<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

101.51.181.108 2563/06/21 09:50:01 , View: 4251, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)





ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ วายุ กะสัง, Tuesday 23 April 2024 14:08:28, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สำเริง วงษ์แย้ม, Tuesday 23 April 2024 13:30:35, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อนงค์นาฎ ประกอบผล, Tuesday 23 April 2024 13:29:21, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Chaiyuth khanai, Tuesday 23 April 2024 13:27:39, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุจิตรา ปิยะรัตน์มานนท์, Tuesday 23 April 2024 13:25:38, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Tiana, Tuesday 23 April 2024 13:24:13, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ พนิตา เบี้ยแดง, Tuesday 23 April 2024 13:22:51, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สมเดช ชมถิ่น, Tuesday 23 April 2024 13:18:06, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ Pipop, Tuesday 23 April 2024 13:16:55, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธีระศักดิ์ อั่นสกุล, Tuesday 23 April 2024 11:52:21, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
หนอนชอนใบฟักเขียว พืชตระกูลฟัก ยากำจัดหนอนฟักเขียว ฟักแฟง ฟักต่างๆ หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/10/04 10:47:38 - Views: 3104
ปุ๋ยสำหรับเมล่อน ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตเมล่อน
Update: 2564/05/06 09:00:25 - Views: 3121
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในขนุน และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/17 13:07:39 - Views: 3058
ทุเรียนใบเหลือง ปัญหาใหญ่ของเกษตรกร แก้ได้ง่ายๆ ด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 13:26:39 - Views: 80
การป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสแตงโม
Update: 2563/11/26 11:16:52 - Views: 3073
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันทอง ใน มะละกอ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 14:16:59 - Views: 3107
ปุ๋ยสำหรับสละ ปุ๋ยสำหรับระกำ ยารักษาโรครา ใบไหม้ ยาปราบศัตรูพืช สละ ระกำ #ปุ๋ยสละ #ปุ๋ยระกำ
Update: 2564/10/27 05:48:36 - Views: 2963
การป้องกันและควบคุมเพลี้ยในต้นผักกาดเขียว: วิธีที่มีประสิทธิภาพ
Update: 2566/11/24 12:52:02 - Views: 413
โรคไหม้ข้าว (ระยะออกรวง)
Update: 2564/05/03 08:21:45 - Views: 3181
กำจัด โรคราแป้ง ในต้นทุเรียน แก้ปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์คุณภาพสูง จาก FK ขนาด 250 ซีซี
Update: 2566/05/23 11:26:10 - Views: 6388
กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/07/14 08:25:47 - Views: 3043
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยแป้งอินทผาลัม เพลี้ยอินทผลัม แมลงจำพวกปากดูด เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/20 22:20:00 - Views: 3191
ยากำจัดเพลี้ยฟักข้าว เพลี้ยไฟฟักข้าว เพลี้ยอ่อนฟักข้าว เพลี้ย ฟักข้าว เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/08 10:49:23 - Views: 3002
ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างในอ้อย
Update: 2566/01/07 09:24:11 - Views: 2993
ทุเรียนผลแตก ทุเรียนผลปลิ และเกิดอาการเน่า รอบรอยปลิแตก เนื่องจาก ทุเรียนขาดธาตุแคลเซียม ผลไม้อื่นก็เช่นกัน ฉีดพ่น FK-1
Update: 2564/03/11 21:55:16 - Views: 3242
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบเพิ่มประสิทธิภาพสำหรับต้นทุเรียน
Update: 2566/11/18 08:52:58 - Views: 264
มัลเบอร์รี่ โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ ฉีดพ่นปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/04/05 10:00:57 - Views: 3047
การจัดการและป้องกันหนอนในต้นฟักทอง: วิธีการแก้ไขปัญหาในการปลูกฟักทอง
Update: 2566/11/14 13:56:40 - Views: 300
ยากำจัด เพลี้ย ในฟัก เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น แมลงศัตรูฟัก เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/05 03:19:24 - Views: 2952
มาเด้อกินข้าว "ลูกอิสาน" กินข้าวเหนียว กับอู๋ปลา ผักกระถินริมรั่ว ถั่วฝักยาว
Update: 2562/08/30 09:39:40 - Views: 3069
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022