ฟาร์มเกษตร
ครบเครื่อง เรื่องปุ๋ยยา
ช่องทางการสั่งซื้อสินค้าจากฟาร์มเกษตร
1. โทรสั่งซื้อที่ 089-459-9003
2. แอดไลน์ไอดี PrimPB แชทสั่งซื้อ
3. สั่งทางเฟสปริม เฟสบุ๊คปริมคลิกที่นี่
4. สั่งผ่านะระบบตระกร้าสินค้า FKX.asia
5. สั่งผ่านเว็บลาซาด้า LAZADA.co.th
ทุกช่องทาง ชำระเงินขณะรับสินค้าที่บ้านคุณ
หมวด: การปลูกพืช | อ่านแล้ว 25099 คน | สั่งพิมพ์หน้านี้ | L

พลูด่าง ปลูกพลูด่าง ปลอดภัยไร้สารพิษ

พลูด่าง เป็นพืชไม้ประดับที่เราจะเห็นได้บ่อย เนื่องจาก พลูด่าง เป็นพืชที่มีความเจริญเติบโตได้เร็ว คนนิยมปลูกไว้ในบ้าน

data-ad-format="autorelaxed">

พลูด่าง เป็นพืชไม้ประดับที่เราจะเห็นได้บ่อย เนื่องจาก พลูด่าง เป็นพืชที่มีความเจริญเติบโตได้เร็ว คนนิยมปลูกไว้ในบ้านหรือบริเวณบ้านกันมานานแล้ว พลูด่าง เป็นพืชที่มีความสวยงาม ทั้งลักษณะของใบที่เป็นรูปหัวใจและห้อยย้อยเวลานำไปแขวนมีสีเขียวด่างด้วยสีขาวเป็นพืชที่มีความสวยงามชนิดหนึ่งเมื่อห้อยย้อยลงมาแล้วทำให้เวลาเราพบเห็นรู้สึกสดชื่นมีชีวิตชีวา ผู้คนส่วนใหญ่จึงนิยมปลูกกัน ไม่เพียงแต่ให้ความสวยงามเพียงเท่านั้น พลูด่าง ยังสามารถดูดสารพิษในอากาศ ทำให้อากาศในบริเวณโดยรอบสดชื่นอีกด้วย สำหรับผู้ที่ต้องการปลูก มีวิธีการปลูกมาแนะนำครับ ดังนี้

วิธีการปลูก พลูด่าง

            ปักชำกิ่งหรือต้นที่มีใบสามารถปักชำในน้ำหรือในดินก็ได้ปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด ส่วนผสมของดินที่ใช้ คือ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ ทราย ส่วนที่สอง ปุยมะพร้าวหรือเศษใบไม้แห้ง ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักละลายน้ำเจือจางรดเดือนละครั้ง

            การดูแล พลูด่าง เป็นพืชที่ต้องการน้ำมาก เป็นพืชที่ชอบน้ำ ดังนั้นเราต้องดูแลเอาใจใส่คอยสังเกตอย่าให้น้ำแห้ง  ถ้าในห้องอากาศโดยรอบร้อนมากๆ เราควรใช้น้ำมาเช็ดที่ใบหมาดๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการเผาใบ พลูด่าง ต้องการแสงแดดบ้าง ซึ่งหมายถึง เราต้องเลี้ยงไว้ในที่ที่ได้รับแสง ไม่ว่าจะเป็นแสงแดดอ่อนๆ หรือแสงไฟนีออน ดูแลแบบกึ่งแดด แต่อย่าให้ร้อนเกินไป


            ไม่ใช่เพียงแค่ความสวยงามเท่านั้นนะครับ พลูด่าง ยังช่วงดูดสารพิษโดยรอบบริเวณให้เราอีกด้วย มีพืชที่ให้ประโยชน์ดีๆแบบนี้ ก็จะช่วยลดโลกร้อนได้ด้วยนะครับ อย่าลืมบ้านใครยังไม่มี พลูด่าง รีบไปหามาปลูกกันเลยนะครับ


อ่านเรื่องนี้แล้ว : 25099 คน £




ความคิดเห็นจากผู้อ่าน:

aey
[email protected]

ที่โต๊ะทำงานของเอ๋ก็มีเหมือนกันค่ะ สวยดีนะคะ


01 ก.ค. 2557 , 09:25 PM  e
0 ชอบ|0 ไม่ชอบ

ส่งความคิดเห็น

 

 
   
   

เลือกหมวด :

แสดงเนื้อหารวมจากทุกหมวด, สินค้าเกษตร, ไอเดียและเทคโนโลยีเกษตร, รวม VDO เด่นจาก FK, นาข้าว, เศรษฐกิจเกษตร, ภาพถ่ายเกษตร, ไร่อ้อย, มันสำปะหลัง, ยางพารา, ปาล์มน้ำมัน, ไร่ข้าวโพด, ผักและการปลูกผัก, การปลูกพืช, ไม้ผล ไม้ยืนต้น, เกษตรน่ารู้, สมุนไพร, ไม้มงคล, พุทธศึกษา, FK Talk, สุขภาพ, การใช้ SUN กับพืชต่างๆ, แอพฯด้านเกษตร, ไม้ดอก ไม้ประดับ, องค์กรด้านเกษตร, ซื้อขายที่ดิน, ห้องปศุสัตว์, ประมง, เกษตรกรตัวอย่าง, ฟาร์มเกษตรพาเที่ยว, FK Freestyle, Agri live update, ออแกนิกส์, จักรกล, อุปกรณ์การเกษตร, ไร่กาแฟ,


แสดงทั้งหมดใน [การปลูกพืช]:
หนอน หนอนกินใบ หนอนเจาะผล หนอนเจาะลำต้น ทุกหนอน แก้ด้วยไอกี้-บีที
เกลือเป็นหนอน ต้องแก้ปัญหาขององค์กร แต่พืชเป็นหนอน กำจัดง่าย ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ
อ่านแล้ว: 6023
พืชใบเหลือง ต้นไม้ใบเหลือง ใบไม้เหลือง อย่าตกใจ บางครั้งแค่ขาดไนโตรเจน
ในบางกรณี ที่เราให้ปุ๋ยที่มีส่วนประกอบของไนโตรเจนไปแล้ว แต่ก็ยังไม่เขียว หรือพืชดูคล้ายจะไม่ตอบสนองต่อปุ๋ยที่เรา..
อ่านแล้ว: 6393
ชวนชมใบเหลือง ชวนชมใบร่วง ชวนชมใบจุด เป็นได้สองถึงสามสาเหตุ แต่หลักๆคือ ชวนชมไม่แข็งแรง
โรคและแมลงศัตรูพืช จะเข้าทำลายต้นชวมชมเมื่ออ่อนแอ แต่หากเรารู้วิธีการดูแลชวนชมให้สมบูรณ์แข็งแรง โรคและแมลงก็ไม่มี
อ่านแล้ว: 8253
เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยไฟ เพลี้ยจั๊กจั่น เพลี่ยอ่อน เพลี้ยกระโดด แก้ด้วย มาคา
เพลี้ยจักจั่นปีกลาย เพลี้ยไฟ ที่ทำลายเมล่อน และผักต่างๆ ป้องกันและจำกัดเพลี้ยด้วย มาคา สารอัลคาลอยด์
อ่านแล้ว: 6838
หนอนชอนใบ เมล่อน แตงโม แตงกวา แคนตาลูบ แตงโม ฟักทอง มะระจีน กำจัดด้วย ไอกี้-บีที
แมลงวันหนอนชอนใบ มักจะพบตัวหนอนชอนไช อยู่บริเวณในใบ สังเกตุง่าย จะเห็นรอยเส้นสีขาวคดเคี้ยวเลี้ยวไปมา อยู่บนใบของพืช
อ่านแล้ว: 6818
ปุ๋ยอินทรีย์ เร่งโต สร้างภูมิต้านทางโรค คุณภาพดีจาก ฟาร์มเกษตร FarmKaset.ORG
ลดอาการคลายน้ำในพืช และช่วยให้พืชใบเขียวเข้ม เจริญเติบโตได้ดีแม้ในช่วงหน้าแล้ง ด้วย บูตเตอร์สีเงิน มีธาตุเหล็ก และ..
อ่านแล้ว: 6318
พริกใบหงิก ดอกหลุดร่วง ใบเหลือง ออกผลน้อย นั้นเพราะ เพลี้ยไฟพริก ระบาดแล้ว
เพลี้ยไฟพริก จะระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มไว ของ เพลี้ยไฟพริกนี้ จะใช้ปากเจาะดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช
อ่านแล้ว: 6340
หมวด การปลูกพืช ทั้งหมด >>