<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย แจ้งเนื้อหาไม่ตรงคำค้น แจ้งภาพเสีย แจ้งคุณภาพต่ำ

ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

101.51.181.108 2563/06/21 09:50:01 , View: 4110, e
FK

FK


เลือกสินค้าได้เลยนะคะ (สั่งมากกว่าอย่างละ 1 ขวด โทร 090-592-8614 หรือ ไลน์ไอดี @FarmKaset นะคะ)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFKธรรมชาตินิยมกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
รวมชำระปลายทาง 0 บาท




สั่งซื้อมากกว่านี้ หรือนอกเหนือจากนี้ ติดต่อตามปุ่มด่านล่างที่คุณสะดวกได้เลยนะคะ

ส่งฟรีถึงบ้าน ไม่มีค่าจัดส่ง
เก็บเงินปลายทาง ไม่ต้องโอน สบายใจ





ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี

โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี

ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย

กะหล่ำปลีเน่าคอดิน

โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี

หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย

หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น

หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยกะหล่ำปลี

เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)





ยาป้องกัน กำจัด โรคพืช และแมลงศัตรูพืช

ชุดคุ้มค่า ป้องกันกำจัดโรคพืช FKT+IS


FK-3 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งผล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก


FK-1 ที่สุด.. ของ ปุ๋ยเร่งโต


อัตราผสม

รีวิวยาอินทรีย์

สารอินทรีย์ปลอดภัย รีวิว

ประสบการผู้ใช้ ยาอินทรีย์

ยาอินทรีย์ดีดี

การจัดส่ง ยาอินทรีย์
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ จารุวรรณ จุลมาศ, Saturday 20 April 2024 14:10:36, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ทิวา โม้เมือง, Saturday 20 April 2024 14:05:07, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ มลทิชา เปรี้ยวกระโทก, Saturday 20 April 2024 14:03:53, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ เพทาย ศรีคะ, Saturday 20 April 2024 14:02:39, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธีรวัฒน์ บุญศักดา, Saturday 20 April 2024 14:01:25, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ บ.บางกอก มหานคร, Saturday 20 April 2024 13:59:15, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ บ.บางกอก มหานคร, Saturday 20 April 2024 13:57:28, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ธีรศักดิ์ โคตรสมบัติ, Saturday 20 April 2024 13:31:55, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประจวบ ไข่กระโทก, Saturday 20 April 2024 13:30:36, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สมพร, Saturday 20 April 2024 13:29:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
ปุ๋ยฉีดพ่นทุเรียน ปุ๋ยบำรุง เร่งผลทุเรียน ฉีดพ่น FK-1 มี N-P-K, Mg, Zn และสารจับใบ
Update: 2564/11/05 15:20:52 - Views: 2997
ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 5-3-14 (เพอร์เฟคพี) ตรานกอินทรีคู่ สำหรับ เร่งผล เร่งน้ำหนัก เพิ่มความหวาน พืชออกผลทุกชนิด รวมถึงอ้อย และมันสำปะหลัง
Update: 2566/01/02 08:14:10 - Views: 3173
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน ศัตรูพืช สำหรับต้นถั่วฝักยาว
Update: 2567/02/22 10:11:35 - Views: 69
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในต้นอ้อย เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็ก
Update: 2566/04/29 13:43:28 - Views: 2971
ป้องกันกำจัด โรคใบไหม้ของมะม่วง ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/17 06:13:48 - Views: 3138
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุด ในดอกดาวเรือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2565/12/28 12:14:40 - Views: 3070
โรคเชื้อราในต้นใบบัวบก: แนวทางการดูแลและใช้สารป้องกันในการควบคุม
Update: 2566/11/24 09:13:27 - Views: 316
ยากำจัดหนอนฟักข้าว หนอนเจาะผลฟักข้าว หนอนชอนใบฟักข้าว หนอน ฟักข้าว หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/10/08 10:57:13 - Views: 3002
10 ขั้นตอนง่าย สู่การเป็นเจ้าของแบรนด์เครื่องสำอาง
Update: 2565/11/15 12:15:46 - Views: 2951
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ย ในผักชี และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/15 14:44:26 - Views: 2959
เพิ่มผลผลิตอ้อย ด้วยปุ๋ย FK-1 890บาท และ FK-3S 950บาท โตไวผลผลิตดี
Update: 2562/10/06 07:54:44 - Views: 3163
ชุดย่อยสลายฟางข้าว ชุดย่อยสลายตอฟาง ย่อยสลายใน 7วัน ไม่ต้องเผา
Update: 2564/08/24 00:45:29 - Views: 3058
โรคบวบ ราน้ำค้างบวบ บวบใบไหม้ พืชตระกูลบวบ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/29 05:05:34 - Views: 3039
การป้องกันกำจัดโรคเชื้อราในพืชผักชี
Update: 2566/05/06 10:20:58 - Views: 3074
การจัดการเพลี้ยในต้นถั่วพู: วิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและลดความเสียหาย
Update: 2566/11/20 12:54:43 - Views: 323
เตือน!! ระวังเพลี้ยแป้ง บุก สวนมะปราง สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
Update: 2566/11/01 10:47:05 - Views: 350
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - เคล็ดลับการปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืชแอ๊ปเปิ้ล
Update: 2567/02/13 09:25:43 - Views: 122
เพลี้ยอ่อนคะน้า เพลี้ยในคะน้า เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/19 23:10:08 - Views: 2964
แก้โรคใบไหม้ในมันสำปะหลัง และโรครากเน่าโคนเน่า โรคมันสำปะหลังจากเชื้อราต่างๆ
Update: 2563/08/09 20:09:52 - Views: 2937
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
Update: 2564/05/07 08:10:37 - Views: 3332
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022