<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

101.51.181.108 2563/06/21 09:50:01 , View: 3900, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)





ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ บุษกร คำผาลา, Friday 19 April 2024 13:57:14, เลขจัดส่ง SMAM000198031RW
คุณ ธนศักดิ์ ขวัญสุด, Friday 19 April 2024 13:35:55, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธรรมนูญ, Friday 19 April 2024 13:34:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ณัฐวุฒิ พิกุลหอม, Friday 19 April 2024 13:33:49, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ไมตรี พนันชัย, Friday 19 April 2024 13:31:58, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ นิยดา เจริญสุข, Friday 19 April 2024 13:23:50, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธนวิน บุญมาทัน, Friday 19 April 2024 13:22:10, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ทรรศภูมิ ดาผา, Friday 19 April 2024 13:20:52, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สังวาลย์ บุเงิน, Friday 19 April 2024 13:19:31, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ มารุต อินทร์อวยพร, Friday 19 April 2024 13:18:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
โรคใบด่างมะละกอ เชื้อไวรัสในมะละกอ ต้องกำจัดเพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นพาหะนำโรค และมีดตอนกิ่งที่ไม่สะอาดก็มีส่วน
Update: 2563/06/10 16:16:45 - Views: 4302
ไม้ดอกเป็นโรค ไม้กระถางเป็นโรค ลักษณะอาการโรค ของไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้กระถาง
Update: 2564/04/10 11:02:37 - Views: 4478
กินเมล่อนแล้ว เอาเมล็ดมาปลูกเองต่อ ได้หรือไม่?
Update: 2562/08/17 12:54:04 - Views: 3052
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุด ใบไหม้ ใน ดอกทานตะวัน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/12 14:14:10 - Views: 3088
การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังด้วยเทคนิคการเพาะปลูกที่เหมาะสม
Update: 2566/04/26 14:01:30 - Views: 2922
โรคอ้อยใบไหม้ โรคใบจุดอ้อย ใบขีดสีน้ำตาล โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/28 04:17:47 - Views: 3219
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคยางไหล กิ่งแห้ง ในมะม่วง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/22 14:46:32 - Views: 3023
กล้วยไม้ใบจุด เน่าดำ ราสนิม ดอกสนิม กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในกล้วยไม้ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/11/02 12:07:19 - Views: 3020
กัญชา สร้างอาชีพ รายได้หลักแสน! สาวกพลังใบทำเงินจากอะไรได้บ้าง?
Update: 2565/11/19 14:50:48 - Views: 2964
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในเมล่อน และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/13 13:28:18 - Views: 2941
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์: เพิ่มประสิทธิภาพในการเจริญเติบโตของต้นละมุด
Update: 2567/02/12 14:54:56 - Views: 87
ระวัง !! โรคเหี่ยว ในต้นมะเขือเปราะ สร้างเสียหายได้มาก ป้องกันได้อย่างไร?
Update: 2566/10/31 14:42:44 - Views: 614
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในต้นข้าว เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็ก
Update: 2566/04/29 12:06:03 - Views: 2994
INVET ไดโนเตฟูราน ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้ง ศัตรูพืชสำหรับต้นมะละกอ และเร่งฟื้นฟู ด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
Update: 2567/02/23 13:28:03 - Views: 78
การควบคุมเพลี้ยในต้นกล้วย: วิธีป้องกันและกำจัดปัญหาแมลงที่อาจทำลายพืชของคุณ
Update: 2566/11/09 10:00:49 - Views: 235
ความสำเร็จอันหอมหวานของการปลูกทุเรียน: คู่มือสำหรับเกษตรกร
Update: 2566/04/28 13:19:39 - Views: 13717
ต่างชาติเมิน เปิดศูนย์วิจัยในไทย ชี้รัฐไม่หนุนลงทุนศึกษา-สลดอีก 168ปี ถึงตามเกาหลีทัน
Update: 2563/06/25 16:26:13 - Views: 3873
สารออกฤทธิ์ ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: เพื่อปรับปรุงดินและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช สำหรับต้นเสาวรส
Update: 2567/02/13 09:49:57 - Views: 97
กะเพราใบไหม้ โรคใบจุดกะเพรา โรคกะเพรา โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/10/10 00:02:08 - Views: 3813
ผสมปุ๋ย สูตร เร่งดอก เร่งผล สูตร 9-25-25 หรือ 8-24-24 ใช้เองง่ายๆ ใช้แอพผสมปุ๋ยช่วยคำนวณส่วนผสม
Update: 2566/01/31 09:26:28 - Views: 4773
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022