โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/06 10:01:05 - Views: 7753
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022