<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

อันตราย!! สารฟอร์มาลิน ในอาหารทะเล

172.68.253.67 2565/11/16 13:04:28 , View: 3037, e
อันตราย!! สารฟอร์มาลิน ในอาหารทะเล

ในปัจจุบันมีการตรวจพบ ฟอร์มาลีน ในอาหารทะเลมากมาย และที่น่ากลัวคือในปัจจุบันก็ยังสุ่มตรวจเจออยู่เรื่อย ๆ ผู้ประกอบการมักใช้สารนี้เพื่อรักษาความสดของอาหารเอาไว้ให้ได้นานยิ่งขึ้น เราในฐานะผู้บริโภคก็ควรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้เอาไว้บ้างนะคะ เพื่อลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการบริโภคอาหารทะเลที่มีส่วนผสมของสารฟอร์มาลีนทั้งกับตัวเอง ครอบครัว และคนที่คุณรัก

ฟอร์มาลีน คืออะไร?
ฟอร์มาลีนเป็นสารมีพิษใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์ พลาสติก สิ่งทอ และใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรคและเชื้อรา ในปัจจุบันมีการนำมาใช้ในทางที่ผิดเพื่อให้อาหารสดคงความสดอยู่ได้นานไม่เน่าเสียง่าย ส่วนใหญ่จะรู้จักฟอร์มาลินในเชิงการแพทย์ที่เราทราบกันดีว่าเอาไว้ใช้ในการดองศพไม่ให้เน่าเปื่อย ใช้เป็นยาดับกลิ่นฆ่าเชื้อโรคเพราะทำให้โปรตีนแข็งตัว ทางด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอจะใช้เป็นน้ำยาอาบผ้าไม่ให้ย่น นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติฆ่าเชื้อโรคและเชื้อราในการเก็บรักษาธัญพืชหลังการเก็บเกี่ยว และใช้เพื่อป้องกันแมลง แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร

ส่วนประกอบหลักคือ ฟอร์มาลดีไฮด์ 37% ลักษณะเป็นน้ำใส ไม่มีสี กลิ่นฉุน และมีฤทธิ์ระคายเคือง โดยทั่วไปมีไว้เพื่อการฆ่าเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ทำให้สิ่งของบางอย่างขึ้นรูปและคงรูปอยู่ ใช้ในอุตสาหกรรม ใช้ในการเกษตร ใช้ในทางการแพทย์ ใช้ในเครื่องสำอาง ซึ่งปัจจุบันมีการนำมาใช้ผิดประเภท คือ ใส่ในอาหารโดยเฉพาะพวกอาหารทะเลที่เน่าเสียไว ซึ่งฟอร์มาลีนก่อให้เกิดอันตรายมากมาย

ฟอร์มาลีนเจือปนในอาหารได้อย่างไร
มีรายงานจากประเทศต่างๆ เช่น อังกฤษ อเมริกา ญี่ปุ่น และอิตาลี ว่าในผักผลไม้ บางชนิดและเนื้อสัตว์บางประเภทโดยเฉพาะสัตว์ทะเลและเห็ดหอมมีปริมาณของฟอร์มาลดีไฮด์ในธรรมชาติสูง แต่อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค อย่างไรก็ดี ฟอร์มาลีนที่มีในธรรมชาติหรือที่มาจากปุ๋ยและสารฆ่าแมลงส่วนใหญ่จะมีปริมาณน้อยมาก คือ ไม่เกิน 1 พีพีเอ็ม (ส่วนในล้านส่วน) ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ในขณะที่ฟอร์มาลีนที่จงใจฉีดหรือแช่ในผักหรือเนื้อสัตว์นั้น หากใช้ปริมาณมากเกินไปและมีตกค้างย่อมเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคแน่นอน

ปัจจุบัน ประเทศไทย ตรวจพบบ่อยครั้งว่า มีการใช้ฟอร์มาลีนแช่ผักปลา และเนื้อสัตว์บางอย่างก่อนนำมาขายเพื่อให้มีความสดและไม่เน่าเสียเร็ว เพราะด้วยความไม่รู้ถึงอันตรายของสารชนิดนี้นอกจากนี้ยังนำฟอร์มาลีนมาใช้กับผักหลายชนิด แทนการใช้สารฆ่าแมลง โดยเฉพาะผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว แตงกวา หน่อไม้ ยอดมะพร้าว และอื่นๆ โดยอ้างว่าใช้ฆ่าแมลงบนผักได้ดีและยังทำให้ผักสดอยู่ได้นานอีกทั้งราคายังถูกกว่าสารฆ่าแมลงชนิดอื่นด้วย นอกจากการปนเปื้อนฟอร์มาลีนจะมาจากการฉีดพ่นผักเพื่อฆ่าแมลงแล้ว บางครั้งฟอร์มาลีนอาจมาจากปุ๋ยก็ได้

ฟอร์มาลีนในอาหารส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย
เมื่อเราทานอาหารที่มีส่วนผสมของฟอร์มาลีนเข้าไป จะส่งผลเสียต่อร่างกายมากน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณ ซึ่งจริงๆ แค่เราได้กลิ่นก็จะมีอาการฉุน แสบคอ เกิดอาการผิดปกติต่อระบบทางเดินหายใจได้แล้ว บางคนทานเข้าไปจนเกิดอาเจียน เสียเลือดมากจนถึงขั้นเสียชีวิตก็มี เพราะทางเดินอาหารเกิดการไหม้จากสารฟอร์มาลีนที่มีความเป็นกรด หรือเมื่อได้รับในปริมาณที่เข้มข้นก็จะทำให้เลือดเป็นกรด เกิดภาวะช็อก ความดันตก และตามมาด้วยการเสียชีวิต แต่โดยส่วนใหญ่แล้วหากจะเกิดอาการรุนแรงอย่างที่ว่านี้ได้ มักจะมาจากเหตุจงใจหรือการทำร้ายตัวเองมากกว่า

วิธีสังเกตในการเลือกซื้ออาหารสด หรือตรวจสอบว่ามีสารฟอร์มาลีนหรือไม่
อ.นพ.สหภูมิ ศรีสุมะ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้พูดถึงเรื่องนี้ว่า ให้เราดูว่าร้านอาหารนั้นๆ มีกลิ่นฉุนของสารเคมีแปลกๆ หรือเปล่า ตัวอย่างเช่น หากเนื้อกุ้งมีทั้งส่วนที่แข็งสด และมีส่วนที่เปื่อยยุ่ยในตัวเดียวกัน แสดงว่าต้องมีการแช่ฟอร์มาลีนมาอย่างแน่นอนให้หลีกเลี่ยงในการซื้อมาบริโภค เพราะหากเป็นอาหารสดต้องสดเสมอกัน ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งเปื่อยหรือส่วนใดส่วนหนึ่งแข็งสด

ส่วนใหญ่ ฟอร์มาลีน จะนิยมใส่ในอาหารทะเลสดทั่วไป โดยเฉพาะปลาหมึก และแมงกะพรุน รวมถึงอาหารทะเลประเภทอื่น ๆ เช่น ปลาหมึกกรอบ สไบนาง และเล็บมือนาง เป็นต้น เพราะอาหารเหล่านี้มีการเน่าเสียง่าย ผักก็มีอยู่บ้างแต่นานๆ เราจะเจอสักทีหนึ่ง และอีกวิธีคือใช้ชุดตรวจสารฟอร์มาลีนในอาหาร เมื่อทำครบตามขั้นตอนผลที่ได้ คือ น้ำจะมีสีชมพูแดง แสดงว่าอาหารนั้นมีสารฟอร์มาลีน ก็จะช่วยให้เราหลีกเลี่ยงอาหารสดที่มีสารอันตรายเหล่านีได้อีกทางหนึ่ง เพราะฉะนั้น SGE ขอแนะนำให้ทุกคนตรวจดูก่อนซื้ออาหารทะเลทุกครั้งนะคะ

ฟอร์มาลีน มีประโยชน์อะไรบ้าง
จากการศึกษาข้อมูลเพจมหาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์ได้ให้ข้อมูลว่า สาร ฟอร์มาลีน จะมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและทางการแพทย์เท่านั้น ห้ามนำมาใส่อาหารเพื่อรักษาสภาพอาหาร ฟอร์มาลีนในทางการแพทย์นั้นใช้ในการดองศพไม่ให้เน่าเปื่อย ใช้เป็นยาดับกลิ่นฆ่าเชื้อโรคเพราะทำให้โปรตีนแข็งตัว ทางด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอจะใช้เป็นน้ำยาอาบผ้าไม่ให้ย่น นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติฆ่าเชื้อโรคและเชื้อราในการเก็บรักษาธัญพืชหลังการ เก็บเกี่ยว และใช้เพื่อป้องกันแมลง แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร ฟอร์มาลดีไฮด์เป็นสารในกลุ่มอัลดีไฮด์โดยปกติอยู่ในรูปก๊าซเนื่องจากเป็นสารรีดิวซ์ที่รุนแรงจึงเตรียมให้อยู่ในรูป ของสารละลายฟอร์มาลีน ปัจจุบันมีการนำสารนี้ไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางทั้งด้านการแพทย์ ด้านอุตสาหกรรม ด้าน ความงาม ด้านการเกษตร และด้านอื่น ๆ ทำให้มีการเจือปนอยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา

บทลงโทษสำหรับผู้ประกอบการที่ใช้สารฟอร์มาลีนในอาหาร
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุขขอแจ้งว่า ฟอร์มาลีนสามารถเกิดในสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติอยู่แล้วในปริมาณหนึ่ง ซึ่งเทคนิคการตรวจวิเคราะห์ในปัจจุบันยังไม่สามารถระบุความแตกต่างระหว่างฟอร์มาลินที่เกิดตามธรรมชาติ และที่ตั้งใจเติมลงไปในอาหารเพื่อหวังผลในด้านการเก็บรักษาได้ ดังนั้นตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 151 (พ.ศ.2536) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 กำหนดให้สารละลายฟอร์มัลดีไฮด์หรือฟอร์มาลิน เป็นวัตถุห้ามใช้ในอาหาร ผู้ใช้สารนี้กับอาหาร หรือทำให้อาหารนั้นเกิดพิษภัยต่อผู้บริโภค จัดเป็นการผลิต จำหน่ายอาหารไม่บริสุทธิ์ และถ้าตรวจพบการกระทำดังกล่าว จะต้องถูกดำเนินการตามกฎหมาย มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20_000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการใช้สารละลายฟอร์มัลดีไฮด์หรือฟอร์มาลินในอาหารไม่เพียงแต่จะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ยังมีโทษตามกฎหมายด้วย

เป็นอย่างไรบ้างคะ ถึงแม้ว่าในปัจจุบันการคุ้มครองผู้บริโภคของรัฐฯ อาจจะยังครอบคลุมได้ไม่ทั่วถึง ดังนั้นโอกาสที่เราจะได้รับสารพิษในอาหารทะเลก็คงยังดำเนินต่อไป เพราะฉะนั้นการรู้จักระมัดระวังเลือกบริโภค เลือกซื้อเพื่อสุขภาพของตนเองในระยะยาวกันนะคะ


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..

ตรวจคุณภาพ มาตรฐาน อาหารทะเล ตรวจสารฟอร์มาลินในอาหารทะเล ตรวจอาหารทะเลเพื่อขอ อย. ตรวจสินค้าประมง



กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ วสุ สายกองคำ, Saturday 27 April 2024 16:09:57, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ภัทราพร เทียนทอง, Saturday 27 April 2024 15:00:31, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ บุญเชน ผาก้อน, Saturday 27 April 2024 14:59:10, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สาคร มูลอาจ, Saturday 27 April 2024 14:47:45, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ มงคล ทองคำ, Saturday 27 April 2024 14:46:30, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ คฑาวุธ โมระพัฒน์, Saturday 27 April 2024 13:58:59, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อุกฤษ อินทร์ฉาย, Saturday 27 April 2024 13:57:48, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ กชกร จินดาวรรณ์, Saturday 27 April 2024 13:56:48, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ เกศไพสาร ชัยภูธร, Saturday 27 April 2024 13:55:31, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุนารี โพธิ์หิรัญ, Saturday 27 April 2024 13:36:21, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
กำจัดเพลี้ย ใน แก้วมังกร เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/13 14:42:51 - Views: 2999
โรคไหม้ข้าว ระบาดในแปลงกล้า ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2564/08/09 10:24:25 - Views: 2912
โรคพืช ทำให้เกิดโรคในคนได้หรือไม่?
Update: 2564/08/13 11:45:35 - Views: 2952
การต่อสู้กับโรคแอนแทรกโนสในต้นพริกด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/05/15 09:56:24 - Views: 2994
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างแตงโม
Update: 2566/03/11 08:11:20 - Views: 3015
ลำไย ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/19 10:31:25 - Views: 32
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะผล เจาะดอก ใน ลำไย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/10 13:17:34 - Views: 3157
กรมวิชาการเกษตร เเนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตงให้ระวัง โรคราน้ำค้าง
Update: 2564/08/10 11:59:24 - Views: 3054
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชมันเทศ
Update: 2566/05/09 11:11:08 - Views: 3013
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้าง ในดอกดาวเรือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2565/12/28 14:13:17 - Views: 3071
โกโก้ พืชเศรษฐกิจทางเลือกใหม่สร้างกำไรดี ผลตอบแทน 22,400 บาท ต่อไร่ ต่อปี
Update: 2564/08/12 00:24:21 - Views: 3055
โรคใบด่างมันสำปะหลัง เกิดจากเชื้อไวรัส Cassava mosaic virus ต้องป้องกัน และยับยั้งการระบาดเพิ่มเติม
Update: 2564/01/21 20:27:06 - Views: 3023
หยุดวงจรโรคใบด่างมันสำปะหลัง ปลูก ระยอง 72/KU 50
Update: 2564/01/20 14:03:06 - Views: 2961
การป้องกันและกำจัด โรคเหี่ยว จากเชื้อรา ฟิวซาเรียม ในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/11 09:56:58 - Views: 3054
การรับมือกับโรคเชื้อราในต้นผักสลัด: วิธีป้องกันและการดูแลเพื่อสวนผักที่แข็งแรง
Update: 2566/11/18 09:48:07 - Views: 197
งานวิจัยฝ้ายในรอบทศวรรษ
Update: 2564/08/12 00:16:33 - Views: 2960
การจัดการเพลี้ยในสวนส้มโอ: วิธีการป้องกันและกำจัดเพลี้ยเพื่อสุขภาพและผลผลิตที่ยั่งยืน
Update: 2566/11/21 10:23:11 - Views: 322
กำจัดเชื้อรา ดอกดาวเรือง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/15 11:04:41 - Views: 2995
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร ตามช่วงอายุและความต้องการของถั่วฝักยาว
Update: 2567/02/12 14:46:10 - Views: 102
มะพร้าว ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง โคนเน่า ผลดำ ยอดเน่า ผลร่วง โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/03/20 15:06:41 - Views: 68
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022