[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ

ปุ๋ยสำหรับเมล่อน ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตเมล่อน
ปุ๋ยสำหรับเมล่อน ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตเมล่อน
ปุ๋ยสำหรับเมล่อน ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตเมล่อน
บำรุงเมล่อน เร่งการเจริญเติบโต เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่มีประกอบอยู่ใน FK-1

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen N) มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ช่วยให้พืชมีสีเขียว เร่งการเจริญเติบโตทางใบ หากพืชขาดธาตุนี้จะแสดงอาการใบเหลือง ใบมีขนาดเล็กลง ลำต้นแคระแกร็นและให้ผลผลิตต่ำ

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus - P) เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของสารพันธุกรรมและสารชีวเคมีที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของรากและช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาดฟอสฟอรัสจะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้

ธาตุโพแทสเซียม (Potassium - K) โพแทสเซียม เป็นธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล แป้ง และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ช่วยให้ผลเติบโตเร็วและมีคุณภาพดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลงบางชนิด ถ้าขาดธาตุนี้พืชจะไม่แข็งแรง ลำต้นอ่อนแอ ผลผลิตไม่เติบโต มีคุณภาพต่ำ สีไม่สวย รสชาติไม่ดี

ธาตุแคลเซียม (Calcium - Ca) แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แคลเซียม เป็นองค์ประกอบที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด พืชขาดธาตุนี้ใบที่เจริญใหม่จะหงิกงอ ตายอดไม่เจริญ อาจมีจุดดำที่เส้นใบ รากสั้น ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium - Mg) แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน และน้ำตาล ทำให้สภาพกรดด่างในเซลล์พอเหมาะและช่วยในการงอกของเมล็ด ถ้าขาดธาตุนี้ใบแก่จะเหลือง ยกเว้นเส้นใบ และใบจะร่วงหล่นเร็ว

ธาตุสังกะสี (Zinc Zn) สังกะสี ช่วยในการสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน คลอโรฟิลล์ และแป้ง ถ้าขาดธาตุนี้ใบอ่อนจะมีสีเหลืองซีดและปรากฏสีขาวๆ ประปรายตามแผ่นใบ โดยเส้นใบยังเขียว รากสั้นไม่เจริญตามปกติ

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3187
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
เมื่อพูดถึงการทำไร่อ้อยในช่วงเวลานี้ คงต้องเน้นคุยกันเรื่องการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ แต่ในปัจจุบันการเพิ่มผลผลิตโดยการขยายพื้นที่คงทำได้ยาก มีหลักการง่าย ๆ ที่สามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้โดยไม่ยาก แต่ต้องอาศัยข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่ของตนเองประกอบกับเทคนิคต่าง ๆ อันเป็นที่ยอมรับว่าสามารถช่วยเพิ่มผลผลิตได้จริง ร่วมกับการจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อนำมาใช้เพิ่มผลผลิตอ้อยในพื้นที่ของตนเอง

หลักการเพิ่มผลผลิต ผลผลิตของอ้อยที่เราขายกันมีอยู่ 2 ลักษณะคือ ปริมาณ หรือน้ำหนัก และคุณภาพ หรือความหวาน แต่สิ่งที่เกษตรกรเน้นกันมากในปัจจุบัน คือ เรื่องของน้ำหนักผลผลิต

เมื่อนำองค์ประกอบผลผลิตตามเป้าหมายมาคำนวณ

จำนวนลำต่อไร่ 840×15 = 12_600 ลำต่อไร่ น้ำหนักต่อลำ = 2 กิโลกรัม

ผลผลิตเชิงปริมาณเท่ากับ 12_600 ลำ × 2 กิโลกรัม = 25 ตันต่อไร่

จะเห็นได้ว่าตัวเลขเป้าหมายนั้นสามารถทำได้จริง แต่จะทำอย่างไรให้ได้สม่ำเสมอเสมอทุกแปลงและ ต่อเนื่องทุกๆ ปี ซึ่งจะต้องอาศัยเทคนิค และการจัดการที่ดีมาใช้ ปัจจัยที่จะทำให้อ้อยเจริญเติบโต และให้ผลผลิตที่ดีนั้น ตามหลักวิชาการแล้วประกอบด้วยสองส่วน คือ พันธุกรรม (Genetic)
กับสภาพแวดล้อม (Environment)พันธุกรรม คือ ลักษณะเฉพาะของอ้อยที่ประกอบไปด้วยทั้งส่วนที่เหมือน และแตกต่างจากพืชชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้ อ้อยยังมีลักษณะที่มีความหลากหลาย และแตกต่างกัน ซึ่งเราแบ่งแยกออก และเรียกว่า “พันธุ์อ้อย” นั่นเอง ดังนั้นลักษณะของอ้อยก็ไม่เหมือนกับพืชชนิดอื่น อ้อยที่ต่างพันธุ์กันก็มีลักษณะที่ต่างกัน สภาพแวดล้อม คือ ปัจจัยภายนอกที่จะมีผลต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของอ้อย สามารถแบ่งเป็น 5 เรื่อง คือ ดิน น้ำ ธาตุอาหาร สภาพอากาศ และศัตรูพืช

ดังนั้น ขั้นตอนการเพิ่มผลผลิตอ้อยให้ได้ 25 ตันนั้น เริ่มจากการเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมพื้นฐานของตนเอง ซึ่งปัจจุบันมีพันธุ์อ้อยให้เลือกหลากหลาย โดยเกษตรกรสามารถนำเอาพันธุ์อ้อยใหม่ ๆ ที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำ มาทดลองปลูกในพื้นที่ของตนเองโดยแบ่งเป็นแปลงเล็ก ๆ ใช้วิธีการจัดการที่เป็นมาตรฐาน และเก็บข้อมูลเปรียบเทียบทั้งเรื่องการเจริญเติบโตและผลผลิตก็จะสามารถได้พันธุ์อ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเรามาเป็นพันธุ์หลักในการขยายปลูกในพื้นที่ของตนเองได้ ในขณะเดียวกันก็ค้นหาเทคนิค หรือ วิธีการที่จะทำให้อ้อยที่เราปลูกมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมที่สุด คือ มีความชื้นเพียงพอมีดินและธาตุอาหารเหมาะสม ได้รับแสงแดดและอากาศอย่างเพียงพอ และมีศัตรูพืชรบกวนน้อยที่สุด ซึ่งควรมีการวางแผนการจัดการในทุกขั้นตอน เช่น ช่วงเตรียมแปลง ปลูก เก็บเกี่ยว และควรนำเครื่องมือมาช่วยจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของงานตัวอย่างเทคนิคที่ได้ทำการศึกษาและทดลองว่าได้ผลจริงในการเพิ่มผลผลิตอ้อย

สรุปเทคนิคการเพิ่มผลผลิตอ้อย คือ การคัดเลือกพันธุ์อ้อยให้เหมาะสมกัสภาพแวดล้อมพื้นฐานของแปลงที่เราจะปลูก และปรับสภาพแวดล้อมพื้นฐานให้เหมาะสมกับพันธุ์อ้อยที่เราเลือกให้ได้มากที่สุด โดยใช้ต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากอ้อยจะเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้เต็มศักยภาพแล้ว ยังทำให้ชาวไร่ได้กำไรเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน

ขอบมูลจาก kubotasolutions.com/ knowledge/sugar_cane/detail/38
อ่าน:3186
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
ทุเรียนเป็นไม้ผลเขตร้อน ซึ่งในประเทศไทยมีปลูกกันมากในภาคตะวันออกและภาตใต้ พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์หมอนทอง ก้านยาว ชะนี และกระดุมทอง ทุเรียนนอกจากจะผลิตเพื่อบริโภคในประเทศแล้วยังมีการผลิตเพื่อส่งไปขายยังต่างประเทศทั้งในรูปของผลสดและแปรรูปในลักษณะต่าง ๆ แต่เนื่องจากทุเรียนเป็นไม้ผลที่ต้องการการดูแลเอาใจใส่อย่างดี โดยเฉพาะการเข้าทำลายของโรคและแมลง ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่พบเสมอทุกปี ดังนั้นเกษตรกรที่ทำสวนทุเรียนควรได้รู้จักโรคของทุเรียน และการป้องกันกำจัดโรคชนิดต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เพื่อให้ทุเรียนที่ผลิตได้มีคุณภาพดี

โรคที่สำคัญของทุเรียนมีดังนี้

โรครากเน่าและโคนเน่า

เกิดจากเชื้อราเจริญเติบโตเข้าไปทำลายทุเรียนทั้งที่โคนต้น ลำต้น กิ่งและราก โดยจะสังเกตได้จากต้นที่เป็นโรคนี้จะมีใบด้าน ไม่เป็นมัน และสีจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วร่วงหล่น ต้นที่เป็นโรคจะแสดงอาการเน่าและใบเหี่ยว แผลที่ต้นหรือกิ่งจะเน่าเป็นจุดฉ่ำน้ำ เปลือกจะเน่าเป็นสีน้ำตาลและมีเมือกไหลออกมา ซึ่งจะสังเกตได้ในเวลาเช้าหรือช่วงที่มีอากาศชื้น เมื่อถากเปลือกออกจะเห็นเปลือกด้านในมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเข้ม และถ้าขุดดูรากจะพบว่าที่รากแก้วและรากฝอยถูกทำลายเน่าเป็นสีน้ำตาล ทำให้ต้นทุเรียนทรุดโทรมและตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปเผาทำลาย
2. อย่าให้น้ำขังแฉะบริเวณโคนต้น
3. ถากบริเวณที่เป็นโรคออกเพียงบาง ๆ แล้วใช้สารเคมีจำพวกเมททาแลคซิลหรือฟอสเอทธิลอะลูมินั่มผสมน้ำทาบริเวณที่ถากออก


โรคทเรียนผลเน่า

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลาย ส่วนใหญ่จะเริ่มเข้าทำลายบริเวณปลายผลหรือก้นผล โดยจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ ปนเทา แล้วขยายตัวออกไปตามเปลือกผล ทำให้รอยแบ่งของเปลือกแตกออกจากกันได้ง่าย เมื่อผ่าตรวจดูภายในผลจะพบว่าเนื้อเยื่อโดยรอบของเปลือกจะเน่าช้ำสีน้ำตาล ส่วนที่พูเนื้อหุ้มเมล็ดนั้นจะเน่าเละมีสีเหลืองปนน้ำตาล แล้วลุกลามเป็นหมดทุกพู นอกจากนี้ผลที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นก่อนกำหนด
การป้องกันกำจัด
1. เก็บผลที่เป็นโรคผลเน่าไปเผาทำลายเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา หลังจากทุเรียนติดผลแล้ว 2 เดือน

โรคใบติดทุเรียน

เกิดจากเชื้อรา โรคนี้จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน ลักษณะอาการบนใบที่พบจะมีรอยคล้าย ๆ ถูกน้ำร้อนลวก ขอบแผลไม่แน่นอน อาจเริ่มที่ปลายใบ กลางใบ หรือโคนใบ แล้วลุกลามจนเป็นทั้งใบ และจะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวนวลแผ่ปกคลุมคล้ายใยแมงมุมแผ่ไปตามผิวใบ ใบที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นไปในที่สุด ถ้าใบที่เป็นโรคไปสัมผัสกับใบที่ปกติไม่ว่าจะเป็นใบที่อยู่ล่าง ๆ หรือใบที่อยู่เหนือกว่า ใบปกตินั้นก็จะเป็นโรคใบติดได้เช่นกัน
การป้องกันกำจัด
1. ไม่ควรปลูกทุเรียนให้ชิดกันเกินไปเพราะจะทำให้ทรงพุ่มประสานกัน เกิดเป็นโรคติดต่อกันได้ง่าย
2. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายเสีย ตลอดจนทำความสะอาดบริเวณโคนต้นโดยเก็บใบที่เป็นโรคเผาทำลาย
3. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ พ่นทุก 5-7 วันต่อครั้ง

โรคจุดสนิมทุเรียน

เกิดจากพืชชั้นต่ำพวกสาหร่ายทำความเสียหายให้กับทุเรียนโดยดูดอาหารจากใบ ทำให้ต้นทรุดโทรม อาการของโรคจะพบทั้งที่ใบและกิ่ง ที่ใบจะปรากฏเป็นจุดหรือดวงสีเทาอ่อนปนเขียว แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลคล้ายสนิมมีลักษณะเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ ส่วนการทำลายที่กิ่งนั้นจะทำให้เปลือกหนา ซึ่งนานเข้าจะทำให้เปลือกแตก กิ่งแห้งและทรุดโทรมในเวลาต่อมา
การป้องกันกำจัด
1. ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราสีชมพูทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายกิ่งโดยเฉพาะบริเวณง่ามกิ่งซึ่งมีผลทำให้ใบมีสีเหลืองร่วงหล่นไปคล้ายกับอาการกิ่งแห้งและใบร่วงที่เกิดจากโรคโคนเน่า แต่จะสังเกตเห็นเส้นใยของเชื้อรามีลักษณะเป็นขุยสีชมพูปกคลุมบริเวณโคนกิ่งที่มีใบแห้งนั้น และทำให้เปลือกของกิ่งทุเรียนปริแตกและล่อนจากเนื้อไม้ เมื่อถากเปลือกจะพบว่าเนื้อไม้ภายในมีสีน้ำตาล ถ้าเกิดรอบกิ่งจะทำให้กิ่งทุเรียนแห้งตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย และตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่งเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราแป้งทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายผลทุเรียนตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ ผิวที่ผลอ่อนจะมีผงสีขาว ๆ คล้ายโรยด้วยแป้ง และผลอ่อนก็จะร่วงไป แต่ถ้าเชื้อโรคเข้าทำลายเมื่อผลโตแล้วจะทำให้ผลแก่มีสีผิวที่ผิดปกติ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
การป้องกันกำจัด
1. นำผลทุเรียนที่ร่วงหล่นไปเผาทำลาย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3186
หญ้าข้าวนก การป้องกัน และกำจัด
หญ้าข้าวนก การป้องกัน และกำจัด
หญ้าข้าวนก การป้องกัน และกำจัด
หญ้าข้าวนก ชื่อวิทยาศาสตร์ Echinochloa crus-galli (L.) T. Beauv. ชื่อสามัญ barnyard grass ชื่ออื่น หญ้าคอมมิวนิสต์_ หญ้าพุ่มพวง ประเภท/ชีพจักร หญ้า/อายุปีเดียว

ลักษณะทางชีววิทยา

ใบอ่อนจะเป็นคลื่นสีเขียวอ่อนถึงสีเขียว เส้นใบสีเขียวอ่อน ใบจะยาวกว่าใบข้าว ดอกเป็นช่อ ออกดอกได้ตลอดปีเมื่ออายุ 2-3 เดือน ชอบขึ้นในสภาพดินชื้นแฉะความชื้นตั้งแต่ 50 % สามารถงอกใต้น้ำได้ลึก 1-2 เซนติเมตร การขังน้ำไว้ประมาณ 3-7 วัน จะสามารถทำลายการพักตัวของเมล็ดได้ เจริญเติบโตได้ดีในสภาพน้ำขัง

การป้องกันกำจัด

เขตกรรม

1. ล่อให้งอกโดยการไขน้ำเข้านาแล้วขังไว้ 3 - 7 วัน ระบายน้ำออกทิ้งไว้ในสภาพดินชื้น 1-2 สัปดาห์ จะงอกขึ้นมาจำนวนมาก

2. เมื่อหญ้าข้าวนกงอกขึ้นมาเป็นจำนวนมากแล้วจึงไถกลบทำลาย
และเตรียมดิน

3. หากมีการเตรียมดินดีเรียบสม่ำเสมอ จะสามารถเอาน้ำเข้านาได้หลังหว่านข้าวงอกแล้ว 7 วัน โดยขังน้ำลึกกว่า 2 เซนติเมตรจะควบคุมไม่ให้หญ้าข้าวนกงอกขึ้นมาได้ แต่ที่งอกมาก่อนหน้าการขังน้ำก็ยังสามารถเจริญเติบโตได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
สินค้าจากเรา

ชุดย่อยสลายฟางข้าว ชุดย่อยสลายตอฟาง ย่อยสลายใน 7วัน ไม่ต้องเผา

ลดข้าวดีดมากกว่า 70% รวดเร็วในการย่อยสลายตอซังฟางข้าว ภายใน 5-7 วัน โดยไม่ต้องเผา ปรับสภาพดินในนาข้าว สามารถไถพรวนได้ง่าย เพิ่มจุลธาตุอาหารให้แก่นาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว สามารถลดปัญหาข้าวดีด และข้าววัชพืชอื่น ๆ ในนาข้าวได้

#ย่อยสลายฟางข้าว #ย่อยสลายตอฟาง #ย่อยสลายตอซัง

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
จำปาดะ คล้ายขนุน สีเข้มกว่า กลิ่ินหอมมากๆ พบได้เฉพาะทางใต้ของไทย
จำปาดะ คล้ายขนุน สีเข้มกว่า กลิ่ินหอมมากๆ พบได้เฉพาะทางใต้ของไทย
จำปาดะ หรือ Champedak ชื่อพฤกษศาสตร์ Artocarpus integer (Thumb.) Merr. อยู่ในสกุลเดียวกับขนุน A. heterophyllus Lam. หรือ Jackfruit และ สาเก A. altilis (Parkinson) Fosberg หรือ Breadfruit ภายใต้วงศ์ Moraceae แต่ขนุนและสาเกเป็นพืชต่างถิ่น ขนุนมีถิ่นกำเนิดที่อินเดีย ส่วนสาเกมีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์ หมู่เกาะโมลุกกะ และนิวกินี สกุล Artocarpus ในไทยมีพืชพื้นเมือง 12 ชนิด รวมถึงจำปาดะ แยกเป็น 2 สกุลย่อย คือ subg. Artocarpus ที่ใบเรียงเวียน หูใบยาวมากกว่า 1 ซม. หุ้มยอด ดอกเพศเมียและผลไม่เรียบ subg. Psedojaga ใบเรียงสลับในระนาบเดียว หูใบยาวไม่เกิน 5 มม. ติดด้านข้าง ดอกเพศเมียและผลเรียบ ซึ่งจำปาดะอยู่สกุลย่อย subg. Artocarpus

ชื่อพื้นเมือง จำปาเดาะ (ภาคใต้) ชื่อสามัญ Champedak มาจากภาษามาเลย์ chempadak หรือได้ชื่อว่า Golden Jackfruit เนื่องจากเหมือนขนุนแต่มีสีเข้มกว่า

ถิ่นกำเนิด พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา สุลาเวสี โมลุกก และปาปัว ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้ที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง ภูเก็ต สงขลา ยะลา และนราธิวาส ขึ้นในป่าดิบชื้น และปลูกเป็นไม้ผลทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมพม่าและเวียดนาม และในอินเดีย ในไทยพบปลูกเฉพาะทางภาคทางภาคใต้ในระดับต่ำ ๆ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น ส่วนมากสูงถึงประมาณ 20 ม. หรือสูงกว่านี้ มีขนหยาบหรือขนสากสั้น ๆ สีน้ำตาลตามกิ่งอ่อน หูใบ เส้นแขนงใบด้านบน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ และก้านช่อดอก หูใบเรียวหุ้มยอด ยาว 1.5-9 ซม. ใบเรียงเวียน รูปรี รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน ส่วนมากยาว 8-20 ซม. ใบในต้นอ่อนมักจัก 3 พู ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ กิ่ง หรือลำต้น ดอกจำนวนมาก ใบประดับวงใน (inteflora bracts) ไม่มี ช่อเพศผู้แบบช่อเชิงลด รูปรีหรือรูปทรงกระบอก ยาว 1.5-5.5 ซม. ก้านช่อยาวถึง 6 ซม. ดอกแยกกัน กลีบรวมรูปหลอด ยาวประมาณ 1 มม. ปลายจัก 2 พู เกสรเพศผู้มี 1 อัน ยาวกว่าหลอดกลีบเล็กน้อย ช่อเพศเมียรูปไข่กลับหรือรูปทรงกระบอก ก้านช่อยาว 1.5-10 ซม. กลีบรวมเชื่อมติดกับดอกข้าง ๆ รังไข่แยกกัน ผลรวมเกิดจากกลีบรวมที่เชื่อมติดกันพัฒนาเป็นช่อรูปทรงกระบอกอ้วน ๆ หรือเกือบกลม ยาว 20-35 ซม. ผนังชั้นนอกแข็งเป็นช่องร่างแห ปลายกลีบรวมติดทนรูปกรวยคลายหนาม ยาว 1.5-3 มม. ผนังชั้นกลางสดนุ่ม ผลติดบนแกนกลาง แยกกัน รูปรี ยาวประมาณ 3 ซม. ผนังผลหนา เมล็ดขนาดใหญ่ ไม่มีเอนโดสเปอร์ม

หมายเหตุ พันธุ์ป่ามีความแตกต่างจากพันธุ์ที่ปลูกที่ผลมีขนาดเล็กกว่า ไม่มีกลิ่น และผนังผลย่อยไม่มีรสชาติ ส่วนต่าง ๆ มีขนน้อยกว่าหรือเกลี้ยง และถูกจำแนกเป็น var. silvestris Corner

ลักษณะทั่วไปคล้ายกับขนุน แต่ขนุนขนตามส่วนต่าง ๆ สีขาว สั้น ๆ ใบในต้นอ่อนไม่จักเป็นพู ก้านช่อดอกเพศเมียและผลส่วนปลายขยายหนาเป็นขอบนูน ช่อผลรวมทรงกลม ๆ ไม่เรียวยาว ผลมีขนาดใหญ่และยาวกว่า เปลือกหนากว่า สุกมีกลิ่นแรงน้อยกว่าจะปาดะ ส่วนสาเกช่อดอกออกตามซอกใบ ใบมีขนาดใหญแยกเป็นแฉก

การใช้ประโยชน์ ใบอ่อนและผลอ่อนรับประทานดิบหรือใช้ปรุงอาหาร ผลแก่มีกลิ่นหอมแรง เยื่อหุ้มเมล็ดกินสดหรือนำไปชุบแป้งทอด เมล็ดต้มหรือเผารสชาติคล้านถั่ว เนื้อไม้แข็งและทนทาน ใช้ก่อสร้าง ใช้ย้อมผ้าให้สีเหลือง

การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด หรือกิ่งตอน โตเร็ว ออกดอกและติดผลได้ภายใน 3-6 ปี

อ้างอิง:

Berg_ C.C._ Pattharahirantricin_ N. & Chantarasuwan_ B. (2011). Moraceae. In Flora of Thailand Vol. 10(4): 484-485.

Jansen_ P.C.M. (1992). Artocarpus integer_ pp. 91-94. In Plant Resources of South-East Asia. 2. Edible Fruits and Nuts. E.W.M. Verheij and R.E. Coronel (eds). PROSEA_ Pudoc_ Wageningen.

จำปาดะ Artocarpus integer

ขนุน Artocarpus heterophyllus (ภาพซ้าย); สาเก Artocarpus altilis (ภาพขวา)
ข้อมูลและภาพ: ราชันย์ ภู่มา

Reference: dnp.go.th
อ่าน:3186
การทำธุรกิจขายปุ๋ย จะขายปุ๋ยได้ต้องทำอะไรบ้าง กฏการขายปุ๋ย
การทำธุรกิจขายปุ๋ย จะขายปุ๋ยได้ต้องทำอะไรบ้าง กฏการขายปุ๋ย
อยากจะเปิดร้านขายปุ๋ย ยาและเมล็ดพันธ์ ผู้ประกอบการร้านค้าทุกราย ต้องมีใบอนุญาตของกรมวิชาการเกษตรในการขายสารเคมี ปุ๋ยเคมี และพันธุ์พืช จะต้องทำอย่างไรบ้าง วันนี้มีบทความการดำเนินการสำหรับธุรกิจขายปุ๋ยมาฝากค่ะ

การเปิดร้านขายปุ๋ย ยา และเมล็ดพันธุ์พืช ต้องดำเนินการดังนี้
1. ไปจดทะเบียนการค้าร้านค้าของคุณที่สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอ
2. นำสำเนาหลักฐานการจดทะเบียนร้านค้าที่ต้องการจำหน่ายปุ๋ย ยา เมล็ดพันธุ์พืช พร้อมด้วยสำเนาบัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านที่เป็นร้านค้าของคุณไปที่หน่วยงานของกรมวิชาการเกษตร ที่ดูแลพื้นที่ของคุณเพื่อขอใบอนุญาต
3. การจำหน่ายปุ๋ย สามารถดำเนินการอนุญาติได้เลย โดยเสียค่าธรรมเนียม 100 บาท
4. การจำหน่ายเมล็ดพันธุ์พืช สามารถดำเนินการได้เลย โดยเสียค่าธรรมเนียม 100 บาท
5. การจำหน่ายยาป้องกันกำจัดศัตรูพืชผู้ขาย ต้องได้รับการอบรมจากกรมวิชาการเกษตรและเมื่อผ่านการอบรมแล้วจึงจะนำใบ ประกาศนียบัตรมาขอใบอนุญาตขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร โดยเสียค่าธรรมเนียม 500 บาท
6. อายุใบอนุญาตมีเวลา 1 ปี ถ้าจะขายต่อต้องมาต่อใบอนุญาตตามกำหนด
สอบถามเพิ่มดเติมได้ที่กรมวิชาการเกษตร โทร 02 5795016 - 7 และที่ 02 9406670

จะเห็นได้ว่า ธุรกิจการเกษตร ซึ่งเป็นธุรกิจที่อยุ่คู่กับคนไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ ภาครัฐ จึงส่งเสริม ในการทำธุรกิจเกี่ยวกับการเกษตร เพราะเป็นสินค้าที่ ส่งออกสำคัญของประเทศ และ สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก รัฐบาล จึงได้จัดตั้ง สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) SMEs เพื่อให้บริการและประโยชน์ต่าง ๆ สำหรับธุรกิจขนาดย่อม ทางบริษัท เอ็ม.ดี ซอฟต์ มีบริการติดตั้งระบบ OpenERP_ บริการพัฒนา Module OpenERP รวมไปถึงการจัดอบรมการใช้งาน Odoo9 เบื้องต้น สำหรับการนำไปใช้งาน ERP ในองค์กร ท่านสามารถที่จะลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมอบรมได้ที่ ลงทะเบียนอบรม Odoo9 ค่ะ หากสนใจสามารถที่จะสอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการได้ที่ สอบถามข้อมูลบริการ ได้ค่ะ


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
เพลี้ยมะยงชิด เพลี้ยมะปราง เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
เพลี้ยมะยงชิด เพลี้ยมะปราง เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
ป้องกัน กำจัด เพลี้ย แมลงจำพวกปากดู ศัตรูมะเขือเทศ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา

อัตราส่วนการใช้ 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทั่วบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติของมาคา

หลักการทำงานและวิธีการออกฤทธิ์
วิธีการออกฤทธิ์ในการ ฆ่าและกำจัด โดยสารสกัดที่อยู่ในรูปของ อัลคาลอยด์ จะมีผลโดยเป็นพิษต่อระบบประสาทของแมลง และยับยั้งกระบวนการหายใจโดยจะไปมีผลในระบบของการสร้างพลังงานภายในเซลล์ร่างกายทำให้ร่างกายของแมลงขาดพลังงานทำงานช้าลงและตายในที่สุด จึงมีผลทำให้แมลงตายในที่สุด

วิธีการออกฤทธิ์ในการ ไล่ สารสกัดที่ได้ใช้ทั้งกลิ่นและการสร้างความเจ็บปวด ทรมานและเกิดอาการแสบ ร้อน ให้กับแมลงที่สัมผัสหรือได้รับสารนี้เข้าไป โดยกลิ่นที่ฉุนจะทำให้เกิดความไม่คุ้นเคยสร้างความสับสนให้กับแมลงและสารนี้ยังไปกระตุ้นระบบประสาทรับความรู้สึกในส่วนของความเจ็บปวด ความแสบ ร้อน ของแมลงให้เกิดมากขึ้นจนเกินกว่าที่ร่างกายของแมลงจะทนรับได้ จึงมีผลทำให้แมลงมีสภาวะที่ผิดปกติ ต้องบินหนีไป

สารในรูปของน้ำมัน ( oil ) ทำหน้าที่อุดรูหายใจของแมลง ( Spiracles block ) ทำให้แมลงไม่สามารถรับอากาศภายนอกได้ ดังนั้นกระบวนการใช้ออกซิเจนหรือกระบวนการสร้างพลังงาน ( ATP ) เพื่อใช้ในร่างกายจึงถูกรบกวนมีผลทำให้ metabolism ภายในร่างกายของแมลงถูกยับยั้ง แมลงหมดแรง เฉื่อยชา และตายในที่สุด

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
กล้วยไม้ยอดเน่า ดอกสนิม กำจัดโรคกล้วยไม้ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กล้วยไม้ยอดเน่า ดอกสนิม กำจัดโรคกล้วยไม้ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคราเมล็ดผักกาด (Stem rot)
สาเหตุ เชื้อรา Sclerotium rolfsii Sacc.
ลักษณะอาการ
เชื้อราจะเข้าทำลายกล้วยไม้บริเวณราก หรือโคนต้น บริเวณที่ถูกทำลายจะเป็นสีเหลืองและน้ำตาล ตามลำดับ เนื้อเยื่อจะผุเปื่อย ถ้าอากาศชื้นมากๆ จะมีเส้นใยสีขาวแผ่ปกคลุมบริเวณโคนต้น พร้อมกับมีเมล็ดกลมๆขนาดเล็กสีเหลืองอมน้ำตาล คล้ายเมล็ดผักกาดเกาะอยู่ตามโคนต้น

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันชอนใบ ใน แตงไทย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันชอนใบ ใน แตงไทย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันชอนใบ ใน แตงไทย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
แตงไทยเป็นผลไม้ยอดนิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นชื่อเรื่องรสชาติที่หวานและสดชื่น อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับพืชผลทางการเกษตรอื่นๆ พวกมันสามารถอ่อนแอต่อศัตรูพืชและโรคต่างๆ ที่สามารถทำลายผลผลิตและคุณภาพของผลไม้ได้ ศัตรูพืชชนิดหนึ่งที่สามารถทำลายแตงไทยได้เป็นพิเศษคือตัวหนอนชอนใบ ซึ่งสามารถกัดกินใบพืชและทำให้ผลอ่อนลงได้

โชคดีที่มีวิธีแก้ปัญหานี้: Basilisk ผลิตภัณฑ์จากแบรนด์ Baserex บาซิลิสก์เป็นบาซิลลัสที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันและกำจัดหนอนชอนใบในแตงไทยโดยเฉพาะ Bacillus thuringiensis เป็นแบคทีเรียในดินที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งสร้างโปรตีนที่เป็นพิษต่อตัวอ่อนของแมลงบางชนิด รวมทั้งแมลงศัตรูพืชที่กินใบ เช่น หนอนชอนใบแตงไทย

บาซิลิสก์เป็นสารละลายที่มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันและควบคุมหนอนกินใบในแตงไทย เพียงผสมบาซิลิสก์กับน้ำในปริมาณที่พอเหมาะแล้วฉีดพ่นไปที่ใบของพืช จากนั้นแบคทีเรียจะถูกหนอนกินใบไม้ทำให้หยุดกินอาหารและตายในที่สุด

ข้อได้เปรียบหลักประการหนึ่งของบาซิลิสก์คือเป็นวิธีแก้ปัญหาตัวอ่อนของใบในแตงไทยโดยธรรมชาติและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แตกต่างจากยาฆ่าแมลงสังเคราะห์ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ บาซิลิสก์เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่ไม่ทิ้งสารตกค้างหรือสารเคมีที่เป็นอันตรายใดๆ ไว้ในดินหรือน้ำ

นอกจากประสิทธิภาพและความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว บาซิลิสก์ยังใช้งานง่ายและคุ้มค่าอีกด้วย สามารถนำไปใช้ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ราคาแพงหรือการฝึกอบรมเฉพาะด้าน และเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ จึงมีราคาไม่แพงเมื่อเทียบกับยาฆ่าแมลงสังเคราะห์

โดยรวมแล้วบาซิลิสก์เป็นตัวเลือกที่ยอดเยี่ยมสำหรับทุกคนที่ต้องการป้องกันและควบคุมหนอนกินใบในแตงไทย เป็นโซลูชันที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นธรรมชาติ และคุ้มค่า ใช้งานง่ายและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หากคุณเป็นเกษตรกรหรือผู้ปลูกเมล่อนไทย ลองพิจารณาให้บาซิลิสก์ลองและดูประโยชน์สำหรับตัวคุณเอง

บาซีเร็กซ์ : เชื้อบาซิลลิซ

ช่วยป้องกันและกำจัดแมลงในระยะ หนอน ในสวนไร่และแปลงผัก เช่น

หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนร่าน หนอนแปะใบส้ม หนอนไหมป่า
หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนแก้วส้ม หนอนกินสนสามใบ
หนอนหัวดำมะพร้าว หนอนผีเสื้อ หนอนกินใบผัก หนอนบุ้ง หนอนคืบละหุ่ง

วิธีการใช้งาน

- ผสมน้ำ 75 กรัมหรือ 6 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร

- ฉีดพ่น ใบ กิ่ง ก้าน และ ลำต้น

- ฉีดพ่นเฉพาะในช่วงเย็นตอนที่มีแดดร่ม ลมสงบ

- ฉีดทุก 3-5 วัน

- สามารถใช้รวมกับเชื้อเมธาไรเซียม และ บิวเวอร์เรีย

- ไม่ควรใช้ร่วมกับยาเคมี

ปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค และผู้ใช้

ไม่มีพิษตกค้างเมื่อพ่น สามารถนำพืชมาบริโภคได้ทันที
มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ จึงสามารถใช้แทนสารเคมีกำจัดแมลง ศัตรูพืชได้

❌ไม่ควรผสมเชื้อ บี ที กับสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช โดยเฉพาะสารที่ออกฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เช่น สารปฏิชีวนะและสารประกอบทองแดง คอปเปอร์ คลอไรด์ เป็นต้น❌

!! ควรฉีดพ่นช่วงเช้าหรือเย็นที่มีแสงแดดอ่อน 06.00-09.00 น. หรือ 16.00-18.00 น.!!
** เพิ่มประสิทธิภาพจุลินทรีย์ ควรเเช่เชื้ออย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง เพื่อให้เชื้อกระจายตัว**
** ควรผสมสารจับใบทุกครั้ง **
**หลีกเลี่ยงการฉีดพ่นขนาดมีแสงแดดจัด หรือลมพัดแรง **บาซีเร็กซ์ : เชื้อบาซิลลิซ**

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
เตือนเกษตรกรชาวสวนกล้วยทุกภาคของประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดในเขตภาคใต้ เช่นจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และภาคเหนือแถบชายแดนประเทศพม่า เช่น จังหวัดเชียงรายโดยเฉพาะแหล่งปลูกกล้วยหอม ที่สำคัญ เฝ้าระวังโรคเหี่ยวสายพันธุ์ TR4 ในกล้วยหอม ซึ่งเป็นโรคพืชกักกันไม่เคยพบการระบาดในประเทศไทยมาก่อน และกำลังแพร่ระบาดอยู่ในหลายประเทศแถบอาเซียน ได้แก่ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย จีน ไต้หวัน อินเดีย ปากีสถาน และเมียนมา

ดังนั้น เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยโดยเฉพาะกล้วยหอมเขียวหรือกล้วยหอมคาเวนดิชซึ่งเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคเหี่ยว ควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ าเสมอ เมื่อสงสัยว่ากล้วยอาจเป็นโรคนี้ระบาด ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัด เพื่อตรวจสอบวินิจฉัยการระบาด และแจ้งให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป และขอให้เกษตรกรห้ามนำพันธุ์กล้วยที่มาจากประเทศที่พบการระบาดเข้ามาปลูกในประเทศไทยโดยเด็ดขาด

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Fusarium oxysporum f. sp. cubense Tropical race four (TR4)

ลักษณะอาการ

โรคนี้เกิดจากระบบท่อลำเลียงของพืชถูกทำลาย โดยเชื้อเข้าสู่รากและแพร่กระจายสู่ระบบท่อน้ำพืช เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการเนื้อเยื่อตายเป็นสีน้ำตาลในท่อลำเลียงของลำต้นเทียมกล้วย และลุกลามขึ้นสู่ก้านใบอาการภายนอกทำให้โคนใบแก่ด้านนอกมีสีซีดเหลือง และผืนใบเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลโดยเริ่มจากขอบใบเข้าสู่กลางใบ และใบหักพับภายใน ๑ - ๒ สัปดาห์ ทำให้เห็นอาการใบเหลืองจากใบล่างขึ้นไป ต่อมาใบและกิ่งเริ่มเหี่ยว และร่วง เซลล์ตามขอบใบตาย และทำให้ต้นตายในที่สุด บางครั้งอาจพบอาการผลอาจเน่าและร่วง รากอาจจะเจริญออกทางด้านข้างและเน่าภายหลัง

การแพร่ระบาด

การแพร่กระจายของเชื้อเกิดจากการน าเอาเหง้าหรือส่วนขยายพันธุ์ที่ติดเชื้อไปปลูกนอกจากนั้นเชื้อยังติดไปกับดิน เศษซากพืช หรือ น้ำที่ท่วมขังแปลง ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค คือพันธุ์พืชที่อ่อนแอความชื้นในดินสูง การระบายน้ำในดินต่ำ เชื้อรา Fusarium สายพันธุ์ TR4 มีความสามารถอยู่รอดในดินได้นานมากกว่า ๑๕ ปี

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะน าวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้

๑. หมั่นส ารวจแปลงอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
๒. หากต้องการปลูกกล้วยในพื้นที่ใหม่ ควรเลือกแปลงปลูกที่ไม่เคยพบโรคนี้มาก่อน
๓. ปรับสภาพดินไม่ให้เป็นกรดจัด โดยใส่ปูนขาว หรือโดโลไมท์
๔. รองก้นหลุมปลูกด้วยเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ ใช้เชื้อสดผสมกับรำข้าวละเอียดและปุ๋ยอินทรีย์(ปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยคอกเก่า) ในอัตราส่วน ๑ : ๔ : ๑๐๐ โดยน้ าหนักอัตรา ๑๐๐ - ๒๐๐ กรัมต่อหลุม
๕. ควรเลือกหน่อกล้วยจากแหล่งปลูกที่ไม่เคยมีการระบาดของโรคนี้ หรือไม่น าหน่อพันธุ์จากต้นตอที่เป็นโรคไปปลูก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ
|-Page 75 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยสำหรับมะยงชิด ปุ๋ยน้ำสำหรับมะปรางหวาน FK-1 โตไว ใบเขียว ระบบรากแข็งแรง ผลโต น้ำหนักดี
Update: 2564/09/16 01:31:37 - Views: 3109
ผสมปุ๋ย สูตร เร่งดอก เร่งผล สูตร 9-25-25 หรือ 8-24-24 ใช้เองง่ายๆ ใช้แอพผสมปุ๋ยช่วยคำนวณส่วนผสม
Update: 2566/01/31 09:26:28 - Views: 4862
การปกป้องผลผลิตแตงโม การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อรา
Update: 2566/04/29 10:06:47 - Views: 3014
ปุ๋ยสำหรับเมล่อน ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตเมล่อน
Update: 2564/05/06 09:00:25 - Views: 3187
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ ช่วยให้เพิ่มผลผลิตและคุณภาพของลิ้นจี่ได้
Update: 2567/03/11 11:40:00 - Views: 132
องุ่น โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/02 14:55:05 - Views: 103
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยจักจั่นเขียว ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/01 14:50:19 - Views: 3453
ปุ๋ยบำรุงชวนชม ปุ๋ยสำหรับต้นชวนชม ดูแลชวนชม ฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/28 22:45:06 - Views: 3090
มันสำปะหลัง หัวใหญ่ น้ำหนักดี เปอร์เซ็นแป้งสูง FK-3C ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่าเพิ่มผลผลิตสูงสุด20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/05/08 11:32:39 - Views: 3097
ผักอินทรีย์ นครปฐม โครงการสามพรานโมเดล
Update: 2557/08/18 14:26:32 - Views: 3103
แก้ทุเรียนเล็กใบไหม้ ใบแห้ง ยอดไหม้ ใบเหลือง เพราะโรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/05/07 12:21:17 - Views: 6213
ทำความรู้จักกับโรคเชื้อราในต้นองุ่น: สาเหตุ อาการ และวิธีป้องกัน
Update: 2566/11/10 08:46:56 - Views: 342
เงาะ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/22 15:49:28 - Views: 95
กำจัดเชื้อรา ผักชี ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/20 10:32:50 - Views: 3171
โป๊ยเซียน ดอกเน่า ลำต้นเน่า กำจัดเชื้อราต่างๆในโป้ยเซียนปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/11 11:02:23 - Views: 3116
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
Update: 2566/11/04 09:56:30 - Views: 8018
ปุ๋ยสำหรับต้นทานตะวัน
Update: 2564/05/11 08:02:21 - Views: 3495
โรคราแป้งองุ่น
Update: 2564/08/22 21:08:23 - Views: 3364
เพลี้ยจักจั่นสีเขียว (green rice leafhopper) การป้องกัน และกำจัด
Update: 2563/06/16 12:31:15 - Views: 3285
โรคมะพร้าว ราสนิมมะพร้าว ราน้ำค้าง มะพร้าวใบไหม้ มะพร้าวยอดแห้ง
Update: 2566/11/07 10:11:40 - Views: 8887
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022