[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ

กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในข้าวโพด และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในข้าวโพด และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในข้าวโพด และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Beauveria mix Methharicium หรือที่รู้จักในชื่อยี่ห้อ Butarex เป็นสารกำจัดศัตรูพืชทางชีวภาพที่ใช้สำหรับป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟในข้าวโพด สารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์นี้คือ Beauveria bassiana ซึ่งเป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งติดเชื้อและฆ่าเพลี้ยไฟ

เพลี้ยไฟเป็นแมลงมีปีกขนาดเล็กที่สามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นข้าวโพด พวกมันกินใบ ดอก และผลของพืช ซึ่งทำให้ผลผลิตลดลงและคุณภาพของพืชลดลง สารเคมีกำจัดศัตรูพืชแบบดั้งเดิมสามารถมีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยไฟ แต่ก็สามารถส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ได้เช่นกัน

สารกำจัดศัตรูพืชทางชีวภาพ เช่น Beauveria ผสม Methharicium เป็นทางเลือกแทนสารเคมีกำจัดศัตรูพืช พวกมันทำจากวัสดุธรรมชาติ เช่น จุลินทรีย์ และถือว่าไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมาย

Beauveria mix Methharicium เป็นสูตรน้ำที่ใช้กับใบและลำต้นของต้นข้าวโพด เชื้อราเข้าทำลายเพลี้ยไฟทำให้หยุดกินอาหารและตายในที่สุด ผลิตภัณฑ์นี้มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยไฟและสามารถให้ความคุ้มครองพืชในระยะยาว

สิ่งสำคัญที่ควรทราบคือควรใช้บิวเวอเรียผสมเมธาริเซียมเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน ซึ่งรวมถึงการตรวจติดตามเพลี้ยไฟและใช้วิธีการควบคุมเชิงวัฒนธรรม เชิงกล และทางชีวภาพอื่นๆ นอกเหนือจากสารกำจัดศัตรูพืชทางชีวภาพ

สรุปได้ว่าบิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียมเป็นสารชีวภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟในข้าวโพด ทำจากวัสดุธรรมชาติและถือว่าเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมายน้อยกว่าสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ควรใช้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

เชื้อบิวเวอร์เรีย + เมธาไรเซียม
เป็นผลิตภัณฑ์ผ่านการคัดสรรจุลินทรีย์ 2 ชนิดมี คุณสมบัติโดดเด่นมาผสมผสานใช้ในการป้องกัน กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วงหนวดยาว ด้วงมะพร้าว ปลวก เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ไรแดง แมลงหวี่ขาว และหนอน เป็นต้น

บิวทาเร็กซ์ : ใช้อย่างไร?
1. ผสมเชื้อ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณ กิ่ง ก้าน ใบ หรือบริเวณที่แมลงระบาด
2. ฉีดพ่นได้ทุก 7-10 วัน

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อไตรโคเดอร์มา และ ยากำจัดเชื้อรา หากต้องการใช้ร่วมควรเว้น ระยะฉีดพ่น 7-10 วัน *

ปัญหาเหล่านี้จะหมดไปด้วย บิวทาเร็กซ์..
ผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช
เชื้อดีที่สุดสำหรับชาวเกษตรกร
ปริมาณเชื้อที่ดีและได้ผล
ให้อาหารเฉพาะของเชื้อแต่ละตัว

เชื้อจะไปเติบโตในแมลง ปกคลุมตัวแมลง ทำให้แมลงแห้งตายในที่สุด
ปลอดภัยไม่มีสารเคมี
แมลงดื้อยา ใช้ได้ต่อเนื่อง
เป็นยาเย็น ใช้ได้ทุกพืช และทุกช่วงอายุของพืช

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
โรคอินทผลัม โรคเชื้อราเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm
โรคอินทผลัม โรคเชื้อราเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm
ธรรมชาติของอินทผลัม เป็นพืชที่อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งแบบทะเลทราย การนำมาทดลองปลูกในประเทศไทยของเรา มีปัญหาของโรคต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับความชื้นปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง โดยเฉพาะโรคเชื้อรา

"โรคเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm"

ซึ่งมีลักษณะเป็นผงสีขาวๆ เกิดขึ้นตามใบ ส่วนมากจะเกิดช่วงปลายฝนต้นหนาว แต่บางครั้งก็เกิดในฤดูอื่นๆ เมื่อมีความชื้นในอากาศ การที่ต้นจะตายไม่ใช่ตายเพราะโรคนี้ แต่จะตายเพราะโรคชนิดอื่นที่เข้ามาแทรกในตอนนั้น

- โรคนี้เกิดในพื้นที่ปลูกในภูมิภาคที่มีความชื้นสูง มีฝนมาก แต่ในภูมิภาคที่มีความร้อนและแห้ง จะปรากฏโรคชนิดนี้น้อย

- อินทผลัมพันธุ์แทบทุกสายพันธุ์สามารถเกิดโรคนี้ได้ในสภาพชื้น

- โรคชนิดนี้ เป็นผงจุดสีขาวๆ เกิดตามผิวใบ หากไม่มีโรคชนิดอื่นเกิดขึ้นพร้อมกัน จะปรากฏให้เห็นเป็นผงสีขาวๆ เกิดตามใบเท่านั้น มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระดังความชื้นที่สะสมมา หากเป็นเฉพาะโรคนี้โรคเดียว ไม่ปรากฏมีโรคอื่น หรือ การขาดสารอาหาร หรือ ขาดน้ำ มาพร้อมกัน โรคชนิดนี้ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้น เอกสารต่างประเทศกล่าวว่า การเกิดโรคชนิดนี้อย่างเดียว เป็นเหมือนเครื่องสำอางค์ของใบเท่านั้น การขาดธาตุอาหารมีผลกระทบกับต้นอินทผลัมมากกว่าโรคนี้

- หากตรวจพบว่าเป็นโรคชนิดนี้แล้ว ไม่แนะนำให้มีการตัดแต่งออกไป ยกเว้นแต่จะเป็นโรคอื่นๆ ด้วย หากจะมีการตัดใบ ต้องมั่นใจว่า ธาตุโพแตสเซียมในดินเพียงพอที่จะทำให้ต้นฟื้นขึ้นมาได้จากการตัดแต่งใบออกไป หากดูแล้วไม่ค่อยจะชอบมันเกิดตามใบ ต้องการจะตัดออก ให้รดปุ๋ยที่มีธาตุโพแตสเซียมลงไปด้วยทุกครั้ง

- แนะนำให้ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

- ให้เข้าใจว่า ยาป้องกันและกำจัดเชื้อราเหล่านี้ ไม่ได้ทำให้ใบที่เป็นอยู่แล้วหายไป แต่จะทำให้โรคไม่ลามต่อไปยังใบใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นมา หรือ ลามเพิ่มเติมออกไป เท่านั้น

- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุง ให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคพืช ได้เร็วขึ้น และเจริญเติบโตได้รวดเร็ว สมบูรณ์

กรณีที่เป็นพื้นที่แห้งอยู่แล้ว แต่เนื่องจากการสะสมของโรคในช่วงฝนที่ตกบ่อยมากจึงทำให้เกิดโรคนี้ให้เห็นบ้าง ไม่เป็นมาก โรคแบบนี้ ไม่เป็นเฉพาะอินทผลัม พืชทางเศรษฐกิจที่เขาปลูกกันจำนวนมากก็เป็น วิธีการจัดการเมื่อพบโรคนี้ คือ

- ในช่วงของการเพาะต้นกล้า หากจะทำเรือนเพาะชำแบบมีแสงส่องถึงได้เต็มที่ก็ควรจะทำ เพื่อป้องกันน้ำฝนกที่อาจจะมากเกินไป หรือ ป้องกันน้ำค้างในช่วงฤดูหนาว

- จุดที่วางถุง ควรเป็นพื้นที่แห้ง ไม่ชุ่มน้ำ ไม่ควรวางถุงให้ชิดกัน ควรวางให้ห่างกันเล็กน้อย หากมีพื้นที่จำกัดลองวางให้ห่างกันสัก ๑ นิ้ว หากมีพื้นที่มาก ให้วางห่างกันประมาณสัก ๕ นิ้ว เพื่อให้อากาศรอบถุงหมุนเวียนได้ ไม่สะสมโรคชนิดนี้ รวมทั้งโรคอื่นๆ ที่เกิดขึ้นได้กับต้นอินทผลัม

ในส่วนของต้นที่ปลูกกันอยู่ตอนนี้ที่เป็นอยู่นี้ จุดไหนที่มีความชื้นสูงจะเป็นมากหน่อย และที่แน่ๆ จะเป็นดินเพาะแบบไหน ใส่วัสดุเพาะที่จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคแบบไหนก็ตาม ก็มีโอกาสเป็นเท่ากันหมด หากจุดวางถุงมีความชื้นสูง ทั้งความชื้นใต้ถุง ใต้ดิน และร่มเงามากไป ได้ประยุกต์เพื่อแก้ไข ดังนี้

- รดน้ำให้น้อยลง เพื่อลดความชื้น ไม่ควรรดน้ำอินทผลัมในช่่วงเย็น แต่ควรจะรดน้ำในช่วงเช้า ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้เกิดความชื้นสะสมในเวลากลางคืนที่อากาศเย็นนั่นเอง

- ใช้ปูนขาวผสมน้ำรดลงไปบ้าง เพื่อช่วยเรื่องการกำจัดเชื้อโรคบางชนิดในดิน

- บริเวณไหนมีร่มเงาหรือความชื้นมากไป ย้ายถุงเพาะออกไปวางในจุดที่แห้ง มีแสงแดดเต็มที่

Reference: main content from sites.google.com/site/datepalmnongtu/
อ่าน:3325
โรคมังคุด แอนแทรกโนสมังคุด ใบจุด ใบไหม้ ราดำ ใบจุดสาหร่าย โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
โรคมังคุด แอนแทรกโนสมังคุด ใบจุด ใบไหม้ ราดำ ใบจุดสาหร่าย โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
มังคุด โรคมังคุด โรคใบจุด เชื้อรา โรคแอนแทรกโนส โรคขอบใบไหม้ โรคใบจุดสาหร่าย โรคใบไหม้ แคงเกอร์ โรคราดำ โรคราขาว โรคผลเน่า โรครากสีน้ำตาล โรครากแดง

Mangosteen; Garcinia mangostana; Disease; Spot leaf disease; Fungi; Colletotrichum gloeosporioides; Pestalotiopsis flagisettula; Brooksia tropicalis; Grallomyces portoricensis; Meliola garcinae; Meliola sp.; Marasmiellus scandens; Rhizorpha sp.; Lasiodiplodia theobromae; Phomopsis sp.; Gliocephalotrichum; Anthracnose; Pestalotiopsis flagisettula; Algal leaf spot; Cephaleuros virescens; Sooty mould; Black mildew; White thread blight disease; Brown root disease; Red root

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

ไอเอส จาก ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

ไอเอส จาก ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

ไอเอส จาก ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
มะเขือเทศก้นเน่า อาการก้นเน่าของมะเขือเทศ เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม
มะเขือเทศก้นเน่า อาการก้นเน่าของมะเขือเทศ เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม
ธาตุแคลเซียม (Calcium – Ca) พบมากในกระดูก เปลือกไข่ ปูนขาว หรือ ยิปซัม แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แม้ว่าพืชจะใช้แคลเซียมในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับธาตุอื่นๆ แต่หากพืชได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะส่งผลให้พืชเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น ผิวของมะเขือเทศเกิดอาการแห้งกรอบ ยอดใบอ่อนไหม้ หรือเกิดจุดด่างในใบผัก เป็นต้น

พืชที่ขาดแคลเซียม สามารถฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุงได้
อ่าน:3324
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ลำดับการทำงานของธาตุอาหารพืช (BIOCHEMICAL SEQUENCE)

ในระบบเกษตรกรรม การให้ปุ๋ยเป็นการเพิ่มปริมาณ ธาตุอาหารให้แก่พืช ในเกษตรแผนใหม่จะให้ปุ๋ยเคมีตามธาตุอาหารหลัก ได้แก่ NPK หรือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) เพื่อให้พืชนำไปใช้ในการเจริญเติบโตได้โดยตรง ซึ่งเป็นแนวคิด ที่ต่างจากเกษตรธรรมชาติ หรือเกษตรเชิงนิเวศซึ่งเน้นที่ปฏิสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ซึ่งธาตุต่างๆ ก็มีทำงานกันเป็นลำดับขั้น โดยเริ่มจาก

โบรอน > ซิลิคอน > แคลเซียม > ไนโตรเจน > แมกนีเซียม > ฟอสฟอรัส > คาร์บอน > โพแทสเซียม

ในระบบนิเวศเกษตร ปฏิสัมพันธ์ระหว่างธาตุจะเริ่มที่โบรอน ซึ่งธาตุโบรอน (Boron) จะกระตุ้นการทำงานของ ธาตุซิลิคอน (Silicon) ซึ่งเป็นธาตุที่สำคัญต่อการจับตัวกับสารอาหารอื่นๆ และจับกับ ธาตุแคลเซียม (Calcium) ซึ่งต่อมาจะจับกับ ธาตุไนโจรเจน (Nitrogen) โดยไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบหลักของ กรดอะมิโน รหัสทางพันธุกรรม และมีส่วนสำคัญต่อการแบ่งตัวของเซลล์ กรดอะมิโน เป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีน และสารตั้งตนในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ซึ่งพืชใช้ใน การสังเคราะห์แสง การสร้างคลอโรฟิลล์เองก็ต้องใช้ ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium) ในการรับพลังงานของแสงและสะสมพลังงานจากแสงในอาหาร ไนโตรเจน ที่อยู่ใน กรดอะมิโน จึงเป็นธาตุที่จับกับ แมกนีเซียม ในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ในพืช พลังงานที่ได้จากการสังเคราะห์แสงจะถูกนำไปใช้ในการสร้างแป้งและอาหารในพืช ซึ่งพลังงานจะอาศัยธาตุ ฟอสฟอรัส (Phosphorus) ในการถ่ายทอดพลังงานไปยังส่วนต่างๆ ของเนื้อเยื้อพืชและ ปฏิกิริยาเคมี ที่ข้องเกี่ยวกับการสร้างอาหารและ สารชีวเคมี ในเซลล์ อาหารและ สารชีวเคมี เหล่านี้ต้องอาศัย ธาตุคาร์บอน (Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก หลังจากอาหารและ สารชีวเคมี ถูกสร้างขึ้นแล้ว ก็จะอาศัยธาตุ โพแทสเซียม (Potassium) ที่มีอยู่มากในน้ำยางหรือท่อลำเลียงอาหารในเนื้อเยื้อพืชช่วยในการขนส่งอาหารและสารชีวเคมีไปตามอวัยวะต่างๆ ในลำต้นพืช

ธาตุโบรอน (Boron – B)

มีอยู่มากในมูลสัตว์ มีบทบาทเกี่ยวที่ช่วยให้รากพืชดูดเอา ธาตุแคลเซียม และ ไนโตรเจน ไปใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นนอกจากนี้ยังช่วยให้พืชใช้ธาตุโพแทสเซียมได้มากขึ้น มีบทบาทในการสังเคราะห์แสง การย่อย โปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต และเพิ่มคุณภาพทั้งรสชาติ ขนาด และน้ำหนักของผลเพิ่มความสามารถในการเจริญเติบโตเพราะโบรอนจะควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในขบวนการปรุงอาหารอีกทางหนึ่ง

ธาตุซิลิคอน (Silicon – Si)

พบได้ทั่วไปในทราย หรือ ดินปนทราย ซิลิคอน ทำหน้าที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น โดยทำให้ลำต้นแข็งแรงและอ้วนขึ้น ช่วยให้ใบพืชหันเข้าหาแสงมากขึ้น และทำให้พืชทนทางต่อโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและรา เช่น โรคราแป้ง รวมถึงสร้างความทนทานต่อความร้อน หรือความเค็มจัดไปจนถึงความเป็นพิษของโลหะหนักและอลูมิเนียม

ธาตุแคลเซียม (Calcium – Ca)

พบมากในกระดูก เปลือกไข่ ปูนขาว หรือ ยิปซัม แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แม้ว่าพืชจะใช้แคลเซียมในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับธาตุอื่นๆ แต่หากพืชได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะส่งผลให้พืชเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น ผิวของมะเขือเทศเกิดอาการแห้งกรอบ ยอดใบอ่อนไหม้ หรือเกิดจุดด่างในใบผัก เป็นต้น

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen – N)

จะสะสมอยู่มากในพืชตระกูลถั่ว ซึ่งปมราก พืชตระกูลถั่ว จะมีแบคทีเรียที่ช่วยดึง ไนโตรเจน ที่สะสมในดินมาใช้ในการเจริญเติบโต ดังนั้น เราจึงนิยมปลูกปอเทืองเพื่อช่วยปรับปรุงดินและช่วยไ นโตรเจน สะสมในดินมากขึ้น ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ โปรตีน และสารพันธุกรรมทั้งในพืชและสัตว์ และเป็นองค์ประกอบของ คลอโรฟิลล์ ซึ่งทำหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงในพืช ดังนั้น ดินจึงเป็นหัวใจสำคัญต่อการปลูกพืช โดยแบคทีเรียในปมรากถั่วหรือในดินจะช่วยตรึงก๊าซ ไนโตรเจน ในอากาศและเปลี่ยนรูป ไนโตรเจน ให้อยู่ในรูปของ ไนเตรท ซึ่งพืชสามารถดูดมาใช้ได้ดังภาพด้านล่าง ดินที่มีปริมาณ อินทรีย์วัตถุมากจึงถือเป็นดินที่มีชีวิต

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium – Mg)

เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ คลอโรฟิลล์ เพราะ แมกนีเซียม จะรับพลังงานแสงและช่วยเปลี่ยนรูปให้เป็นพลังงานให้รูปของอาหารจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง และช่วยให้ใบพืชมีสีเขียว พืชที่ขาด แมกนีเซียม จึงเกิดอาการใบสีซีด ดินที่ขาดธาตุ แมกนีเซียม มักเป็นดินที่มี อินทรีย์วัตถุ น้อย ดินที่มีทรายมากหรือเป็นกรด ในกรณีที่ใส่ปุ๋ยที่มี โพแทสเซียม มากเกินไปก็ทำเกิดอาการขาด แมกนีเซียม ในพืชเช่นกัน เนื่องจากพืชจะดูดซับ โพแทสเซียม แทนการดูดซับ แมกนีเซียม

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus – P)

เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของ สารพันธุกรรม และ สารชีวเคมี ที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของราก และช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาด ฟอสฟอรัส จะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้ เนื่องจาก ฟอสฟอรัส เป็นธาตุที่จับเม็ดดินได้แข็งแรง จึงแนะนำให้ขุดหน้าดินขึ้นมาเพราะจะทำให้ดินถูกน้ำกัดเซาะได้ง่าย จึงแนะนำให้ปลูกหญ้าหรือพืชคลุมดินเพื่อรักษาหน้าดินและ ฟอสฟอรัส ให้สะสมอยู่ในดินมากขึ้น

ธาตุคาร์บอน (Carbon – C)

สารอินทรีย์ทุกชนิดล้วนมี ธาตุคาร์บอน ในปริมาณที่สูง รวมถึงดิน ซากพืชซากสัตว์ หรือปุ๋ยหมักต่างๆ ล้วนมีคาร์บอนในปริมาณสูง อีกทั้งในบรรยากาศเองก็มี คาร์บอน ในรูป ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในปริมาณที่มากอยู่แล้ว จึงมักไม่มีปัญหา ธาตุคาร์บอน ขาดแคลนในการเพาะปลูก

ธาตุโพแทสเซียม ( Potassium – K)

เป็นธาตุที่สะสมอยู่ทั่วไปในดินและมักละลายในน้ำหรือของเหลว ในเนื้อเยื้อได้ดี หน้าที่ของ โพแทสเซียม จะต่างจาก ไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส ตรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตโดยตรง แต่ทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำในเนื้อเยื้อพืช ซึ่งป้องกันไม่ให้เกิด ใบเหี่ยว และช่วยให้การคายน้ำของใบพืชเป็นไปอย่างปกติ

จากหลักการของเกษตรธรรมชาติ ธาตุที่อยู่ในธรรมชาติก็มีการทำงานเป็นลำดับขั้นร่วมกับสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช แบคทีเรียหรือเชื้อรา จนเกิดการหมุนเวียนสารอาหารภายในระบบนิเวศ การใส่ปุ๋ย NPK เพียงอย่างเดียวเพื่อเร่งให้พืชเจริญเติบโตนั้นเป็นการตัดวงจรการไหลเวียนสารอาหารในธรรมชาติและทำลายความหลากหลายทางชีวภาพในดิน ดังนั้น การทำให้ดินมีชีวิตจึงเป็นหัวใจหลักของการทำเกษตรเชิงนิเวศ

FK iLab ตรวจวิเคราะห์ค่าดิน และปุ๋ย

FK iLab เป็นเว็บไซต์ให้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน และค่าธาตุอาหารในปุ๋ย ด้วย LAB มาตรฐาน ตรวจวิเคราะห์โดยนักวิชาการเฉพาะด้าน ที่มีความชำนาญ โดยผู้ใช้บริการสามารถ เลือกค่า ธาตุอาหารต่างๆที่ต้องการตรวจได้ บนเว็บไซต์ และส่งตัวอย่างดิน หรือปุ๋ยที่ต้องการตรวจไปยัง ห้องปฏิบัติการ ผ่านทางไปรษณีย์ และรออ่านผลตรวจได้ทางหน้าเว็บไซต์

สามารถใช้บริการได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือเข้าเว็บไซต์ FarmKaset.ORG และคลิกที่เมนู iLab



References

http://www.farmkaset..link..ำดับการทำงานของธาตุอา/

blog.agrivi.com/post/benefits-of-silicon-on-plant-growth

http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter1/chapter1_nitrogenhtm

http://www.farmkaset..link..
journals.plos.org/plosone/article?id=1371/journal.pone.0171321

horttech.ashspublications.org/content/17/4/442.full

http://www.farmkaset..link..
5k.web.tr/basinda/June09_Lovel.pdf

bioferti.com/microbe-granular-formula
อ่าน:3323
เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์รับรอง สินค้าออแกนิค
เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์รับรอง สินค้าออแกนิค
เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ์รับรอง สินค้าออแกนิค
สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายรับรองว่านี่คือออแกนิค จะแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ

ประเภทที่1 ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของประเทศผู้นำเข้าสินค้าอินทรีย์รายใหญ่

1.1ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ IFOAM หรือ IFOAM Accredited

สมาพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements – IFOAM) ได้จัดทำโครงการรับรองระบบงานเกษตรอินทรีย์ IFOAM (IFOAM Accreditation Program) ภายใต้กรอบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกยอมรับเป็นเกณฑ์มาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ขั้นต่ำสินค้าอินทรีย์เพื่อการนำเข้า เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฮ่องกงสิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น

1.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (EU)

การแสดงตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรปที่ถูกต้อง EU_organic_farming_logo_sจะต้องมีเลขรหัสหน่วยงานที่ทำการตรวจรับรองของสหภาพยุโรป ซึ่งระบุประเทศของหน่วยงานผู้ตรวจรับรองกำกับไว้ พร้อมกับระบุประเทศแหล่งที่มาของสินค้าอินทรีย์นั้นๆ ไว้ใต้ตรามาตรฐานด้วย (ดูตัวอย่าง ตรามาตรฐาน EU ของ มกท. ด้านขวามือ) สหภาพยุโรปยังไม่อนุญาตให้ใช้คำว่า 100% Organic หรือ อินทรีย์ 100% บนฉลากสินค้าด้วย ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่สหภาพยุโรปยอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (เฉพาะที่ผลิตในประเทศแคนาดา) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (เฉพาะที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา)

1.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (National Organic Program – NOP)

แผนงานเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (NationalOrganic Program – NOP) ดำเนินงานภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (United States Department of Agriculture – USDA) โดยระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์นี้เริ่มใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศสหรัฐอเมริกายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (เฉพาะที่ผลิตในสหภาพยุโรป) โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของสหรัฐอเมริกาเสมอ

1.4 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์แคนาดา (Canada Organic Regime – COR)

รัฐบาลแคนาดาเริ่มนำาระบบ Canada Organic Regime (COR) ออกบังคับใช้เมื่อปี พ.ศ.2552 ตามระเบียบ Organic Products Regulations_ 2009 โดยมี Canadian Food Inspection Agency (CFIA) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ?การใช้ตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดาที่ถูกต้อง ต้องมีชื่อสินค้า รหัสหน่วยงานที่ทำการตรวจการรับรองที่ออกโดย IOAS พร้อมกับระบุประเทศผู้ผลิต ทั้งภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสกำกับไว้ใกล้ๆ ตรามาตรฐานฯ ให้เห็นได้ชัดเจน ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (เฉพาะที่ผลิตในสหภาพยุโรป) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (เฉพาะที่ผลิตในญี่ปุ่น) เริ่ม 1 ม.ค. พ.ศ. 2558 โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของแคนาดาเสมอ

1.5 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (Japanese Agricultural Standard Organic JAS mark)

กำกับดูแลของกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมง ของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture_ Forestry and Fisheries – MAFF) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่?ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (เฉพาะที่ผลิตในแคนาดา) เริ่ม 1 ม.ค. พ.ศ. 2558 โดยการแสดงตรามาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของญี่ปุ่นเสมอ

ประภทที่2 ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของหน่วยงานตรวจรับรองเอกชนต่างประเทศที่ได้รับความนิยมและดำเนินการตรวจรับรองอยู่ในประเทศไทย

2.1 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ไบโออะกิเสิร์ช (Bioagricert)

บริษัท ไบโออะกริเสิร์ช (ไทยแลนด์) จำกัด เป็นสาขาย่อยของ Bioagricert S.r.I. จากประเทศอิตาลี ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

2.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์บีเอสซี (BSC KO-GARANTIE GMBH – BSC)

บีเอสซี เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศเยอรมันนี มีตัวแทนในประเทศไทยอยู่ที่ จ.เชียงใหม่ ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

2.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์อีโคเสิร์ช (Ecocert)

อีโคเสิร์ช เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศฝรั่งเศส ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

2.4 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ไอเอ็มโอ-คอนโทรล (IMO-Control)

บริษัทไอเอ็มโอ-คอนโทรล เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศสวิตเซอน์แลนด์ มีตัวแทนอยู่ในประเทศไทย ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

ประภทที่3ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของหน่วยงานไทย

3.1 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มกท. (Organic Agriculture Certification Thailand – ACT)

นอกจากสัญลักษณ์ ACT-IFOAM Accredited แล้ว มกท. ยังมีระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เฉพาะ ที่จัดทำขึ้นสำหรับตรวจรับรองการผลิตเกษตรอินทรีย์บางประเภทที่เพิ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในประเทศและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เหมาะกับผู้ประกอบการในระยะเริ่มต้น ซึ่งรวมถึง การเลี้ยงสัตว์?การเลี้ยงผึ้ง และการประกอบอาหารสำหรับร้านอาหาร ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มกท. จะใช้ตราสัญลักษณ์ของ มกท. เป็นตรารับรองมาตรฐาน

3.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ – มกอช. (National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards – ACFS)

มกอช. ได้ประกาศใช้ตรามาตรฐาน Organic Thailand เมื่อปี พ.ศ. 2555 และถือเป็นตรามาตรฐานของประเทศไทย แต่ไม่ได้บังคับว่าการนำเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์หรือสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในประเทศไทยจะต้องได้รับมาตรฐาน Organic Thailand นี้

3.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ – มอน. (The Northern Organic Standard Organization)

องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ จัดตั้งขึ้นโดยความร่วมมือของเกษตรกร ผู้บริโภค นักวิชาการจากองค์กรของรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน และผู้สนใจทั่วไป โดยมุ่งหวังจะเป็นองค์กรที่ทำการรับรองผลิตผลของ เกษตรกรที่ทำการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกรและผู้บริโภคว่า ผลิตผลที่ได้รับการรับรองจากองค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์นั้น เป็นผลิตผลที่ปลอดจากสารพิษสารเคมีสังเคราะห์ และยังเอื้อต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริงด้วย

3.4 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์

ตามแนวทางการพัฒนางานเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดสุรินทร์ และได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการโครงการเกษตรอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์ในปี พ.ศ. 2547 โดยมีมาตรฐานครอบคลุมเฉพาะในเรื่องการผลิตพืช สัตว์อินทรีย์ สัตว์น้ำอินทรีย์ การจัดการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และปัจจัยการผิลต ทั้งนี้ มก.สร. จะทำกาตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์อินทรีย์ไว้ในทุกขึ้นตอน ตั้งแต่การผลิตในระดับแปลง การนำผลผลิตมาแปรรูป แลจำหน่ายผลิตภัณฑ์

3.5 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ (มก.พช.)

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยของนักวิชาการจากมหาวิทยาลับราบภัฎเพชรบูรณ์ร่วมกับชุมชน เกษตรกร ในปี พ.ศ. 2553-54 เป็นมาตรฐานเฉพาะกลุ่มที่ใช้ตรวจรับรองผู้สมัครเป็นสมาชิกเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ ในสังกัดสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์เท่านั้น โดยทางกลุ่มได้ใช้มาตรฐานนี้เป็นมาตรการพัฒนาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพื่อความพอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน และสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร จนเกิดการรวมตัวพัฒนาเป็นเครือข่ายอย่างยั่งยืนเป็นรูปธรรมมาถึงปัจจุบัน

สินค้าที่มีสัญลักษณ์เหล่านี้ปรากฏอยู่ จะมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ไว้ใจได้ ผ่านกระบวนการรับรองว่าไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ถือเป็นเกษตรอินทรีย์ที่มีเกณฑ์การตรวจสอบ ห้ามใช้ GMO_ ห้ามใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช_ ห้ามใช้สารเคมีกำจัดแมลง และห้ามใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์

3.6 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ ชมรมเกษตรอินทรีย์เกาะพะงัน

เป็นระบบการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบชุมชนรับรอง (Participatory Guarantee System – PGS) ที่พัฒนาขึ้นโดยมูลนิธิสายใยแผ่นดินร่วมกับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบนเกาะพะงัน เมื่อปี พ.ศ. 2554 ภายใต้โครงการ เกาะพะงัน เกาะเกษตรอินทรีย์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงพาณิชย์



ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
การป้องกันกำจัด โรคราแป้งในมะม่วง
การป้องกันกำจัด โรคราแป้งในมะม่วง
โรคราแป้งเป็นโรคเชื้อราทั่วไปที่มีผลต่อต้นมะม่วง โรคนี้มีลักษณะเป็นจุดสีขาวแป้งบนใบพืช ซึ่งในที่สุดอาจทำให้ใบเหลืองและร่วงได้ สิ่งนี้สามารถลดผลผลิตของพืชได้อย่างมาก และในบางกรณีอาจทำให้พืชตายได้

หนึ่งในวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการป้องกันและกำจัดโรคราแป้งในต้นมะม่วงคือการใช้สารอินทรีย์ ไอเอส สารประกอบเหล่านี้ทำงานโดยการควบคุมสภาพแวดล้อมของไอออนบนใบพืช ทำให้ไม่เหมาะสำหรับการเจริญเติบโตของเชื้อรา เทคนิคนี้เรียกว่าการควบคุมไอออนและเป็นวิธีที่พิสูจน์แล้วในการป้องกันและกำจัดโรคพืช

ในการใช้สารประกอบอินทรีย์ ไอเอส คุณจะต้องผสมกับ FK-1 ซึ่งเป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของพืช การใช้ ไอเอส และ FK-1 ร่วมกันมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันและกำจัดโรคราแป้งในต้นมะม่วง ในขณะที่ ไอเอส กำจัดโรค FK-1 เร่งการงอกใหม่ของพืชจากการทำลายของโรค นอกจากนี้ FK-1 ยังส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต ทำให้เป็นตัวเลือกที่เหมาะสำหรับชาวสวนมะม่วง

FK-1 ประกอบด้วยสารอาหารที่จำเป็นหลายชนิด เช่น แมกนีเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสารลดแรงตึงผิว สารอาหารเหล่านี้จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตอย่างแข็งแรงของต้นมะม่วง และเมื่อรวมกับสารประกอบอินทรีย์ ไอเอส แล้ว สารอาหารเหล่านี้ให้วิธีแก้ปัญหาที่ทรงพลังยิ่งขึ้นสำหรับการป้องกันและกำจัดโรคราแป้ง

โดยสรุป โรคราแป้งเป็นโรคเชื้อราที่พบได้ทั่วไปที่ส่งผลกระทบต่อต้นมะม่วง แต่สามารถป้องกันและกำจัดได้ด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส ด้วยการควบคุมสภาพแวดล้อมของไอออนบนใบพืช ไอเอส ทำให้เชื้อราเจริญเติบโตได้ยาก เมื่อรวมกับ FK-1 ซึ่งเป็นสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช สารละลายจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการป้องกันและกำจัดโรคราแป้ง รวมทั้งส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต ดังนั้นจึงเป็นความคิดที่ดีที่จะใช้ ไอเอส และ FK-1 ร่วมกันเพื่อให้ต้นมะม่วงของคุณแข็งแรงและให้ผลผลิต

เลือกซื้อ ไอเอส และ FK-1 เลื่อนลงล่างอีกนิดนะคะ
ถั่วลิสง โตไว ใบเขียว น้ำหนักดี ฉีดพ่น ปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
ถั่วลิสง โตไว ใบเขียว น้ำหนักดี ฉีดพ่น ปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
การปลูกถั่วลิสงเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด: เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1

การทำฟาร์มถั่วลิสงเป็นวิธีปฏิบัติทางการเกษตรที่ได้รับความนิยมทั่วโลก เนื่องจากผลิตภัณฑ์ถั่วลิสงมีความต้องการสูง เช่น เนยถั่ว น้ำมันปรุงอาหาร และถั่วลิสงคั่ว เช่นเดียวกับพืชผลอื่นๆ เกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสงมีเป้าหมายเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุดจากฟาร์มของตน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ เกษตรกรจำเป็นต้องใช้ปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของพืช ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เป็นทางเลือกยอดนิยมสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสง เนื่องจากสามารถให้ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อพืชได้ ในบทความนี้ เราจะมาศึกษาประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 และคำแนะนำในการใช้ปุ๋ยเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด

ประโยชน์ของการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1

ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 มีธาตุอาหารที่จำเป็น เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการเจริญเติบโตของต้นถั่วลิสง ปุ๋ยจะอยู่ในรูปแบบที่พืชดูดซึมได้ง่าย และส่งสารอาหารไปยังเนื้อเยื่อของพืชได้อย่างรวดเร็ว สิ่งนี้ช่วยเพิ่มการสังเคราะห์แสงของพืช นำไปสู่ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นและถั่วลิสงที่มีคุณภาพดีขึ้น สารลดแรงตึงผิวในปุ๋ยยังช่วยปรับปรุงการดูดซึมสารอาหารและการซึมผ่านเข้าสู่เนื้อเยื่อของพืช

เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด

ใช้ปุ๋ยในปริมาณที่เหมาะสม
การใช้ปุ๋ยในปริมาณที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญในการป้องกันการใส่ปุ๋ยน้อยเกินไปหรือมากเกินไป สำหรับปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 อัตราที่แนะนำคือ 100 กรัมต่อไร่ ให้แน่ใจว่าคุณผสมทั้งสองถุงที่บรรจุอย่างละ 50 กรัม และละลายส่วนผสมในน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นส่วนผสมให้ทั่วต้นถั่วลิสง ให้แน่ใจว่าคุณครอบคลุมใบ ลำต้น และฝัก

ใช้ในเวลาที่เหมาะสม
เวลาเป็นสิ่งสำคัญเมื่อต้องใส่ปุ๋ย สำหรับการปลูกถั่วลิสง แนะนำให้ใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ในช่วงการเจริญเติบโตของพืชและการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งเป็นช่วงที่พืชต้องการสารอาหารมากที่สุดเพื่อพัฒนาและผลิตถั่วลิสงคุณภาพสูง ใส่ปุ๋ยในตอนเช้าหรือตอนบ่ายเมื่ออากาศเย็นลงเพื่อป้องกันใบไหม้

ใช้น้ำที่มีคุณภาพ
คุณภาพของน้ำที่ใช้ในการละลายปุ๋ยอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของปุ๋ย ใช้น้ำที่สะอาดและไม่มีคลอรีนในการละลายปุ๋ย เพื่อป้องกันปฏิกิริยาเคมีที่อาจส่งผลต่อการมีธาตุอาหาร หากคุณกำลังใช้น้ำกระด้าง ให้พิจารณาเพิ่มสารปรับสภาพน้ำเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำ

ติดตามความคืบหน้าของพืช
การตรวจสอบต้นถั่วลิสงเป็นประจำสามารถช่วยให้คุณระบุการขาดสารอาหารหรือส่วนเกินได้ หากคุณสังเกตเห็นสัญญาณของการขาดธาตุอาหาร เช่น ใบเหลือง การเจริญเติบโตแคระแกรน หรือการเจริญเติบโตของฝักไม่ดี ให้พิจารณาปรับอัตราการใส่ปุ๋ยของคุณ ในทางกลับกัน หากคุณสังเกตเห็นสัญญาณของการใส่ปุ๋ยมากเกินไป เช่น ใบไหม้หรือต้นตาย ให้ลดอัตราการใส่หรือความถี่ลง

บทสรุป

การทำไร่ถั่วลิสงเป็นการลงทุนที่ให้ผลกำไรเมื่อทำอย่างถูกต้อง การใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุดจากฟาร์มถั่วลิสงของคุณ ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เป็นตัวเลือกที่ยอดเยี่ยมสำหรับชาวไร่ถั่วลิสงเนื่องจากความสามารถในการให้สารอาหารที่จำเป็นแก่พืช เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ปุ๋ยในปริมาณที่เหมาะสม ใส่ในเวลาที่เหมาะสม ใช้น้ำที่มีคุณภาพ และติดตามความคืบหน้าของพืช ด้วยเคล็ดลับเหล่านี้ เกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสงสามารถปลูกถั่วลิสงคุณภาพสูงและให้ผลผลิตสูงได้

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. ช้อปปี้ http://ไปที่..link.. และติ๊กต็อก ช้อป http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ประเทศไทย ปลูกพืชอะไรมากที่สุด?
ประเทศไทย ปลูกพืชอะไรมากที่สุด?
เกษตรกรทั่วทุกภาคของประเทศไทย ที่เป็นประเทศเกษตรกรรม โดยมีการปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามมีพืชหลายชนิดที่เป็นพืชนิมปลูกในพื้นที่ต่างๆ โดยแบ่งตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ การปลูกพืช ภูมิอากาศ พืชที่นิยมปลูกในแต่ละภูมิภาคอาจแบ่งได้ดังนี้

1. พืชนิยมปลูกภาคเหนือของประเทศไทย

ที่ตั้งอยู่บนภูเขาสูงมีการปลูกพืชระบบหมุนเวียนตามฤดูกาล ปัจจุบันการผลิตข้าวนาขั้นบันไดเป็นระบบการเกษตรที่ยั่งยืนบนพื้นที่สูงในเขตภาคเหนือตอนบน และสามารถสร้างผลผลิตสูงกว่าการปลูกข้าวไร่ โดยจะมีการปลูกข้าวอยู่ในระดับปานกลาง เพียงร้อยละ 10.3 ของพื้นที่การปลูกข้าวบนที่สูง การปลูกพืชหมุนเวียนเป็นระบบการปลูกพืชที่สามารถเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินในช่วงเวลาหนึ่งลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรคและแมลงและเป็นรายได้เสริมให้แก่เกษตรกรได้ และมีการปลูก ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ข้าวโพด ฝ้าย ข้าวฟ่าง ข้าวโพด และอื่นๆ รวมถึงผลไม้ เช่น ลิ้นจี่ ลำไย มะม่วง เป็นต้น การปลูกพืชแบบผสมผสานในพื้นที่ จึงทำให้มีความหลากหลายของพืชพรรณต่างๆ ด้วยพื้นที่ชลประทาน 10% ในช่วงฤดูแล้งเกษตรกรจึงนิยมปลูก โดยจะการปลูกข้าวที่ใช้ปลูกในฤดูแล้ง หรือ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วฝักยาว ยาสูบ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดอ่อน หอมหัวใหญ่ กระเทียม มะเขือเทศ แตงโม เป็นต้น ดังนั้นการปลูกพืชโดยทั่วไปในพื้นที่นี้จึงเป็นการปลูกข้าวและการปลูกไม้ผลเป็นหลัก

2.พืชนิยมปลูกภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (ภาคอีสาน)

การเพาะปลูก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทำการเพาะปลูกมากที่สุด แต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำสุด เนื่องจากดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น การปลูกข้าว พืชไร่ที่สำคัญ ได้แก่ มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ปอ ฝ้าย โดยพบว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1.เกิดปัญหาดินเค็ม ขาดความอุดมสมบูรณ์ 2.ขาดแคลนน้ำมากที่สุด เนื่องจากดินเป็นดินปนทรายไม่อุ้มน้ำ 3.การบุกรุกป่าไม้ของประชากรเพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการเพาะปลูก หรือเพื่อการค้า ทรัพยากรธรรมชาติในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรัพยากรดิน ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นดินทรายและขาดธาตุอาหาร ใต้ดินมีเกลือหินทำให้ดินเค็มและแห้ง ไม่เหมาะในการเพาะปลูกพืช และทำนา ดังนั้นไร่เทพจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยปรับปรุงดิน ทำให้โครงสร้างของดินดี ดินโปร่ง ร่วนซุย น้ำและอากาศถ่ายเทสะดวก รากพืชแผ่ขยายได้ง่าย ผสมน้ำราดโคนต้น จะช่วยปรับสภาพดินเหนียวให้คลายตัวออก สามารถปลดปล่อยธาตุอาหารที่ถูกตรึงไว้ในดินให้พืชกลับนำมาใช้ใหม่ได้ใหม่อย่างเต็มที่ในดินทรายจะช่วยอุ้มน้ำ รักษาความเป็นกรด ด่าง ไม่ให้เปลี่ยนแปลงเร็ว เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นดินปนทรายไม่สามารถอุ้มน้ำได้ จึงทำให้ขาดแคลนน้ำเป็นสำคัญ จึงต้องอาศัยการชลประทานเข้ามาช่วยมีการสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพื่อเก็บกักน้ำ

3. พืชนิยมปลูกภาคกลางของประเทศไทย

รูปแบบการทำเกษตรกรรมในภาคกลางเป็นทำการเกษตรกรรมแบบผสมผสานคือมีการปลูกพืชและเลี้ยงปศุสัตว์ควบคู่กัน สามารถปลูกพืชอายุสั้น เช่น ข้าว (โดยเฉพาะการปลูกข้าวนาปรัง) พืชไร่ พืชผักมากกว่า 1 ครั้งในรอบปี โดยจังหวัดที่มีความถี่ของการใช้พื้นที่เพื่อเพาะปลูก ค่อนข้างสูง สำหรับกลุ่มพืชไร่ที่เพาะปลูกในภาคกลางที่สำคัญประกอบด้วย ข้าวโพด มันสำปะหลัง อ้อย สับปะรด ทานตะวัน และข้าวฟ่าง ซึ่งกระจายอยู่ทั่วทั้งภาค ดังนี้ อ้อย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง สับปะรด และข้าวฟ่าง

4.พืชนิยมปลูกภาคใต้ของประเทศไทย

พืชเศรษฐกิจที่สำคัญในภาคใต้ ได้แก่ ยางพารา มะพร้าว กาแฟ ปาล์มน้ำมัน ข้าวและไม้ผล ต่าง ๆ แม้ว่าข้าวจะเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ แต่ผลผลิตยังไม่เพียงพอสำหรับบริโภค ส่วนพืชไร่และพืชผัก ต่าง ๆ มีปลูกกันน้อย เช่นเดียวกันกับการเลี้ยงปศุสัตว์ เช่น โค กระบือ ก็ยังมีเป็นส่วนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับขนาดการถือครองพื้นที่การเกษตร อย่างไรก็ตาม บริเวณพื้นที่ที่น่าจับตามองว่าจะเป็นแหล่งที่จะพัฒนาการเลี้ยงโคได้ดี เนื่องจากมีศักยภาพทางด้านพื้นที่และความพร้อมของประชากร หากได้รับการสนับสนุนทางด้านปัจจัยการผลิต เงินทุน อัตรา ดอกเบี้ยและระยะเวลาผ่อนชำระหนี้นานจากรัฐบาล น่าจะทำให้การพัฒนาการเลี้ยงโค-กระบือในภาคใต้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ความต้องการโค-กระบือของตลาดทั้งภายในประเทศและนอกประเทศยังอยู่ในระดับสูง

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3319
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะผลแตงโม ใน แตงโม และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะผลแตงโม ใน แตงโม และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
แตงโม ผลไม้หน้าร้อนที่หลายคนชื่นชอบ อย่างไรก็ตาม มันเสี่ยงต่อศัตรูพืชที่เรียกว่าหนอนเจาะแตงโม ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างมากต่อผลไม้และพืช ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์ที่ชื่อว่า Basilisk ซึ่งผลิตโดยแบรนด์ Baserex ได้รับความนิยมในฐานะบาซิลลัสที่สามารถป้องกันและกำจัดหนอนเจาะผลแตงโมได้ ในบทความนี้ เราจะพูดถึงประโยชน์และประสิทธิภาพของการใช้บาซิลิสก์ในการควบคุมหนอนเจาะผลแตงโม

ก่อนอื่นเรามานิยามว่าบาซิลลัสคืออะไร บาซิลลัสเป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่พบได้ตามธรรมชาติในดิน น้ำ และบนพืช บาซิลลัสบางชนิดพบว่ามีคุณสมบัติในการฆ่าแมลงและมักใช้เป็นสารควบคุมชีวภาพในการเกษตร บาซิลิสก์เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่มี Bacillus thuringiensis (Bt) ซึ่งเป็นแบคทีเรียในดินที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งผลิตโปรตีนคริสตัลที่เป็นพิษต่อแมลงบางชนิด

เมื่อพูดถึงการควบคุมหนอนเจาะแตงโม บาซิลิสก์ได้แสดงให้เห็นแล้วว่ามีประสิทธิภาพสูง ผลิตภัณฑ์นี้ทำงานโดยการผลิตสารพิษที่เจาะจงไปที่ตัวอ่อนของหนอนเจาะแตงโม เมื่อตัวอ่อนกินสารพิษเข้าไป จะทำให้ระบบย่อยอาหารเป็นอัมพาต ในที่สุดก็นำไปสู่ความตาย สารพิษนี้ไม่เป็นอันตรายต่อแมลงที่มีประโยชน์หรือมนุษย์ ทำให้เป็นทางออกที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ในการใช้บาซิลิสก์ เกษตรกรหรือชาวสวนสามารถผสมผลิตภัณฑ์กับน้ำและนำไปใช้กับต้นแตงโม ฉีดพ่นทางใบ ลำต้น และผลของพืชได้ สิ่งสำคัญคือต้องใช้ผลิตภัณฑ์ในช่วงต้นฤดูปลูกเพื่อป้องกันการรบกวน และใช้ต่อไปตามความจำเป็นตลอดทั้งฤดูกาล

ข้อดีอย่างหนึ่งของการใช้บาซิลิสก์คือเป็นมาตรการป้องกัน เมื่อนำไปใช้ในช่วงต้นฤดูปลูก เกษตรกรและชาวสวนสามารถหลีกเลี่ยงปัญหาการรบกวนในภายหลังได้ นอกจากนี้ยังเป็นวิธีแก้ปัญหาที่คุ้มค่าเนื่องจากมีราคาถูกกว่าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอื่นๆ

นอกจากนี้บาซิลิสก์ยังไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถส่งผลเสียต่อดิน น้ำ และสัตว์ป่าในพื้นที่ได้ ในทางตรงกันข้าม บาซิลิสก์เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่สลายไปตามกาลเวลา โดยไม่ทิ้งสารตกค้างที่เป็นอันตราย

โดยสรุป บาซิลิสก์เป็นวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัยสำหรับการป้องกันและกำจัดหนอนเจาะแตงโมในต้นแตงโม สารออกฤทธิ์ Bacillus thuringiensis เป็นแบคทีเรียในดินตามธรรมชาติที่สร้างสารพิษที่เป็นพิษต่อแมลงบางชนิด บาซิลิสก์ใช้งานง่ายและไม่เป็นอันตรายต่อแมลงที่มีประโยชน์หรือสิ่งแวดล้อม ทำให้เป็นตัวเลือกที่เหมาะสำหรับเกษตรกรและชาวสวนที่ต้องการควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยวิธีที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

บาซีเร็กซ์ : เชื้อบาซิลลิซ

ช่วยป้องกันและกำจัดแมลงในระยะ หนอน ในสวนไร่และแปลงผัก เช่น

หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนร่าน หนอนแปะใบส้ม หนอนไหมป่า
หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนแก้วส้ม หนอนกินสนสามใบ
หนอนหัวดำมะพร้าว หนอนผีเสื้อ หนอนกินใบผัก หนอนบุ้ง หนอนคืบละหุ่ง

วิธีการใช้งาน

- ผสมน้ำ 75 กรัมหรือ 6 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร

- ฉีดพ่น ใบ กิ่ง ก้าน และ ลำต้น

- ฉีดพ่นเฉพาะในช่วงเย็นตอนที่มีแดดร่ม ลมสงบ

- ฉีดทุก 3-5 วัน

- สามารถใช้รวมกับเชื้อเมธาไรเซียม และ บิวเวอร์เรีย

- ไม่ควรใช้ร่วมกับยาเคมี

ปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค และผู้ใช้

ไม่มีพิษตกค้างเมื่อพ่น สามารถนำพืชมาบริโภคได้ทันที
มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ จึงสามารถใช้แทนสารเคมีกำจัดแมลง ศัตรูพืชได้

❌ไม่ควรผสมเชื้อ บี ที กับสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช โดยเฉพาะสารที่ออกฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เช่น สารปฏิชีวนะและสารประกอบทองแดง คอปเปอร์ คลอไรด์ เป็นต้น❌

!! ควรฉีดพ่นช่วงเช้าหรือเย็นที่มีแสงแดดอ่อน 06.00-09.00 น. หรือ 16.00-18.00 น.!!
** เพิ่มประสิทธิภาพจุลินทรีย์ ควรเเช่เชื้ออย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง เพื่อให้เชื้อกระจายตัว**
** ควรผสมสารจับใบทุกครั้ง **
**หลีกเลี่ยงการฉีดพ่นขนาดมีแสงแดดจัด หรือลมพัดแรง **บาซีเร็กซ์ : เชื้อบาซิลลิซ

ช่วยป้องกันและกำจัดแมลงในระยะ หนอน ในสวนไร่และแปลงผัก เช่น

หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนร่าน หนอนแปะใบส้ม หนอนไหมป่า
หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนแก้วส้ม หนอนกินสนสามใบ
หนอนหัวดำมะพร้าว หนอนผีเสื้อ หนอนกินใบผัก หนอนบุ้ง หนอนคืบละหุ่ง

วิธีการใช้งาน

- ผสมน้ำ 75 กรัมหรือ 6 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร

- ฉีดพ่น ใบ กิ่ง ก้าน และ ลำต้น

- ฉีดพ่นเฉพาะในช่วงเย็นตอนที่มีแดดร่ม ลมสงบ

- ฉีดทุก 3-5 วัน

- สามารถใช้รวมกับเชื้อเมธาไรเซียม และ บิวเวอร์เรีย

- ไม่ควรใช้ร่วมกับยาเคมี

ปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค และผู้ใช้

ไม่มีพิษตกค้างเมื่อพ่น สามารถนำพืชมาบริโภคได้ทันที
มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ จึงสามารถใช้แทนสารเคมีกำจัดแมลง ศัตรูพืชได้

❌ไม่ควรผสมเชื้อ บี ที กับสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช โดยเฉพาะสารที่ออกฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เช่น สารปฏิชีวนะและสารประกอบทองแดง คอปเปอร์ คลอไรด์ เป็นต้น❌

!! ควรฉีดพ่นช่วงเช้าหรือเย็นที่มีแสงแดดอ่อน 06.00-09.00 น. หรือ 16.00-18.00 น.!!
** เพิ่มประสิทธิภาพจุลินทรีย์ ควรเเช่เชื้ออย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง เพื่อให้เชื้อกระจายตัว**
** ควรผสมสารจับใบทุกครั้ง **
**หลีกเลี่ยงการฉีดพ่นขนาดมีแสงแดดจัด หรือลมพัดแรง **

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ
|-Page 49 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ประโยชน์ของการปลูกพืชผสมผสานระหว่าง มันสำปะหลัง กับ พืชตระกูลถั่ว
Update: 2566/04/26 13:57:33 - Views: 16756
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในดอกเบญจมาศ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/07 08:42:01 - Views: 3097
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 9261
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2564/03/03 00:13:01 - Views: 5836
🎗ใส่ปุ๋ยมากแต่.. พืชไม่โต โตช้า เพราะ "ธาตุอาหารที่มีอยู่ต่ำสุด จะจำกัดการเจริญเติบโตของพืช"
Update: 2564/06/22 23:02:54 - Views: 3232
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราแป้ง ในต้นหม่อน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/24 12:36:39 - Views: 2994
การปลูกมะระ
Update: 2564/08/09 22:31:55 - Views: 3235
ส่งออกข้าวโพดหวาน อนาคตรุ่ง
Update: 2555/07/27 15:00:57 - Views: 3617
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 8221
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ดอกมะลิ เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดยไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/26 14:03:05 - Views: 2995
การป้องกัน กำจัด โรค แอนแทรคโนส ในต้นหอม
Update: 2563/11/24 08:54:16 - Views: 3069
กำจัดเชื้อรา มันสำปะหลัง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/19 11:26:26 - Views: 2994
การปลูกยางพารา
Update: 2563/09/28 13:20:35 - Views: 3567
โรคทุเรียนผลเน่า กำจัดโรค ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
Update: 2566/05/22 12:05:12 - Views: 7632
ยากำจัด เพลี้ย ในบวบ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟบวบ แมลงศัตรูบวบ เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/01 22:08:47 - Views: 2989
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในมะม่วงหิมพานต์ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/16 14:39:24 - Views: 3003
ควบคุมวัชพืชในสวนพริกด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและรักษาสวนพริก
Update: 2567/02/13 09:22:56 - Views: 184
ป้องกันกำจัดโรคกะท้อนที่เกิดจากเชื้อรา เช่น กระท้อนใบไหม้ กระท้อนผลเน่า กิ่งแห้ง ผลแห้ง
Update: 2566/01/23 11:38:16 - Views: 3246
การขอโควต้าอ้อยจากโรงงาน มีวิธีการอย่างไร
Update: 2563/04/18 21:27:02 - Views: 3380
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาเพลี้ยไฟ ในมะม่วง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/28 10:02:03 - Views: 3107
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022