<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ

101.51.71.4 2563/09/27 20:19:32 , View: 5412, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ

การทำไร่อ้อย มีหลักใหญ่ ๆ อยู่ประมาณ 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมดิน
ขั้นตอนที่ 2. การปลูกอ้อย
ขั้นตอนที่ 3. การดูแล – รักษา
ขั้นตอนที่ 4. การเก็บเกี่ยว


ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมดิน
ชาวไร่ที่จะเริ่มปลูกอ้อยใหม่ไม่ว่าจะปลูกในที่แปลงใหม่ที่ที่ยังไม่เคยปลูกอ้อยมาก่อนเลย หรือแปลงอ้อยเก่าล้างทิ้งเพื่อปลูกใหม่ ก็ต้องมีการเตรียมการเกี่ยวกับดินในแปลงที่จะปลูก การเตรียมอ้อยของชาวไร่ปลูกอ้อยกัน ตั้งแต่หลังฤดูตัดอ้อยเข้าโรงงานแล้ว อยู่ประมาณเดือนมีนาคม – มิถุนายน เพราะเป็นช่วงหน้าแล้งต่อฤดูฝน จะได้มีเวลาเตรียมดินและเตรียมปลูกอ้อยก่อนฤดูฝนมีฝนตกมาก ๆจะมาถึง

วิธีการเตรียมดินในแปลงที่จะปลูกอ้อย ควรจะกำจัดใบอ้อยหรือวัชพืชต่าง ๆ ที่ตกค้างอยู่ในแปลง
โดยการเผาทำลายหรือขนทิ้งเสีย หลังจากนั้นใช้รถไถดินเข้าไปไถในแปลงครั้งแรกนี้ เรียกว่า “ไถดะ” เสร็จแล้วทิ้งดินตากแดดไว้อย่างน้อย 15 วันเพื่อให้วัชพืชพร้อมทั้ง แมลงศัตรูอ้อยที่ฝังตัวอยู่ในดินพลิกขึ้นมาถูกแดดเผาทำลายเสีย หากเป็นไปได้รอให้ฝนตกลงมาจะทำให้ดินในแปลงที่ไถดะเอาไว้ถูกน้ำฝน ดินจะแตกออกและชื้นนุ่มหลังจากนั้นใช้รถไถดินกลับเข้าไปไถอีกครั้งเรียกว่า “ไถแปร” การไถแปรนี้หากไถไปแล้วหนึ่งครั้ง สังเกตเห็นว่าดินในแปลงยังก้อนใหญ่อยู่ ยังไม่ร่วนซุยพอ ก็สมควรที่จะต้องแปรเพิ่มอีกหนึ่งครั้งเพราะถ้าหากทำดินไม่ดี จะมีผลต่อการงอกและเจริญเติบโตของอ้อยคือ ถ้าดินก้อนใหญ่เกินไป ดินจะไม่กระชับท่อนพันธุ์อ้อยทำให้อ้อยไม่แตกราก ไม่งอกในเวลาอันสมควร แต่ถ้าดินร่วนซุยดี ดินจะเข้าไปกระชับติดกับลำอ้อยท่อนพันธุ์ ความชื้นมากทำให้อ้อยแตกรากเร็ว งอกเร็ว เติบโต ได้ดี ซึ่งจะมีผลต่อการดูแล – รักษา และบำรุงเพิ่มผลผลิตต่อไป

ขั้นตอนที่ 2 การปลูกอ้อย
อ้อยที่ปลูกกันอยู่ในประเทศไทย เพื่อผลิตน้ำตาลในขณะนี้มีอยู่หลายสายพันธุ์ แต่ละพันธุ์ก็เหมาะกับพื้นดินแต่ละพื้นที่ โดยส่วนมากชาวไร่จะ นิยมปลูกอ้อยที่เห็นว่าเหมาะสมกับพื้นที่มีอยู่ประมาณ 4 – 5 พันธุ์ เช่น เค 84 – 200 เค 88 – 92 เค 90 – 77 พันธุ์อู่ทอง 1 และอื่นๆ พันธุ์อ้อยเหล่านี้ ชาวไร่ปลูกแล้วได้ผลผลิตต่อไร่สูง ให้ความหวานสูง ดูแลรักษาและเก็บเกี่ยวง่าย จึงนิยมปลูกกันมาก

เมื่อชาวไร่พันธุ์อ้อยแล้ว ฝนตกมีความชื้นดีแล้วสมควรปลูก การปลูกอ้อยของกลุ่มชาวไร่อ้อยมีปลูกกันอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ 1. ใช้แรงงานคนปลูกโดยตรง 2. ใช้รถไถมีเครื่องปลูก

วิธีที่ 1 การใช้แรงงานคนปลูก ชาวไร่จะต้องใช้รถไถเข้าไปยกร่องในแปลงปลูกให้เป็นร่อง ๆ แต่ละร่องห่างกันประมาณ 1.00 เมตร ถึง 1.50 เมตร แล้วแต่ความชอบของชาวไร่แต่ ละคน เรียบร้อยแล้วใช้คนงานนำพันธุ์อ้อยใส่ลงในร่องทั้งลำ หรือตัดเป็นท่อน ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม ในกรณีปลูกโดยอาศัยน้ำฝนควรจะรอให้ฝนตกลงมา มีความชื้นในร่องอ้อยมากพอก่อนจึงปลูก แต่ถ้ามีน้ำสูบเองก็ปลูกได้เลย

วีธีที่ 2 ใช้รถไถมีเครื่องปลูก วิธีนี้กลุ่มชาวไร่นิยมปลูกกันมาก เพราะประหยัดแรงงาน ประหยัดเวลา และเครื่องปลูกยังสามารถใส่ปุ๋ยในดินไปพร้อมกับปลูกอ้อยไปด้วยเลย การปลูกโดยวิธีที่ 2 นี้ ควรปลูกหลังจากฝนตกลงมาความชื้นในดินมีมากพอ

ขั้นตอนที่ 3 การดูแล – รักษา
การดูแลรักษาอ้อยให้เจริญงอกงามนั้น เป็นภาระอันสำคัญของชาวไร่อ้อยเป็นอย่างมาก สาเหตุหลักหลักก็คือ เรื่องวัชพืชที่ขึ้นมาแย่งอาหารของอ้อย แมลงศัตรูกัดทำลายต้นอ้อย และโรคระบาดของอ้อย

อ้อยปลูกใหม่ไม่ว่าจะปลูกโดยแรงงานคน หรือ ใช้รถปลูก ควรจะใช้สารคุมวัชพืชไว้ก่อน หากไม่ทำไว้เสียฝนตกลงมา วัชพืชจะโตเร็วกว่าอ้อย จะคลุมหน่ออ้อยแย่งอาหาร ทำให้อ้อยหยุดเจริญเติบโต ต้องเสียทั้งค่ากำจัดวัชพืชเพิ่ม ค่าปุ๋ยเพิ่มอีก โดยเฉพาะผลผลิตจะต่ำ ฉะนั้นการดูแลรักษาจะต้องกระทำไปตลอด จนกว่าจะตัดอ้อยเข้าโรงงาน ส่วนเรื่องแมลงทำลายอ้อยและโรคระบาดอ้อย

ส่วนของอ้อยตอ การดูแล รักษาก็คงเหมือนกันกับอ้อยใหม่ โดยเฉพาะอ้อยตอ หลังจากตัดอ้อยแล้ว ใบอ้อยที่ตกค้างอยู่ในไร่จะเป็นตัวช่วยป้องกันความชื้นในดินไม่ให้ระเหยไปเร็ว พร้อมเป็นตัวปิดบังคับความเจริญของวัชพืชอีกด้วย แต่ในกรณีที่อ้อยตอไฟไหม้ในแปลง ทำให้พื้นดินไม่มีใบอ้อยปิดบัง ควรจะต้องดูแลแบบอ้อยปลูกใหม่ ที่สำคัญที่สุดไม่ว่าจะเป็นอ้อยปลูกใหม่หรืออ้อยตอก็ดี ชาวไร่จะต้องดูแลบำรุง รักษา เรื่องน้ำ วัชพืช ตลอดไปจนถึงแมลงและโรคระบาด โดยเฉพาะไฟไหม้อ้อยอันเกิดจากความประมาทหรือบังเอิญก็แล้วแต่ จนกว่าจะถึงวันตัดอ้อยได้ หากไม่เช่นนั้นผลผลิตและผลลัพธ์จะไม่เป็นดังที่ท่านตั้งความหวังไว้

การเพิ่มผลผลิตอ้อย ไม่ว่าจะพยายามลดต้นทุนหรือลดการใช้สารเคมี แต่การใส่ปุ๋ยอ้อยในขณะนี้ก็ยังมีความจำเป็นอยู่ เหตุเพราะว่า ปลูกอ้อยกันมานาน บางแปลงปลูกมานาน 10 ปีกว่าแล้ว ธาตุอาหารในดินสำหรับอ้อยย่อมหมดไป จึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตปุ๋ยที่ชาวไร่ ใช้กันอยู่มีทั้งปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ปุ๋ยทั้ง 2 ชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ใส่แล้วให้ผลช้าแต่ไม่ทำลายดิน ปุ๋ยเคมีให้ผลเร็วทันใจแต่มักเป็นผลเสียต่อดิน มีสารตกค้างสิ่งแวดล้อมเสีย สิ่งนี้ชาวไร่เราทราบดี แต่จำเป็นต้องใส่ ซึ่งก็พยายามใส่ปุ๋ยอินทรีย์กันมากขึ้น

ขั้นตอนที่ 4 การเก็บเกี่ยวหรือตัดอ้อย
1. ใช้แรงงานคน
2. ใช้รถตัดอ้อย
การตัดอ้อยทำน้ำตาล จะเริ่มเปิดหีบตั้งแต่ประมาณ เดือนธันวาคม - เดือนเมษายน ฉะนั้นชาวไร่จะต้องเริ่มตัดอ้อยกัน

http://www.farmkaset..link..
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ




ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ บุษกร คำผาลา, Friday 19 April 2024 13:57:14, เลขจัดส่ง SMAM000198031RW
คุณ ธนศักดิ์ ขวัญสุด, Friday 19 April 2024 13:35:55, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธรรมนูญ, Friday 19 April 2024 13:34:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ณัฐวุฒิ พิกุลหอม, Friday 19 April 2024 13:33:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ไมตรี พนันชัย, Friday 19 April 2024 13:31:58, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ นิยดา เจริญสุข, Friday 19 April 2024 13:23:50, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธนวิน บุญมาทัน, Friday 19 April 2024 13:22:10, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ทรรศภูมิ ดาผา, Friday 19 April 2024 13:20:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สังวาลย์ บุเงิน, Friday 19 April 2024 13:19:31, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ มารุต อินทร์อวยพร, Friday 19 April 2024 13:18:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
โรคไหม้ข้าว ระบาดในแปลงกล้า ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2564/08/09 10:24:25 - Views: 2906
เวียดนาม ราคาส่งออกยางพาราพบปัญหา ราคาตก
Update: 2562/09/08 13:42:18 - Views: 3192
มังคุด โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/31 16:02:55 - Views: 2953
มะม่วง ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/17 10:51:19 - Views: 27
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
Update: 2565/07/25 07:21:31 - Views: 3238
ช่วง COVID-19 เกษตรกรให้ความสนใจเพาะปลูก อินทผลัม มากขึ้น
Update: 2564/08/12 00:19:57 - Views: 3135
การรักษาและป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นเชอร์รี: วิธีการดูแลและป้องกันโรคในสวนผลไม้
Update: 2566/11/24 09:21:38 - Views: 330
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราดำ ในทุเรียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/14 13:06:06 - Views: 3049
ความรู้ด้านการเกษตร ดอกทานตะวันสีแดง
Update: 2565/11/14 13:48:43 - Views: 3085
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟ ศัตรูพืชสำหรับต้นสตอเบอร์รี่
Update: 2567/02/26 13:08:42 - Views: 109
กำจัดโรคที่เกิดจากเชื้อรา โรคใบจุด ใบไหม้ รากเน่า แอนแทรคโนส ราต่างๆ ฯลฯ ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราในพืช โดย FK
Update: 2566/06/23 13:10:39 - Views: 4870
การป้องกันกำจัด โรคราสนิม โรคราแป้งในแตงกวา
Update: 2566/01/12 07:51:16 - Views: 3071
การป้องกันกำจัดโรคเชื้อราในพืชผักชี
Update: 2566/05/06 10:20:58 - Views: 3074
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคสแค็บ ใน มะกรูด ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/18 13:36:01 - Views: 3021
โรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นบอนสีและวิธีการป้องกัน
Update: 2566/11/23 09:01:01 - Views: 231
ปัญหาหนอนในต้นฝรั่ง: วิธีแก้ไขและป้องกัน
Update: 2566/11/20 09:57:58 - Views: 236
กะเจี๊ยบเขียว โตไว ใบเขียว แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/07 15:11:23 - Views: 2912
กำจัดเชื้อรา อ้อย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/21 10:42:09 - Views: 2972
หนอนศัตรูพืชในบล็อคโคลี่: วิธีป้องกันและควบคุมเพื่อสร้างผลผลิตที่ดี
Update: 2566/11/10 12:58:30 - Views: 309
กรมการข้าวเตือน ระวังโรคไหม้ระบาด
Update: 2564/08/09 10:23:01 - Views: 2967
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022