[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3516 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 6 รายการ

โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
ระยะการเจริญเติบโตที่พบ ทุกระยะการเจริญเติบโต ของพริก และมะเขือ พริกหวาน มะเขือเทศ มะเขือม่วง

ลักษณะอาการของโรค/การเข้าทำลาย
-ปรากฏผงสีขาวบริเวณใต้ใบ หรือบนผิวใบด้านบน
-ใต้ใบปรากฏแผลสีเหลือง หรือน้ำตาล
-อาการรุนแรงใบไหม้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัด โรคราแป้งพริก โรคราแป้งมะเขือ
FK-1 ฉีดพ่นเพื่อฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรค ส่งเสริมการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน ส่งเสริมผลผลิต
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
ปุ๋ยสำหรับมะพร้าว
ดูแลสวนมะพร้าว ให้ต้นมะพร้าวเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง แข็งแรง ต้านทานต่อโรค ตลอดไปจนการส่งเสริมผลผลิต ทั้งด้านคุณภาพ และปริมาณ ด้วยการฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบไปด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อความต้องการของ มะพร้าว

การให้อาหารทางใบ ทำให้ต้นมะพร้าว ได้รับธาตุอาหารได้รวดเร็วกว่าทางดิน การปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่เดิมเป็นเวลานาน และเติมเฉพาะปุ๋ยมาตฐานทั่วๆไป มักจะเติมเฉพาะธาตุหลัก 3 ธาตุคือ NPK แต่ในความเป็นจริงแล้ว นอกจากธาตุหลักแล้ว พืชยังต้องการ ธาตุรอง และธาตุเสริมอีกหลายสิบธาตุ ยกตัวอย่างที่สำคัญเช่น แคลเซียม แมกนีเซียม สังกะสี ที่จะมีส่วนช่วยให้พืชดูดกินธาตุหลักได้อย่างเต็มที่ ร่วมถึงเกี่ยวข้องกับความสมบูรณ์แข็งแรง และผลผลิตโดยตรง เป็นไปตามกฎของ Liebig's law of the minimum ซึ่งมีใจความสำคัญว่า

* พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารพืชตัวที่ขาดไป แปลง่ายๆอีกครั้งว่า หากเราไม่เติมธาตุเสริม ตัวที่ขาด หรือตัวที่มีน้อยที่สุด ธาตุตัวที่มีอยู่ในดินน้อยที่สุด จะจำกัดการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืช ไม่โต หรือ โตช้า หรือ ไม่แข็งแรง ไม่ออกผลผลิต หรือ ผลผลิตน้อย ไม่มีคุณภาพ ถ้าเปรียบกับคนก็ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ก็ดำรงชีวิตได้ แต่ไม่แข็งแรงเท่าคนอื่น โตช้ากว่า ร่างกายไม่สมบูรณ์

ฉีดพ่น FK-1 อย่างสม่ำเสมอ ทุก 15-30 วัน เพื่อช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ให้กับต้นทุเรียนอย่างต่อเนื่อง มีความสมบูรณ์แข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลง ตลอดไปจนได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีคุณภาพ และปริมาณที่มากขึ้น ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ต่างๆ ที่มีอยู่ใน FK-1 ที่มากพอ เพียงพอต่อความต้องการของต้นทุเรียน ในหลายๆระยะการเจริญเติบโต

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen N) มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมีสีเขียว เร่งการเจริญเติบโตทางใบ หากพืชขาดธาตุนี้จะแสดงอาการใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง ลำต้นแคระแกร็นและให้ผลผลิตต่ำ

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus - P) เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารพันธุกรรมและสารชีวเคมีที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของรากและช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาดฟอสฟอรัสจะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้

ธาตุโพแทสเซียม (Potassium - K) โพแทสเซียม เป็นธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด ถ้าขาดธาตุนี้พืชจะไม่แข็งแรง ลำต้นอ่อนแอ ผลผลิตไม่เติบโต มีคุณภาพต่ำ สีไม่สวย รสชาติไม่ดี

ธาตุแคลเซียม (Calcium - Ca) แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด พืชขาดธาตุนี้ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดดำที่เส้นใบ รากสั้น ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium - Mg) แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล ทำให้สภาพกรดด่างในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุนี้ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเร็ว

ธาตุสังกะสี (Zinc Zn) สังกะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์ และแป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผ่นใบ โดยเส้นใบยังเขียว รากสั้นไม่เจริญตามปกติ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3297
โรคราแป้งในตำลึง และผักต่างๆ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราแป้งในตำลึง และผักต่างๆ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคราแป้งตำลึง และโรคราแป้ง ในพืชผักต่างๆหลายชนิด เกิดจาก เชื้อรา Oidium sp. (เชื้อราออยเดียม)

ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อราสาเหตุโรคราแป้งเป็นปรสิตถาวร ตลอดวงจรชีวิตจะต้องอาศัยเจริญเติบโตบน สิ่งที่มีชีวิตเท่านั้น ไม่สามารถนำมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ได้ สร้างเส้นใยและกลุ่มของสปอร์ลักษณะเป็น ผงคล้ายแป้งมีสีขาว หรือขาวเทา บนผิวใบพืชที่มันเข้าทำลายเป็นกลุ่มๆ หรือเต็มผิวใบ แล้วส่งเส้นใยพิเศษ เข้าไปอยู่ในเซลล์ใต้ผิวใบ เกิดขึ้นได้ทั้งบนใบและใต้ใบ ในตำลึงพบเกิดบนใบ มากกว่าใต้ใบ ราพวกนี้เข้าทำลาย พืชเพียงผิวตื้นๆ แค่ใต้ผิวใบ หลังจากนั้นสปอร์เมื่อแก่จะถูกปล่อยสู่สภาพแวดล้อมในอากาศ ในน้ำ ในดินต่อไป

ลักษณะอาการ : อาการของโรคราแป้งตำลึงเป็นผงสีขาวอยู่ที่ด้านบนและด้านล่างของผิวใบ โดยเริ่มเป็น เส้นใยบางๆ และจุดเล็กๆ สีขาวเพิ่มจำนวนขึ้นมาอย่างรวดเร็ว จนเป็นลักษณะเส้นใยที่รวมตัวกันเป็นกระจุกหนา ต่อมากระจุกเหล่านั้นเจริญต่อเชื่อมกันเป็นปื้นสีขาว บริเวณส่วนบนและด้านใต้ใบของตำลึง การเกิดโรคจะเกิด จากใบส่วนล่างของเถาตำลึงหรือใบที่มีอายุแก่พอสมควรแล้วจึงลุกลามไปยังส่วนปลายเถา ทำให้เถาตำลึง แห้งตายได้

การแพร่ระบาด : เนื่องจากราสาเหตุมีพืชอาศัยมาก และมีการปลูกอยู่ตลอดฤดูหรือเกือบตลอดทั้งปี ดังนั้นแหล่งกำเนิดของราเพื่อการแพร่ระบาดจึงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา พบระบาดในช่วงที่มีอากาศเย็นและแห้ง ในช่วงปลาย ฤดูฝนและในฤดูหนาว แปลงปลูกตำลึงที่มีการพรางแสงด้วยตาข่ายสีดำ (พรางแสง 50 และ 80%) พบการระบาดของโรครุนแรงกว่าแปลงที่ไม่พรางแสง

การป้องกันกำจัด :

ในช่วงเริ่มพบโรคราแป้งควรตัดแต่งใบที่เป็นโรคทิ้งด้วยมีดหรือกรรไกร แล้วเก็บ รวบรวมเผาทำลายเศษซากพืชที่เป็นโรคเพื่อลดการแพร่กระจาย ใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมถั่วฝักยาว โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
อาการ ทุเรียนยอดแห้ง ใบทุเรียนแห้ง ใบทุเรียนหลุดร่วง มีสาเหตุหลักๆจากโรคเชื้อรา เชื้อรา Phyllosticta sp. ทำให้เนื้อเยื่อตายบริเวณปลายใบ และมักมีเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ปะปนเล็กน้อย

โรคใบติด ใบไหม้ ใบร่วง (Leaf blight_ leaf fall)

เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

โรคใบจุด (Leaf Spot)

เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โดย หากเป็นเชื้อ Colletotrichum sp. ซึ่งทำให้เกิดโรคแอนแทรคโนส ใบอ่อนจะมีสีซีดคล้ายโดนน้ำร้อนลวก ส่วนขยายพันธุ์เป็นจุดดำ ๆ ส่วนใบแก่เป็นจุดกลมขอบแผลสีเข้ม และมีการขยายขนาด ส่วนเชื้อรา Phomopsis sp. ทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายบริเวณใบแก่ มีขนาดจำกัด

เชื้อรา Pseudocercospora sp ทำให้เนื้อตายเป็นจุดเหลี่ยม ๆ เล็ก ๆ กระจัดกระจายบนใบ และใต้ใบมีกลุ่มสปอร์สีดำ ทำให้ใบร่วงรุนแรงได้

โรคราสีชมพู (Pink disease)

เกิดจากเชื้อรา Erythricium Salmonicolor กิ่งมีลักษณะคราบสีขาวแกมชมพูแห้งแข็งบนผิวเปลือก เมื่อใช้มีดถากเปลือกบริเวณที่เป็น จะพบเนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum Zibethinum ทำลายช่อดอกในระยะช่อบาน ทำให้ดอกมีสีคล้ำ เน่าดำก่อนบาน มีราสีเทาดำปกคลุมเกสร กลีบดอก ทำให้ดอกแห้ง ร่วงหล่น

โรคราแป้ง (Powdery mildew)

เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. มักแพร่ระบาดในช่วงที่อากาศแห้งและเย็น เข้าทำลายในระยะดอกบานและติดผลอ่อน เชื้อรามีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง ปกคลุมกลีบดอกและผลอ่อน ทำให้แลดูขาวโพลน ต่อมาดอกและผลอ่อนจะร่วง ส่วนผลที่พัฒนาโตขึ้น จะมีเชื้อราสีขาวปกคลุมบาง ๆ อาจทำให้ผลชะงักการเจริญเติบโต ทำให้ผลผิวหยาบไม่สวย รสชาติอาจเปลี่ยนแปลง และมีเปลือกหนา

โรคโคนเน่า รากเน่า ผลเน่า และแคงเคอร์ที่กิ่ง

เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora โดยเชื้อราจะเข้าทำลายระบบราก และโคนต้น ปรากฎจุดฉ่ำน้ำ และมักมีน้ำเยิ้มออกมา เมื่อใช้มีดถากดูจะพบว่ามีน้ำไหลทะลักออกมา เนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม หากอาการเน่าลุกลาม จะทำให้ใบร่วง โดยเริ่มจากปลายกิ่ง ในที่อากาศชื้น เชื้อราสามารถแพร่ทางลม เข้าทำลายกิ่งและผลได้ โดยมักพบเชื้อรา Lasiodiplodia sp. ร่วมด้วยเสมอ

โรคใบจุดสนิม จุดสาหร่าย

เกิดจากสาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze พบ ในใบแก่ ลักษณะเป็นจุดฟูเสีเขียวแกมเหลือง ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้ม ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาด

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3297
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน หนึ่งในแมลงพาหะตัวร้ายที่แพร่กระจายเชื้อโรคไปสู่พืชผักและทำลายด้วยตัวมันเองได้ ซึ่งเพลี้ยอ่อนมีกระจายไปทั่วโลกมากกว่า 4_000 ชนิด และมีจำนวน 250 ชนิดที่คอยก่อกวนพืช โดยใช้ปากที่แหลมคมเจาะลำต้นอ่อนและโคนใบพืชเพื่อดูดอาหารจากเซลล์พืช จนทำให้ใบพืชผักโดนทำลายจนเสียหาย เพราะสามารถระบาดได้อย่างรวดเร็วและสร้างความเสียหายให้แก่พืชทั่วประเทศ

การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชนั้น เป็นเรื่องใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม จนพวกเราที่ประกอบอาชีพเกษตรกรต่างไม่อยากจะพบเจอ โดยเฉพาะกับแมลงศัตรูที่มีขนาดเล็กมากอย่างเพลี้ยอ่อนนี้ ถ้าเราไม่สังเกตอาจจะมองไม่เห็น ยิ่งเป็นเกษตรกรมือใหม่ด้วยแล้วอาจจะพลาดได้ เพราะแมลงขนาดที่เล็กและแพร่พันธุ์ได้เก่งชนิดนี้กลับสร้างความเสียหายแก่พืชผลเป็นอย่างมาก ทำให้การลงทุนทั้งเงินและแรงของเกษตรกรต้องขาดทุนไปทันที

เพลี้ยอ่อนเป็นแมลงตัวจิ๋ว ที่มีความยาวไม่เกิน 4 มิลลิเมตร หัวเล็กเท่าหัวเข็ม รูปร่างรีและโค้งมนป่องด้านท้าย สามารถออกลูกได้วันละ 10-11 ตัว สามารถออกลูกได้สูงสุดถึงตัวละ 450ตัว ทำให้มีการแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็วและเกิดความเสียหายลุกลามได้ เพลี้ยชนิดนี้จะสามารทำลายพืชได้ทุกระยะเน้นทำลายจุดสำคัญของพืช ทั้งลำต้น ใบ ดอก ผล โดยเจาะกินน้ำหวานที่ใต้ใบที่มันอาศัยอยู่ โดยทั่วไปเพลี้ยผัก จะมีจำนวนน้อยลงเมื่อเริ่มมีฝนเข้ามาชะล้างและมีภูมิอากาศมากขึ้น และจะมีจำนวนมากขึ้นในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น

การควบคุมและกำจัดเพลี้ยอ่อนนั้น เริ่มจากการหมั่นสำรวจพืชผลเพื่อจะได้สังเกตเห็นว่ามีเพลี้ยอ่อนเกาะติดพืชผลหรือไม่ และป้องกันด้วยการขยันรดน้ำ พ่นน้ำที่ยอดผัก เพื่อทำลายถิ่นที่อยู่ของเพลี้ยที่อาศัยใต้ใบ เป็นการชะล้างออกในระดับหนึ่ง และนำแมลงห้ำที่นักล่า อย่างตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ด้วงเต่าลายสมอ ด้วงเต่าลายหยัก และด้วงเต่าอื่นๆ รวมทั้ง ตัวอ่อนแมลงวันดอกไม้ มาปล่อยไว้ในแปลงเพาะปลูก เพื่อห้ำหั่นกับเพลี้ยตั้งแต่ต้น และนำแมลงเบยอย่างแตนเบียนดักแด้ มาปล่อยไว้ด้วย ก่อนที่จะมีการระบาด และหากมีการระบาดแล้ว ต้องใช้จุลินทรีย์จากเชื้อรา เช่น บิวเวอเรียหรือเม็ตตะไรเซี่ยม มาทำลายทันทีก่อนที่จะระบาดหนัก หรือจะนำสมุนไพรไทยเราอย่าง หางไหลสัดส่วน 1 กิโลกรัมผสมกับน้ำ 20 ลิตร เพื่อฉีดพ่นกำจัด หากมีความจำเป็นเร่งรีบอาจจะต้องใช้สารเคมีเข้าช่วย แต่อยากให้เลือกเป็นวิธีการสุดท้ายครับ โดยให้พ่นในสัดส่วนที่ข้างกระป๋องระบุไว้เท่านั้นนะครับ เพื่อไม่ให้เกิดความเป็นพิษต่อพืชผล ตัวเรา และสิ่งแวดล้อมครับ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
แตงไทย โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
แตงไทย โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
แตงไทยเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมและมีราคาสูง ขึ้นชื่อเรื่องรสชาติที่หวานและสดชื่น เมล่อนเหล่านี้ปลูกอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ซึ่งเป็นผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ กุญแจสำคัญประการหนึ่งในการปลูกเมล่อนไทยให้ประสบความสำเร็จคือการดูแลให้ได้รับสารอาหารที่เหมาะสม รวมถึงโปรตีนอะมิโนที่จำเป็น

โปรตีนอะมิโนที่จำเป็นเป็นกลุ่มของสารอาหารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช โปรตีนเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญของฮอร์โมนพืช ซึ่งควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืชในด้านต่าง ๆ รวมถึงการก่อตัวของเซลล์เนื้อเยื่อ การขยายตัวของส่วนต่าง ๆ ของพืช และความต้านทานต่อความเครียดจากสิ่งแวดล้อม เช่น ความแห้งแล้งและโรค

มีอะมิโนโปรตีนที่จำเป็นถึง 18 ชนิด ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเมล่อนไทย เหล่านี้รวมถึง:

อาร์จินีน
ฮิสทิดีน
ไอโซลิวซีน
ลิวซีน
ไลซีน
เมไทโอนีน
ฟีนิลอะลานีน
ธรีโอนีน
โพรไบโอ
วาลีน
กรดแอสปาร์ติก
กรดกลูตามิก
อะลานีน
ซีสเตอีน
ไกลซีน
โพรลีน
ซีรีน
ไทโรซีน
อะมิโนโปรตีนแต่ละชนิดมีบทบาทเฉพาะในการเจริญเติบโตและพัฒนาของเมล่อนไทย ตัวอย่างเช่น ไลซีนมีความสำคัญต่อการสร้างเซลล์เนื้อเยื่อใหม่ ในขณะที่วาลีนมีความสำคัญต่อการขยายส่วนต่างๆ ของพืช อาร์จินีนและฮิสทิดีนมีความจำเป็นต่อการสังเคราะห์ฮอร์โมนพืช ซึ่งมีความสำคัญต่อการควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช

การดูแลให้แตงไทยได้รับกรดอะมิโนที่จำเป็นเหล่านี้ในปริมาณที่เพียงพอ ผู้ปลูกสามารถช่วยให้พืชเติบโตได้อย่างรวดเร็วและให้ผลขนาดใหญ่และแข็งแรง โปรตีนเหล่านี้ยังช่วยให้พืชมีความทนทานต่อความแห้งแล้งและโรคต่างๆ ได้มากขึ้น ซึ่งอาจเป็นความท้าทายที่สำคัญในสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้งของประเทศไทย

เพื่อให้แน่ใจว่าเมล่อนไทยได้รับโปรตีนอะมิโนที่จำเป็นในปริมาณที่เหมาะสม ผู้ปลูกสามารถใช้เทคนิคต่างๆ วิธีหนึ่งคือการใส่ปุ๋ยในดินด้วยแหล่งธรรมชาติของสารอาหารเหล่านี้ เช่น ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อีกทางเลือกหนึ่งคือการใช้ปุ๋ยสังเคราะห์ที่มีสูตรเฉพาะเพื่อให้อะมิโนโปรตีนที่จำเป็น

นอกจากการให้อะมิโนโปรตีนที่จำเป็นแล้ว แตงโมไทยยังได้รับสารอาหารหลักอื่นๆ ในปริมาณที่เพียงพอ เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอีกด้วย ด้วยการให้สารอาหารที่สมดุล ผู้ปลูกสามารถช่วยให้พืชเติบโตได้เต็มศักยภาพและผลิตผลไม้คุณภาพสูงและอร่อย

โดยสรุปแล้ว อะมิโนโปรตีนที่จำเป็นเป็นสารอาหารที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเมล่อนไทย ด้วยการให้โปรตีนเหล่านี้ในปริมาณที่เหมาะสม ผู้ปลูกสามารถช่วยให้พืชของพวกเขาเติบโตอย่างรวดเร็ว ออกผลขนาดใหญ่ และทนทานต่อความแห้งแล้งและโรคต่างๆ เพื่อให้แน่ใจว่าเมล่อนไทยได้รับสารอาหารที่สมดุล ผู้ปลูกสามารถช่วยให้พืชเติบโตได้เต็มศักยภาพและผลิตผลไม้คุณภาพสูงที่ได้รับรางวัลไปทั่วโลก

วิธีการใช้
ผสมน้ำฉีดพ่น
พืชผัก 10-20 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร
นาข้าว พืชไร่ ไม้ผล 20-40 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร
ผสมระบบน้ำหยด 500 มล.ต่อ 1 ไร่
ควรฉีดพ่น 2 ครั้งต่อเดือน
ไม่ควรฉีดพ่นระยะพืชออกดอก

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
การคำนวณสูตรปุ๋ย เป็นการหาอัตราส่วนของการใช้แม่ปุ๋ย 3 สูตร เพื่อผสมเป็นปุ๋ยสูตรใดๆ ตามต้องการ ปุ๋ยสูตรต่างๆที่มีขายในท้องตลาด เกิดจากการใช้แม่ปุ๋ยต่างๆ ผสมเป็นสูตรที่กำหนด เพื่อให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การนำไปใช้ โดยหลักการง่ายๆแล้ว สูตรปุ๋ยจะถูกออกแบบมาเพื่อให้บำรุงพืชตามช่วงการเจริญเติบโตของพืช ในช่วงอายุต่างๆกัน

เม่ปุ๋ยที่นิยมใช้มากที่สุดจะมีอยู่ 3 สูตรดังนี้
1. แม่ปุ๋ย N หรือไนโตรเจน ใช้ สูตร 46-0-0 มีชื่อเรียกว่า ปุ๋ยยูเรีย
2. แม่ปุ๋ย P หรือฟอสฟอรัส ใช้ สูตร 18-46-0 มีชื่อเรียกว่า DAP ปุ๋ยแด๊ป
3. แม่ปุ๋ย K หรือโพแทสเซียม ใช้ สูตร 0-0-60 มีชื่อเรียกว่า MOP ปุ๋ยม็อป

ตัวเลขข้างกระสอบปุ๋ย 3 หลัก จะจัดเรียงธาตุอาหารเป็น
N-P-K = ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โพแทสเซียม ตามลำดับ

จะเห็นได้ว่าตัวเลขสูตรในแม่ปุ๋ย มีเปอร์เซ็นของธาตุอาหารไม่เท่ากันในแต่ละหลัก การผสมปุ๋ยเป็นสูตรต่างๆ จึงไม่ได้ตรงไปตรงมา เช่น การเอาแม่ปุ๋ยทุกสูตร ในปริมาณเท่ากันทั้ง 3 สูตร มาผสมกัน จะไม่ได้ปุ๋ยสูตรเสมอ ที่มีธาตุอาหารทุกธาตุเท่าๆกัน เช่นสูตร 15-15-15 ไม่ได้หมายความว่า จะเอาแม่ปุ๋ยต่างๆมาอย่างละเท่าๆกัน แล้วเติม ฟิลเลอร์ลงไป หลายๆคนเข้าใจผิดในจุดนี้

แม่ปุ๋ย P หากเลือกให้ DAP ซึ่งเป็นสูตร 18-46-0 ก็เป็นตัวเลขที่ทำให้ต้องถอดค่าออกมาสองรอบ เนื่องจากใน DAP เป็นแม่ปุ๋ยฟอสฟอรัสก็จริง แต่ก็มี ไนโตรเจนปนอยู่ด้วย 18 เปอร์เซ็นต์ เราจึงต้องถอดอัตราส่วนของ ฟอสฟอรัสที่ได้ และถอดอัตราส่วน ไนโตรเจนที่ได้ออกมากอีกรอบ แล้วนำอัตราส่วน ไนโตรเจนที่ได้จาก DAP ไปร่วมกับอัตราส่วน ไนโตรเจนที่ได้จาก ยูเรีย อีกรอบหนึ่ง ถึงจะได้ค่า N หรือไนโตรเจนรวม ที่ถูกต้อง

N-P-K หมายความง่ายๆอย่างไร
จำแบบง่ายๆ
ปุ๋ย N สูง ใช้ เร่งโต เพิ่มความเขียว แตกยอดผลิตใบสร้างเนื้อเยื่อ
ปุ๋ย P สูง ใช้ ส่งเสริมระบบราก เร่งการออกดอก
ปุ๋ย K สูง ใช้ เร่งผลผลิต ผลโต น้ำหนักดี และยังส่งเสริมภูมิต้านทานด้วย

ถาม: เวลาต้องการเร่งโต เร่งเขียว ทำไมไม่ใส่ 46-0-0 ไปเลยล่ะ ก็ในเมื่อต้องการให้มันโต?
ตอบ: จะดีกว่าไหม ในต้องที่เร่งโต เราส่งเสริมระบบรากไปด้วยพร้อมกัน พืชจะได้กินอาหารได้ดีขึ้น โตได้มากขึ้นกว่าใส่ยูเรียเพียวๆ พร้อมกันนั้นก็ให้โพแทสเซียมนิดหน่อย จะได้ต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น จึงมีการคิดค้นปุ๋ย 16-16-8 หรือ 16-8-8 หรือ 15-15-15 ขึ้นมา ใส่แล้วได้ผลดีกว่าใช้แม่ปุ๋ยเพียวๆ หรืออย่างปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เป็นสูตร 20-20-20 เป็นตัวเลขที่สูงมาก ใช้แม่ปุ๋ยหลัก Urea_ DAP_ MOP ผสมไม่ได้ เพราะความเข็มข้นไม่เพียงพอ ปุ๋ยสูตรลักษณะนี้ เกิดจากการผสมจากแม่ปุ๋ยอื่นๆที่หาซื้อได้ยากเช่น MAP โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟส หรืออื่นๆ

ถาม: ตอนเร่งให้ผลโต น้ำหนักดี ทำไมไม่ใช้ 0-0-60 ไปเลยล่ะ?
ตอบ: การบวนการสร้างแป้งและน้ำตาล เพิ่มผลผลิต ใช้ โพแทสเซียมสูงที่สุดก็จริง แต่ระบบรากที่ดี ทำให้พืชแข็งแรง ไนโตรเจน ช่วยหล่อเลี้ยงความเขียว ทำให้ต้นไม่โทรมในขณะสร้างผล และไนโตรเจนยังเพิ่มคลอโรฟิลล์ เมื่อพืชใบเขียว รับแสงแดด ปรุงอาหารได้ดี จึงทำให้กระบวนการสร้างแป้งและน้ำตาล และเคลื่อนย้ายมาสะสมเป็นผลผลิต ทำได้ดี สมบูรณ์กว่าการใช้ โพแตสเซียมเพียวๆ จึงได้มีการคิดสูตรอย่างเช่น 13-13-21 หรือ 8-8-24 หากเป็นปุ๋ยฉีดพ่นทางใบก็ FK-3 ที่เป็นสูตร 5-10-40 ก็ใช้เร่งผลผลิตได้เป็นอย่างดี

การคำนวณสูตรปุ๋ย ทุกวันนี้ไม่ต้องคิดเองแล้ว ใช้เว็บแอพคำนวณได้เลย ที่ เว็บแอพฯผสมปุ๋ย
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรแดง ในแตงกวา และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรแดง ในแตงกวา และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรแดง ในแตงกวา และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียม หรือที่รู้จักในชื่อแบรนด์ บิวทาเร็กซ์ เป็นผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธีที่ออกแบบมาสำหรับป้องกันและกำจัดไรแดงในแตงกวาโดยเฉพาะ ผลิตภัณฑ์นี้ประกอบด้วยส่วนผสมของเชื้อรา Beauveria bassiana หลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งเป็นแมลงก่อโรคที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ

ไรแดงหรือที่เรียกว่าไรเดอร์เป็นศัตรูพืชทั่วไปที่สามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นแตงกวา พวกมันกินน้ำเลี้ยงของใบไม้และอาจทำให้พืชเปลี่ยนสี เหี่ยวเฉา และถึงขั้นตายได้หากปล่อยไว้โดยไม่มีการควบคุม สารเคมีกำจัดศัตรูพืชมีประสิทธิภาพในการควบคุมไรแดง แต่ก็สามารถทำร้ายแมลงที่มีประโยชน์และส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมได้เช่นกัน

Beauveria Mix Methharicium เป็นทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่าสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เชื้อราในผลิตภัณฑ์จะไปรบกวนไรแดงทำให้หยุดให้อาหารและตายในที่สุด ผลิตภัณฑ์นี้ยังปลอดภัยสำหรับแมลงที่เป็นประโยชน์ เช่น แมลงเต่าทองและแมลงปีกแข็ง ซึ่งสามารถช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชอื่นๆ ในแตงกวาได้

ในการใช้บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียม ให้ผสมผลิตภัณฑ์กับน้ำและฉีดลงบนต้นแตงกวาโดยใช้เครื่องพ่นสารเคมี เชื้อราต้องสัมผัสกับไรแดงจึงจะออกฤทธิ์ได้ ดังนั้น สิ่งสำคัญคือต้องฉีดพ่นให้ทั่วทั้งต้น รวมถึงใต้ใบ ซึ่งพบไรแดงได้ทั่วไป ผลิตภัณฑ์นี้ยังสามารถใช้เป็นมาตรการป้องกันได้ โดยนำไปใช้กับพืชก่อนที่ไรแดงจะกลายเป็นปัญหา

สิ่งสำคัญคือต้องทราบว่าบิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียมเป็นผลิตภัณฑ์ที่ออกฤทธิ์ช้า อาจใช้เวลาหลายวันหรือแม้แต่หนึ่งหรือสองสัปดาห์จึงจะเห็นผลเต็มที่ แต่เป็นวิธีแก้ปัญหาไรแดงในแตงกวาที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัย

สรุปได้ว่า บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธฮาริเซียม หรือ บิวทาเร็กซ์ เป็นผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธีที่ออกแบบมาสำหรับป้องกันและกำจัดไรแดงในแตงกวาโดยเฉพาะ เป็นทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถใช้เป็นมาตรการป้องกันหรือควบคุมการรบกวนที่มีอยู่ สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

เชื้อบิวเวอร์เรีย + เมธาไรเซียม
เป็นผลิตภัณฑ์ผ่านการคัดสรรจุลินทรีย์ 2 ชนิดมี คุณสมบัติโดดเด่นมาผสมผสานใช้ในการป้องกัน กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วงหนวดยาว ด้วงมะพร้าว ปลวก เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ไรแดง แมลงหวี่ขาว และหนอน เป็นต้น

บิวทาเร็กซ์ : ใช้อย่างไร?
1. ผสมเชื้อ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณ กิ่ง ก้าน ใบ หรือบริเวณที่แมลงระบาด
2. ฉีดพ่นได้ทุก 7-10 วัน

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อไตรโคเดอร์มา และ ยากำจัดเชื้อรา หากต้องการใช้ร่วมควรเว้น ระยะฉีดพ่น 7-10 วัน *

ปัญหาเหล่านี้จะหมดไปด้วย บิวทาเร็กซ์..
ผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช
เชื้อดีที่สุดสำหรับชาวเกษตรกร
ปริมาณเชื้อที่ดีและได้ผล
ให้อาหารเฉพาะของเชื้อแต่ละตัว

เชื้อจะไปเติบโตในแมลง ปกคลุมตัวแมลง ทำให้แมลงแห้งตายในที่สุด
ปลอดภัยไม่มีสารเคมี
แมลงดื้อยา ใช้ได้ต่อเนื่อง
เป็นยาเย็น ใช้ได้ทุกพืช และทุกช่วงอายุของพืช

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
กำจัดเพลี้ย เพลี้ยกระโดด แมลงศัตรูพืช เชื้อบิวเวอร์เรีย ผสม เชื้อเมธาไรเซียม บิวทาเร็กซ์ ปลอดภัยเพาะเชื้อจาก Lab 100%
กำจัดเพลี้ย เพลี้ยกระโดด แมลงศัตรูพืช เชื้อบิวเวอร์เรีย ผสม เชื้อเมธาไรเซียม บิวทาเร็กซ์ ปลอดภัยเพาะเชื้อจาก Lab 100%
กำจัดเพลี้ย เพลี้ยกระโดด แมลงศัตรูพืช เชื้อบิวเวอร์เรีย ผสม เชื้อเมธาไรเซียม บิวทาเร็กซ์ ปลอดภัยเพาะเชื้อจาก Lab 100%
Beauveria-Methharicium Mix: แนวทางปฏิวัติเพื่อต่อสู้กับเพลี้ยกระโดดในพืชทุกชนิด

การแนะนำ

ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ โลกได้เห็นความท้าทายด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น รวมทั้งการบุกรุกของเพลี้ยกระโดด ซึ่งเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อพืชผลต่างๆ ในการแสวงหาวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ล้ำสมัยที่เรียกว่า "Beauveria-Methharicium Mix" วางตลาดภายใต้ชื่อแบรนด์ "Butarex" สารกำจัดศัตรูพืชชีวภาพที่เป็นนวัตกรรมใหม่นี้นำเสนอแนวทางที่มีแนวโน้มในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยกระโดดในพืชหลากหลายชนิด มอบความหวังให้กับเกษตรกรและอุตสาหกรรมการเกษตร

ทำความเข้าใจกับสารผสมบิวเวอเรีย-เมธาริเซียม

Beauveria-Methharicium Mix เป็นส่วนผสมที่เสริมฤทธิ์กันของสารควบคุมทางชีวภาพ 2 ชนิด ได้แก่ Beauveria bassiana และ Methharicium anisopliae เชื้อราทั้งสองชนิดนี้เป็นเชื้อราก่อโรคแมลงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติซึ่งมุ่งเป้าไปที่เพลี้ยกระโดด ซึ่งขึ้นชื่อในเรื่องการสูญเสียผลผลิตอย่างมากในพืชหลากหลายชนิด การรวมกันของเชื้อราที่มีประโยชน์เหล่านี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและให้วิธีแก้ปัญหาที่ทรงพลังกับศัตรูพืชที่น่ารำคาญเหล่านี้

บิวเวอเรีย บาสเซียน่า:
บิวเวอเรีย บาสเซียนาเป็นเชื้อราก่อโรคที่ก่อโรคในแมลงที่รู้จักกันดีซึ่งแพร่เชื้อไปยังเพลี้ยจักจั่นเมื่อสัมผัส เจาะทะลุโครงร่างภายนอกของพวกมันและฆ่าพวกมันในเวลาต่อมา เชื้อราชนิดนี้ได้รับการวิจัยอย่างกว้างขวางและนำไปใช้เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับแมลงศัตรูพืชทางการเกษตรต่างๆ รวมทั้งเพลี้ยกระโดด

Methharicium anisopliae:
Methharicium anisopliae ซึ่งเป็นเชื้อราก่อโรคแมลงอีกชนิดหนึ่ง ช่วยเสริมการทำงานของ Beauveria bassiana โดยทำให้เพลี้ยจักจั่นติดเชื้อโดยการกินเข้าไป เชื้อราสร้างสปอร์ที่ยึดติดกับร่างกายของแมลง งอก และเติบโต ทำให้เกิดการตายในที่สุด

ผลเสริมฤทธิ์กัน

การผสมผสานระหว่าง Beauveria bassiana และ Methharicium anisopliae ในแบรนด์ Butarex ก่อให้เกิดผลเสริมฤทธิ์กันที่ขยายประสิทธิภาพแต่ละตัวในการต่อต้านเพลี้ยกระโดด การทำงานร่วมกันนี้ช่วยเพิ่มโอกาสในการควบคุมและกำจัดประชากรเพลี้ยจักจั่นได้สำเร็จ แม้ในกรณีที่พวกมันพัฒนาความต้านทานต่อสารเคมีกำจัดแมลงทั่วไป

ประโยชน์ของการใช้ส่วนผสมบิวเวอเรีย-เมธาริเซียม

เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและปลอดภัย: ส่วนผสมของบิวเวอเรีย-เมธฮาริเซียมไม่เหมือนกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นพิษต่อมนุษย์และแมลงที่มีประโยชน์ และไม่ทิ้งสารตกค้างที่เป็นอันตรายบนพืชผลหรือในดิน

สเปกตรัมกว้าง: ส่วนผสมนี้มุ่งเป้าไปที่เพลี้ยจักจั่นหลายสายพันธุ์ ทำให้เป็นโซลูชันอเนกประสงค์ที่ใช้ได้กับพืชผลหลายชนิดและสภาพแวดล้อม

ความต้านทานลดลง: เพลี้ยจักจั่นมีโอกาสน้อยในการพัฒนาความต้านทานต่อวิธีการควบคุมทางชีวภาพนี้ เนื่องจากกลไกการทำงานแบบคู่

เกษตรกรรมยั่งยืน: การบูรณาการส่วนผสมบิวเวอเรีย-เมธฮาริเซียมเข้ากับกลยุทธ์การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) ส่งเสริมแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่ยั่งยืนโดยลดการพึ่งพาสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

การประยุกต์ใช้และการดำเนินการ

การใช้ Beauveria-Methharicium Mix นั้นตรงไปตรงมา มีให้เลือกหลายสูตร เช่น แบบผงเปียก แบบเข้มข้นแบบน้ำ และแบบเม็ด ช่วยให้เกษตรกรเลือกตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดตามประเภทพืชผลและสภาพอากาศทางการเกษตร การติดตามจำนวนประชากรเพลี้ยจักจั่นอย่างสม่ำเสมอและการใช้ยาฆ่าแมลงชีวภาพอย่างทันท่วงทีในช่วงระยะแรกของการระบาดเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

บทสรุป

Beauveria-Methharicium Mix วางตลาดในชื่อ Butarex แสดงถึงความก้าวหน้าที่สำคัญในด้านการจัดการศัตรูพืชอย่างยั่งยืน ด้วยส่วนผสมอันทรงพลังของ Beauveria bassiana และ Methharicium anisopliae สารกำจัดศัตรูพืชทางชีวภาพนี้จึงนำเสนอวิธีแก้ปัญหาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยจักจั่นในพืชหลากหลายชนิด เกษตรกรสามารถปรับปรุงสุขภาพของพืชผล เพิ่มผลผลิต และมีส่วนร่วมในอนาคตเกษตรกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืนมากขึ้น โดยการควบคุมพลังของเชื้อราก่อโรคแมลงตามธรรมชาติ

*** มาตรฐานการผลิต ***
✅ มาตรฐาน ห้อง LAB " ISO /IEC17025
✅ สกัดด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
✅ วิจัยและคิดค้นสูตรในห้องแล็บที่ได้
มาตรฐาน
✅ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม
✅ สะดวก ใช้งานง่ายแค่ผสมน้ำพ่นได้เลย

***ปลอดภัยต่อคนและสิ่งแวดล้อม ***

-วิธีใช้-
*ผสมเชื้อ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
**ฉีดพ่นช่วงเวลาแดดอ่อน
***ฉีด ใบ กิ่ง ก้าน ลำต้น และโคนต้น
****ฉีดครั้งละ 3-7 วันแล้วแต่อาการ

ข้อแนะนำ
*****ไม่แน่นำไห้ฉีดร่วมกับสารกำจัดเชื้อรา ไตรโครเดอร์มา

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ต่อสู้ทันที! วิธีกำจัดหนอนในต้นแตงโม
ต่อสู้ทันที! วิธีกำจัดหนอนในต้นแตงโม
ถ้าคุณพบหนอนในต้นแตงโมของคุณ มีตัวเลือกหลายอย่างที่คุณสามารถทำเพื่อควบคุมสถานการณ์นี้:

การตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ:
ตรวจสอบต้นแตงโมของคุณอย่างสม่ำเสมอ เช่น ทุกวันหรือทุกสองวัน เพื่อตรวจสอบการมีหนอนหรือสัตว์ที่อาจทำให้พืชเสียหาย.

การเก็บหนอนทิ้ง:
หากคุณพบหนอน ให้ใช้มือหรือเครื่องมือเล็ก ๆ เก็บทิ้งไปให้ห่างจากแปลงปลูก. การทำเช่นนี้ช่วยลดจำนวนหนอนที่สามารถทำลายพืช.

การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช:
คุณสามารถใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช (pesticides) ที่เหมาะสมกับการทำลายหนอนในต้นแตงโม. ควรอ่านคำแนะนำของผู้ผลิตและปฏิบัติตามขั้นตอนที่ถูกต้อง.

การใช้วิธีผสมผสาน:
ลองใช้วิธีผสมผสาน เช่น การใช้ศัตรูธรรมชาติหรือวิธีการทางชีววิทยา เพื่อลดการใช้สารเคมี.

การตัดแต่ง:
ถ้ามีพืชที่ถูกทำลายมาก คุณอาจต้องพิจารณาตัดแต่งใบหรือส่วนที่เสียหายเพื่อลดการแพร่กระจายของศัตรูพืช.

การใช้ตามวิธีการป้องกัน:
การป้องกันเป็นวิธีที่ดีที่สุด ดังนั้นควรเน้นการทำความสะอาดและการบำรุงรักษาต้นแตงโมอย่างต่อเนื่อง.

.
ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ ป้องกัน กำจัด หนอน ในต้นแตงโม
ไอกี้-บีที สามารถป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอกี้-บีที ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3296
3516 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 6 รายการ
|-Page 9 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ ช่วยให้เพิ่มผลผลิตและคุณภาพของลิ้นจี่ได้
Update: 2567/03/11 11:40:00 - Views: 3293
โรคราสนิมข้าวโพด ราสนิมข้าวโพดฝักอ่อน ราสนิมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ : RUST DISEASE [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 04:36:21 - Views: 3287
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
Update: 2563/07/04 09:19:08 - Views: 3297
มะนาว ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/16 14:54:49 - Views: 3286
ทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุมาจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส ราฝ่อ หยุดลุกลาม
Update: 2563/10/28 14:21:37 - Views: 3296
เร่งผลมะพร้าวให้โต น้ำหนักดี รสชาติอร่อย ให้เน้นธาตุโพแทสเซียม เมื่อมะพร้าวเริ่มติดผล
Update: 2566/01/06 09:26:30 - Views: 3290
วิธีการป้องกันและควบคุม เพลี้ยในต้นดอกทานตะวัน
Update: 2566/11/17 12:54:22 - Views: 3284
ผู้ป่วย หรือคนที่เป็น ไขมันในเลือดสูง กินน้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อน ได้หรือไม่
Update: 2564/08/19 06:28:29 - Views: 3290
มันสำปะหลังใบเหลืองขอบใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2563/04/11 13:20:38 - Views: 3298
การควบคุมโรคเชื้อราในพืชส้มเขียวหวาน
Update: 2566/05/04 09:40:21 - Views: 3287
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 72 และ KU 50 ทนต่อโรคใบด่าง และควรเลือกใช้ท่อนพันธุ์ จากแหล่งที่ปลอดโรค หยุดการแพร่ระบาด โรคมันสำปะหลังใบด่าง ได้เป็นอย่างดี
Update: 2563/06/13 15:50:29 - Views: 3289
ผักบุ้งในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังโรคราสนิมขาว(เชื้อรา ALBUGO IPOMOEA-PANDURATAE)
Update: 2564/09/09 05:42:27 - Views: 3287
เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว เสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับพืช ด้วย FK-1 สามารถใช้ได้ทั้งฉีดพ่นทางใบ หรือราดลงโคนต้น
Update: 2566/10/09 13:55:42 - Views: 3286
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากำมะหยี่ ในมะเขือเทศ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/23 10:50:54 - Views: 3291
การป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้างในแตงกวา
Update: 2566/01/12 10:06:49 - Views: 3286
ปุ๋ยบำรุงแตงโม อาหารเสริมแตงโม ฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/25 01:12:27 - Views: 3292
หนอนพริก แมลงวันพริก หนอนแมลงวัน ศัตรูพริก ป้องกันและกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2564/02/26 06:22:10 - Views: 3290
ต้นงา ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ราแป้ง ยอดดำ เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/08 13:21:16 - Views: 3293
ดอกทานตะวัน ใบไหม้ ใบจุด ราน้ำค้าง กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในดอกทานตะวัน ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/08 10:05:01 - Views: 3293
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนบุ้ง ใน หน่อไม้ฝรั่ง และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/02 13:56:06 - Views: 3289
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022