<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

101.51.181.108 2563/06/21 09:50:01 , View: 4080, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)





ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ ชื่นจิตร ต้นศรี, Saturday 20 April 2024 12:29:06, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ กรรยาณี เสน่ห์ดี, Saturday 20 April 2024 12:28:02, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ศิริพร ปราบแทน, Saturday 20 April 2024 12:23:47, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จินตนา เปรมศรี, Saturday 20 April 2024 12:22:54, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จำนงค์ โปปัญจมะกุล, Saturday 20 April 2024 12:21:32, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ปรีชาการช่าง, Saturday 20 April 2024 12:20:20, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ จุฬาลักษณ์ จันปุ่ม, Saturday 20 April 2024 12:19:18, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ พรรษชล, Saturday 20 April 2024 12:18:16, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ลำพูล เพ็ชรรัตน์, Saturday 20 April 2024 12:17:24, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ เมธี ชัยลือชา, Saturday 20 April 2024 12:16:18, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
สารกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์สำหรับควบคุม เพลี้ยไฟมังคุด : ประโยชน์ของการใช้ MAKA และ FK-1
Update: 2565/12/18 10:23:37 - Views: 3356
อ้อย รากเน่า โคนเน่า ใบไหม้ ราสนิม ยาฆ่าเชื้อราในพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T
Update: 2566/05/05 15:00:46 - Views: 7143
จริงหรือ? โควิด-19 แพร่เชื้อทางอากาศ (Airborne) ได้
Update: 2564/08/24 21:36:24 - Views: 3079
การจัดการและป้องกันปัญหาหนอนในต้นอะโวคาโด้: วิธีการแก้ไขที่มีประสิทธิภาพ
Update: 2566/11/16 13:33:07 - Views: 271
หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
Update: 2564/08/17 00:05:18 - Views: 3132
โรคใบติดหรือใบไหม้ในทุเรียน มีสาเหตุจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.) รักษาได้ด้วย ไอเอส
Update: 2563/12/11 11:11:51 - Views: 3184
อาการขาดธาตุอาหารในข้าวโพด N, P, K, Mg, Zn "เราช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ให้คุณได้"
Update: 2566/11/04 11:38:24 - Views: 241
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดวง ในมะเขือเทศ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/23 09:31:51 - Views: 2979
โรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคยอดแห้ง โรคแคงเกอร์ โรคไฟทอปโธร่า
Update: 2564/02/07 22:04:38 - Views: 3025
เงาะ ใบไหม้ ผลเน่า ราแป้ง กำจัดโรคเงาะ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/11/01 10:16:33 - Views: 3028
การใช้ Metalaxyl ผสม Starfer Fertilizer 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดโรคในต้นดอกกล้วยไม้
Update: 2567/02/29 10:53:42 - Views: 65
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มะเขือเทศ ผลใหญ่ ดกเต็มต้น ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/13 10:55:02 - Views: 3010
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
Update: 2564/08/10 05:02:02 - Views: 3050
เทคนิค การปลูกฟักทอง ง่าย ๆ ได้ผลผลิตดีงาม
Update: 2564/08/09 05:04:41 - Views: 3443
ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ขนาด 3 ลิตร ปลอดภัย ใช้ดี
Update: 2562/08/30 11:47:08 - Views: 3430
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนชอนใบ ใน ส้ม และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/11 10:26:55 - Views: 3096
การจัดการเพลี้ยในต้นโกโก้: วิธีการและกลยุทธ์ในการป้องกันและควบคุม
Update: 2566/11/17 12:47:26 - Views: 317
การจัดการโรคเชื้อราในแตงโมอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:42:38 - Views: 2907
ทำความรู้จักกับศัตรูของกาแฟ: การรับมือกับเพลี้ยในต้นกาแฟ
Update: 2566/11/24 12:57:19 - Views: 299
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคแอนแทรคโนส ในมะละกอ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/17 13:45:53 - Views: 3066
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022