[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ

GMP คืออะไร หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร อย่างปลอดภัย
GMP คืออะไร หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร อย่างปลอดภัย
GMP (Good Manufacturing Practice) หมายถึง หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร เป็นเกณฑ์หรือข้อกำหนดขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุมเพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตาม และทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่อาจทำให้อาหารเป็นอันตราย เป็นพิษ หรือเกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค

GMP คือ ระบบประกันคุณภาพที่มีการปฏิบัติและพิสูจน์แล้วจากกลุ่มนักวิชาการด้านอาหารทั่วโลกว่า สามารถทำให้อาหารเกิดความปลอดภัย และเป็นที่เชื่อถือยอมรับจากผู้บริโภค โดยอาศัยหลายปัจจัยที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ดังนั้นหากปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดได้ทั้งหมด ก็จะทำให้อาหารมีคุณภาพมีความปลอดภัยและได้มาตรฐาน

โดยหลักการของ GMP จะครอบคลุมตั้งแต่สถานที่ประกอบการ โครงสร้างอาคาร กระบวนการผลิตที่ดีมีความปลอดภัย และมีคุณภาพได้มาตรฐานทุกขั้นตอน นับตั้งแต่ขั้นตอน เริ่มต้นวางแผนการผลิต ระบบควบคุมตั้งแต่วัตถุดิบระหว่างการผลิต ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป การจัดเก็บ การควบคุมคุณภาพ และการขนส่งจนถึงผู้บริโภค มีระบบบันทึกข้อมูล ตรวจสอบและติดตามผลคุณภาพผลิตภัณฑ์ รวมถึงระบบการจัดการที่ดีในเรื่องสุขอนามัย เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายมีความปลอดภัยได้คุณภาพเป็นที่มั่นใจเมื่อถึงมือผู้บริโภค และ GMP ยังเป็นระบบประกันคุณภาพพื้นฐานก่อนที่จะนำไปสู่ระบบประกันคุณภาพอื่น ๆ ที่สูงกว่าต่อไป เช่น ISO 9000 และ HACCP (Hazards Analysis and Critical Points)

ประเภทของ GMP
GMP สุขลักษณะทั่วไป (General GMP) เป็นหลักเกณฑ์ที่นำไปใช้ปฏิบัติสำหรับอาหารทุกประเภท
GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์ (Specific GMP) เป็นข้อกำหนดที่เพิ่มเติมจาก GMP ทั่วไป เพื่อมุ่งเน้นในเรื่องของความเสี่ยงกับความปลอดภัยของแต่ละผลิตภัณฑ์อาหารเฉพาะมากยิ่งขึ้น
ปัจจุบันทางสำนักงานคณะกรรมอาหารและยาของไทย ได้นำเอาหลักเกณฑ์ของ GMP มาบังคับใช้เป็นกฎหมาย โดยกำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษา ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นมา ซึ่งข้อกำหนดตามประกาศฯ (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 เป็นเกณฑ์สุขลักษณะทั่วไป ได้ประยุกต์มาจากเกณฑ์ GMP สากลของ CodeX โดยคำนึงถึงความพร้อมของผู้ผลิตในประเทศไทย ซึ่งมีข้อจำกัดในเรื่องเงินทุน เวลากับความรู้ เพื่อให้ผู้ผลิตทุกระดับ โดยเฉพาะขนาดเล็กกับขนาดกลาง ซึ่งมีเป็นจำนวนมากสามารถปรับปรุงและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ได้ แต่ทั้งนี้ข้อกำหนดยังคงสอดคล้องตามแนวทางของหน่วยงานมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ

ประเภทอาหารที่มีการบังคับให้ใช้ GMP ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เช่น อาหารเสริมสำหรับทารกกับเด็กเล็ก_ อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกกับเด็กเล็ก_ น้ำแข็ง_ นมโค_ นมเปรี้ยว_ เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท_ สีผสมอาหาร_ ชา_ กาแฟ_ อาหารสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก_ ไข่เยี่ยวม้า และข้าวเติมวิตามิน เป็นต้น

ข้อกำหนดทั่วไป หรือ General GMP

1.สุขลักษณะของสถานที่ตั้งกับอาคารผลิต สถานที่ตั้งตัวอาคารกับบริเวณใกล้เคียง จะต้องอยู่ในที่ที่จะไม่ทำให้อาหารที่ผลิตเกิดการปนเปื้อนได้ง่าย และอาคารผลิตมีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบและก่อสร้างที่ง่ายแก่การบำรุงสภาพรักษาความสะอาด และสะดวกในการปฏิบัติงาน ต้องจัดให้มีพื้นที่เพียงพอ ต้องแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วน มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ เพื่อลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากความชื้นหรือฝุ่นละอองจากการผลิต

2.เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต จะต้องทำจากวัสดุที่ไม่ทำปฏิกิริยากับอาหาร ไม่เป็นพิษ ไม่เป็นสนิม มีความแข็งแรงทนทาน จำนวนเครื่องมือ เครื่องจักรกับอุปกรณ์ต้องมีอย่างเพียงพอ และเหมาะสมต่อการปฏิบัติงานในแต่ละประเภท การจัดเก็บอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อแล้ว ควรจัดเก็บแยกเป็นสัดส่วน อยู่ในสภาพที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้มีโอกาสเกิดการปนเปื้อนจากฝุ่นละอองกับสิ่งสกปรกต่าง ๆ

3.การควบคุมกระบวนการผลิต การดำเนินการทุกขั้นตอนจะต้องมีการควบคุมตามหลักสุขาภิบาลที่ดี ทั้งวัตถุดิบ ส่วนผสม ภาชนะบรรจุ การผลิต การเก็บรักษา การขนย้าย และขนส่งผลิตภัณฑ์อาหาร

4.การสุขาภิบาล เป็นเกณฑ์สำหรับสิ่งที่อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานทั้งหลาย เช่น น้ำใช้ อ่างล้างมือ ห้องน้ำ ห้องส้วม ระบบกำจัดขยะมูลฝอย ทางระบายน้ำทิ้ง การป้องกันและกำจัดสัตว์กับแมลง

5.การบำรุงรักษา และการทำความสะอาด ช่วยให้การทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และป้องกันการปนเปื้อนของสารอันตรายสู่อาหาร โดยต้องทำความสะอาด ดูแลและเก็บรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการผลิตให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ทั้งก่อนและหลังการผลิต

6.บุคลากร สวมเสื้อผ้าที่สะอาดและเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากการปฏิบัติงานและตัวบุคลากร ซึ่งผู้ปฏิบัติงานในบริเวณผลิตจะต้องมีสุขภาพดี ไม่เป็นวัณโรคในระยะอันตราย โรคผิวหนังที่น่ารังเกียจหรือโรคเรื้อน

ประโยชน์ของ GMP

1.ผู้บริโภคได้รับผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยมีคุณภาพ

2.เป็นแนวทางการผลิต เพื่อประกันว่าผลิตภัณฑ์มีคุณภาพปลอดภัย ตรงตามที่มาตรฐานกำหนด และผลิตภัณฑ์มีความสม่ำเสมอในทุก ๆ ล็อตการผลิต

3.ช่วยลดข้อผิดพลาดหรือความเบี่ยงเบนที่จะผลิตไม่ได้มาตรฐาน

4.ป้องกันไม่ให้มีข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตหรือการควบคุมคุณภาพ รวมทั้งขจัดปัญหามิให้เกิดขึ้นซ้ำซ้อน

5.ส่งผลต่อคุณภาพอาหารในระยะยาว และช่วยลดต้นทุนการผลิต

6.มีความสะดวก และง่ายต่อการติดตามข้อมูล

7.มีการควบคุม และรักษามาตรฐานความสะอาด และถูกสุขลักษณะของโรงงาน

8.สร้างความสะดวกปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานในขณะปฏิบัติงาน

9.ช่วยสร้างทัศนคติที่ดี และถูกต้องแก่ผู้ปฏิบัติงาน

10.ความคล่องตัวในการดูแล การจัดการ และการประเมินงานในโรงงาน

อ้างอิง http://ไปที่..link..

สำหรับผู้ประกอบการ หรือโรงงาน ที่มีความประสงค์ ตรวจวิเคราะห์น้ำใช้ในกระบวนการผลิต สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์นี้ http://ไปที่..link..
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
เพลี้ยอ่อนคะน้า

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยอ่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยงยอดคะน้า ดูกินน้ำเลี้ยงรวมทั้งใบอ่อน และใบแก่ของคะน้า อาการที่แสดงให้เห็นคือ คะน้ายอดหงิก คะน้าใบหงิก หากคะน้าโดนเพลี้ยอ่อนเข้าทำลายมาก ใบจะมีสีเหลือง

การป้องกันและกำจัด เพลี้ยอ่อนคะน้า ทำได้โดยการฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนคะน้า หนอนใยผักในคะน้า

ตัวเมียของหนอนใยผักคะน้า จะวางไข่ได้ทั้งบนใบ และใต้ใบคะน้า ส่วนใหญ่มักจะเลือกวางไข่ไว้ใต้ใบ ลักษณะของหนอนใยผักนั้น หัวแหลม ท้ายแหลม ลำตัวเรียวยาว ตรงท้ายมีปุ่มแยกออกเป็นสองแฉก การทำลายของ หนอนใยผักคะน้า หนอนจะเข้ากัดกินผิวใบคะน้า ทำให้ใบคะน้ามีลักษณะเป็นรูพรุน

ป้องกันและกำจัด หนอนในคะน้า ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

คะน้าเน่าคอดิน โรคเน่าคอดินของคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. หรือ Phytophthora sp. อาการที่แสดงคือ ต้นคะน้าจะเป็นแผลช้ำที่โคนต้น ติดกับดิน เนื้อเยื้อตรงแผล นะเน่าและค่อยๆแห้ง ต้นกล้าหักพับ และเหี่ยวแห้งตาย

โรคราน้ำค้างที่เกิดขึ้นกับคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Peronospora parasitica อาการที่แสดงให้พบคือ คะน้าจะมีใบจุดสีดำ รวมกับเป็นกลุ่ม กระจายทั่วใบ สามารถลุกลามไปใบข้างเคียงได้เรื่อยๆ หากกระจายจนเต็มใบแล้ว จะทำให้ คะน้าใบเหลือง แห้ง และใบร่วง

ป้องกันและกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และโรคคะน้าต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโตแตกใบคะน้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้คะน้าโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3096
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราเม้ดผักกาด ในบอนสี ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราเม้ดผักกาด ในบอนสี ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราเม้ดผักกาด ในบอนสี ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราชนิดหนึ่งที่ทราบกันดีว่ามีความสามารถในการป้องกันและกำจัดโรคเน่าของผักกาดหอมหรือที่เรียกว่าโรคราเม้ดผักกาดในพืชบอนสี เชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อหนึ่งที่นิยมคือ Trichorex

ดรคราเม้ดผักกาด เป็นปัญหาที่พบบ่อยในพืชบอนสี เนื่องจากอาจทำให้พืชตายได้หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่รักษา โรคนี้เกิดจากเชื้อราหลายชนิด รวมทั้ง Fusarium_ Rhizoctonia และ Sclerotium เชื้อราเหล่านี้โจมตีลำต้นของต้นบอนสี ทำให้มันเน่าและตายในที่สุด

เชื้อราไตรโคเดอร์มาช่วยป้องกันและกำจัดโรคเม็ดผักกาด ในพืชประเภทบอนสีได้ ทั้งนี้เนื่องจากเชื้อราไตรโคเดอร์มามีความสามารถในการผลิตเอนไซม์ที่สามารถทำลายผนังเซลล์ของเชื้อราเหล่านี้และฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้เชื้อราไตรโคเดอร์มายังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะที่ช่วยป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อราเหล่านี้ได้

การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาเพื่อป้องกันและกำจัดโรคราเม็ดผักกาดในพืชประเภทบอนสี สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามคำแนะนำในการใช้ของผู้ผลิต ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการใส่เชื้อราไตรโคเดอร์มาลงบนดินโดยตรงหรือรดน้ำต้นไม้ สิ่งสำคัญคืออย่าลืมรดน้ำต้นบอนไซเป็นประจำ เพราะจะช่วยให้เชื้อราไตรโคเดอร์มาแพร่กระจายและต่อสู้กับเชื้อราที่เป็นสาเหตุของดรคราเม้ดผักกาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สรุปได้ว่า เชื้อราไตรโคเดอร์มา โดยเฉพาะยี่ห้อ Trichorex สามารถเป็นวิธีการป้องกันและกำจัดโรคผักกาดเน่าในพืชบอนไซได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาและทำตามคำแนะนำของผู้ผลิตในการนำไปใช้ ผู้ที่ชื่นชอบบอนสี สามารถช่วยให้พืชแข็งแรงและมีอายุยืนยาวได้

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่า

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน *

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง


สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวัน ไอ้ฮวบ บวน ใน ดอกกล้วยไม้ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวัน ไอ้ฮวบ บวน ใน ดอกกล้วยไม้ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
บาซิลิสก์เป็นผลิตภัณฑ์ที่ปฏิวัติวงการซึ่งสร้างกระแสในโลกของเกษตรกรรมและพืชสวน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มันคือสารชีวภัณฑ์ที่มีฐานเป็น Bacillus thuringiensis ซึ่งสามารถใช้ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น หนอน แมลงวัน แมลงวันแคระ และตัวหนอนในกล้วยไม้ ผลิตภัณฑ์นี้วางตลาดภายใต้ชื่อแบรนด์ Basirex และมีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมแมลงศัตรูพืชหลากหลายชนิดที่สามารถทำลายพืชผลและพืชได้

ประโยชน์ที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของบาซิเร็กซ์คือปลอดภัยและไม่เป็นพิษต่อคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมีแบคทีเรียที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งมีอยู่แล้วในดิน ทำให้เป็นทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแทนสารเคมีกำจัดศัตรูพืช นี่เป็นข่าวดีสำหรับผู้ที่กังวลเกี่ยวกับผลกระทบด้านลบของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

สารออกฤทธิ์ในบาซิเร็กซ์คือ Bacillus thuringiensis (Bt) ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่ผลิตโปรตีนซึ่งเป็นพิษต่อแมลงศัตรูพืชบางชนิด Bt มีความเฉพาะเจาะจงสูง โดยมุ่งเป้าหมายไปที่แมลงบางสายพันธุ์เท่านั้น และไม่ปล่อยให้แมลงที่เป็นประโยชน์ไม่ได้รับอันตราย ซึ่งหมายความว่าสามารถใช้ Basirix โดยไม่ทำร้ายผึ้ง เต่าทอง หรือแมลงที่เป็นประโยชน์อื่นๆ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการรักษาระบบนิเวศให้แข็งแรง

ข้อได้เปรียบที่สำคัญประการหนึ่งของ Basirex คือความสามารถรอบด้าน สามารถใช้กับพืชและพืชได้หลากหลายรวมถึงกล้วยไม้ ทำให้เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์สำหรับเกษตรกร ชาวสวน และผู้ที่ชื่นชอบกล้วยไม้ นอกจากนี้ยังมีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืช ทำให้เป็นทางออกที่เชื่อถือได้สำหรับผู้ที่ต่อสู้กับแมลงรบกวน

การใช้ Basilex นั้นค่อนข้างตรงไปตรงมา สามารถนำไปใช้กับพืชผลและต้นพืชได้หลายวิธี รวมทั้งการฉีดพ่นทางใบ การดูแลเมล็ดพันธุ์ และการรดดิน ผลิตภัณฑ์นี้ยังจัดเก็บและขนส่งได้ง่าย จึงเป็นทางเลือกที่สะดวกสำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้ในพื้นที่ขนาดใหญ่

โดยสรุป บาซิเร็กซ์เป็นสารกำจัดศัตรูพืชทางชีวภาพที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถใช้ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชได้หลากหลายชนิด มีความเฉพาะเจาะจงสูง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และใช้งานได้หลากหลาย ทำให้เป็นเครื่องมือที่มีค่าสำหรับเกษตรกร ชาวสวน และผู้ที่ชื่นชอบกล้วยไม้ หากคุณกำลังมองหาวิธีแก้ปัญหาแมลงรบกวนที่ปลอดภัยและเชื่อถือได้ Basirex คุ้มค่าที่จะพิจารณา

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น ทุเรียน ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น ทุเรียน ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
ทุเรียนเป็นผลไม้เมืองร้อนที่มีชื่อเสียงในด้านกลิ่นหอมเฉพาะตัว เนื้อครีม และรสชาติที่โดดเด่น เป็นผลไม้มูลค่าสูงที่เป็นที่ต้องการอย่างมากในหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม การปลูกทุเรียนอาจเป็นเรื่องที่ท้าทาย เนื่องจากต้องมีสภาพการปลูกที่เฉพาะเจาะจงและการดูแลที่เหมาะสม วิธีหนึ่งในการเพิ่มผลผลิตของต้นทุเรียนคือการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ที่มีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว

ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เป็นเครื่องมืออันทรงพลังสำหรับชาวสวนทุเรียนที่ต้องการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพของผล ปุ๋ยนี้ได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อให้สารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของต้นทุเรียน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลัก 3 ชนิดที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของต้นทุเรียน สารอาหารเหล่านี้มีบทบาทสำคัญในการผลิตคลอโรฟิลล์ ซึ่งมีหน้าที่สร้างสีเขียวของใบไม้และการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน

แมกนีเซียมและสังกะสีเป็นธาตุอาหารรองที่จำเป็น 2 ชนิดซึ่งรวมอยู่ในปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 แมกนีเซียมจำเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และช่วยควบคุมเมแทบอลิซึมของพืช สังกะสีมีความสำคัญต่อการผลิตเอนไซม์และโปรตีน และมีบทบาทสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

สารลดแรงตึงผิวในปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ช่วยเพิ่มการดูดซึมและการเคลื่อนย้ายธาตุอาหารของพืช ซึ่งหมายความว่าปุ๋ยมีประสิทธิภาพมากกว่าในการส่งสารอาหารที่จำเป็นไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชที่พืชต้องการมากที่สุด การใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ชาวสวนทุเรียนสามารถมั่นใจได้ว่าต้นของพวกเขาได้รับสารอาหารในปริมาณที่เหมาะสม ซึ่งจะนำไปสู่ผลผลิตสูงสุด

เมื่อใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 จำเป็นต้องปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างระมัดระวัง FK-1 หนึ่งกล่องหนัก 2 กก. และบรรจุสองถุง แต่ละถุงหนัก 1 กก. ต้องผสมทั้งสองถุงเข้าด้วยกันก่อนใช้ อัตราการผสมถุงแรก 50 กรัม และถุงที่สอง 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร คนส่วนผสมจนปุ๋ยละลายในน้ำจนหมด จากนั้นสามารถฉีดพ่นสารละลายบนใบของต้นทุเรียนโดยใช้เครื่องพ่นสารเคมี แนะนำให้ฉีดพ่นต้นไม้ในช่วงเช้าตรู่หรือบ่ายแก่ๆ เมื่ออากาศเย็นลงและแดดไม่แรง

สรุปได้ว่าปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสำหรับชาวสวนทุเรียนที่ต้องการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพของผล การให้สารอาหารที่จำเป็นแก่ต้นทุเรียนในการเจริญเติบโตและพัฒนา เกษตรกรสามารถรับประกันผลผลิตและผลกำไรสูงสุด อย่างไรก็ตาม จำเป็นต้องปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างระมัดระวังและใช้ปุ๋ยอย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ด้วยการดูแลเอาใจใส่ที่ถูกต้อง ชาวสวนทุเรียนจะได้ผลผลิตที่ดีที่สุดและผลิตผลทุเรียนคุณภาพสูง


สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าดำหรือยอดเน่า ในดอกกล้วยไม้ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าดำหรือยอดเน่า ในดอกกล้วยไม้ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าดำหรือยอดเน่า ในดอกกล้วยไม้ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex เป็นเชื้อราจากสกุล Trichoderma ที่นิยมใช้ป้องกันและกำจัดโรคเน่าดำในกล้วยไม้

โรคเน่าดำเกิดจากเชื้อราไฟทอฟธอร่าซึ่งสามารถทำลายราก ยอดอ่อน และใบของกล้วยไม้ได้ โรคนี้มีลักษณะเฉพาะคือมีรอยโรคสีดำชุ่มน้ำบนเนื้อเยื่อพืชที่ติดเชื้อ ซึ่งอาจนำไปสู่การตายของพืชได้ในที่สุด

Trichorex เป็นสารควบคุมทางชีวภาพ หมายความว่าเป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งสามารถใช้ควบคุมการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเชื้อราที่เป็นอันตรายอื่นๆ โดยการผลิตเอนไซม์ที่ทำลายผนังเซลล์ของเชื้อราเป้าหมาย ทำให้ Trichorex บุกรุกและเติบโตภายในเชื้อราเป้าหมายได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ Trichorex ยังผลิตยาปฏิชีวนะที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราอื่นๆ

ในการใช้ Trichorex ในการป้องกันและรักษาโรคเน่าดำในกล้วยไม้ โดยทั่วไปจะใช้เป็นดินหรือสเปรย์ เมื่อนำไปใช้กับดิน Trichorex จะตั้งรกรากในระบบรากของกล้วยไม้ ให้การป้องกันโรคเน่าดำในระยะยาว เมื่อใช้เป็นสเปรย์ Trichorex ยังสามารถช่วยป้องกันการแพร่กระจายของโรคไปยังส่วนที่แข็งแรงของพืช

สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่า Trichorex ไม่ควรใช้เป็นวิธีการรักษาแบบสแตนด์อโลนสำหรับโรคเน่าดำ จะมีประสิทธิภาพมากที่สุดเมื่อใช้ร่วมกับมาตรการควบคุมอื่นๆ เช่น การให้น้ำและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ตลอดจนมาตรการด้านสุขอนามัยที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค

สรุปได้ว่าเชื้อราไตรโคเดอร์มาตรา Trichorex เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์สำหรับการป้องกันและควบคุมโรคเน่าดำในกล้วยไม้ เมื่อใช้ร่วมกับมาตรการควบคุมอื่น ๆ สามารถช่วยให้กล้วยไม้แข็งแรงและป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่ทำลายล้างนี้ได้

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่าไตรโคเร็กซ์

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน *

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย 
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง



สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน มีสาเหตุจาก เชื้อราออยเดียม (Oidium sp.) อาการที่ปรากฎ จะพบกลุ่มของเชื้อราสีขาวมีลักษณะคล้ายฝุ่นแป้งปกคลุมผิวเปลือกทุเรียน

โรคราแป้งทุเรียน จะทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่ระยะติดผลอ่อน ไปตลอดจนผลแก่ หากเข้าทำลายในช่วงติดผลใหม่ จะทำให้ผลร่วงได้ หากเป็นที่ผลโต ผิวทุเรียนจะผิดปกติ ไม่สวย ไม่น่าซื้อ ราคาตกต่ำ

🎯การป้องกันกำจัด

💦ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อระงับการลุกลาระบาดของโรค

💦ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อฟื้นฟู เสริมสร้างเนื้อเยื่อ และการแตกยอดใบ

💦สามารถผสมฉีดพ่นไปได้พร้อมกัน


🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🎗คุณประโยชน์
- ป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุโรคในพืชต่างๆ
- ลดการแพร่กระจายของเชื้อราที่เกิดกับพืช
- ป้องกันการลุกลามของแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา
- มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เป็นประจำ

🌿ข้อมูล FK ธรรมชาตินิยม

ประกอบด้วยแร่ธาตุ อาหารพืช ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต การแตกยอด แตกใบ การเสริมสร้าง และซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ช่วยให้พืชเจริญเติบโตดี มีความสมบูรณ์ แข็งแรง มีภูมิต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3095
ชาเขียว ใบไหม้ ใบร่วง กำจัดโรคชาเขียว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ชาเขียว ใบไหม้ ใบร่วง กำจัดโรคชาเขียว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคใบพุพองเชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อ Exobasidium vexsans (Massee)
อาการของโรค จะเห็นเป็นจุดกลมเล็กสีชมพูอ่อนหรือสีจางบนใชอ่อนของชา ตำแหน่งที่เป็นโรคจะมีรอยปูดนูน บริเวณผิวใบด้านล่างจะเป็นจุดกลม สีชมพูจางกลายเป็นสีแดงเข้ม ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีขาวฟู และสีเทาอ่อนในที่สุด เมื่ออาการของโรคถึงขั้นนี้ก็ไม่สามารถเก็บใบอ่อนไปใช้ประโยชน์ได้ ด้านบนของผิวใบที่เป็นโรคนี้มีรอยบุ๋มลงไป ส่วนด้านล่างของใบจะนูนออกมาและปรากฏเส้นใยของเชื้อราสีขาวฟูชัดเจน เมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งแผลที่เป็นโรคจะแห้ง เปลี่ยนเป็นสีเทาน้ำตาล เพื่อรอระบาดในฤดูถัดไป

โรคใบจุดสีน้ำตาล เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อ
1. Collectotricum camelliae (Cook) Battler.
2. Glomerella cingulata (Stonem) S. & Sc.
อาการของโรค อากรแรกเริ่มเป็นจุดสีน้ำตาลแกมเหลืองบนผิวใบชา ต่อมาอีก 7-10 วัน จุดสีน้ำตาลจะขยายใหญ่และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือดำ มีวงแหวนล้อมรอบแผลเนื้อเยื่อใบที่เป็นโรคนี้จะแห้งตาย ถ้าอาการของโรครุนแรง จะทำให้ใบร่วง โรคนี้มักเกิดกับใบและยอดอ่อน

โรคสาหร่ายแดง
เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อ Cephaleuros parasitices (Karst)
อาการของโรค อาการเริ่มแรกเป็นจุดเล็ก ๆ สีส้มแดงบนใบ ต่อมาจะขยายใหญ่ขึ้น มีลักษณะกลม สีน้ำตาลแดงฟูคล้ายขนสีแดง สามารถแพร่ระบาดไปยังกิ่งได้ โรคสาหร่ายแดงระยะแรกเป็นแบบ epiphytic คือเกิดเกาะติดผิวใบ สามารถลูบออกได้ง่าย แต่ในระยะต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้นกลายเป็น paarasite เส้นใยของสาหร่ายจะเจริญทะลุไปยังเนื้อเยื่อ epidermal และ parenchyma ของใบชา เชื้อนี้สามารถอยู่กับใบแก่ กิ่ง และลำต้นได้ เมื่อใบอ่อนแตกออกมาใหม่ก็สามารถเข้าทำลายได้อีกครั้ง ต้นชาที่ถูกแสงแดดจัดจะเป็นโรคนี้รุนแรงกว่าต้นที่อยู่ในร่ม

โรคใบจุดสีเทา เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อ Pestalotiopsis theae (Sawada)
อาการของโรค อาการเริ่มแรกเป็นจุดเล็กๆ สีน้ำตาล ต่อมาขยายใหญ่ขึ้นเป็นสีเทา จุดแต่ละจุดจะขยายและลุกลามเป็นเนื้อเดียวกัน รูปร่างแผลไม่แน่นอน เป็นแผ่นสีเทาใหญ่ วงแหวนบนแถบ มักเกิดกับใบชาแก่

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงที่ไม่ได้ทำนาปี ก็ปลูกผักสวนครัว ปลูกถั่วขายตามหมู่บ้าน
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงที่ไม่ได้ทำนาปี ก็ปลูกผักสวนครัว ปลูกถั่วขายตามหมู่บ้าน
ในจังหวัดอำนาจเจริญ ทำนาได้เพียงปีละครัง ทำนาปรังไม่ได้ เนื่องจากไม่มีระบบชลประทาน ที่ให้น้ำเพียงพอที่จะให้เกษตรกร สามารถทำนาได้ปีละ 2-3 ครั้ง เหมือนทางภาคกลาง เว้นว่างจากการทำนา เกษตรกรก็จะเลี้ยงวัว ปลูกผัก ปลูกถั่ว ปลูกแตงโม โดยมากแล้ว ทำไว้เพื่อมีทานเอง เหลือก็เอาไปขายตามหมู่บ้าน
อ่าน:3095
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp. โดยในอดีตพบระบาดมากในระดับเล็กน้อย-รุนแรงมาก กับพันธุ์การค้าที่มีเนื้อสีขาว ในพื้นที่หลายท้องที่ ได้แก่ ตำบลยายอาม ตำบลสนามไชย ตำบลวังโตนด ตำบลกระแจะ ตำบลช้างข้าม อำเภดนายายอาม ตำบลตะปอน ตำบลมาบไพ ตำบลซึ้ง อำเภอขลุง ตำบลโขมง ตำบลพลอยแหวน ตำบลเขาบายศรี ตำบลทุ่งเบญจา ตำบลหนองบัว ตำบลสองพี่น้อง ตำบลรำพัน ตำบลท่าใหม่ ตำบลแสลง อำเภอเมือง ตำบลมะขาม อำเภอะมะขาม ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดราชบุรี พบการเป็นโรคโดยประมาณ 80-100% คิดเป็นพื้นที่โดยรวม 500 ไร่ นอกจากนี้ยังมีพันธุ์เนื้อสีแดงทีอยู่ในบางพื้นที่ก็มีการระบาดแล้ว ที่ตำบลคลองอุดมสาร อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ลักษณะอาการของ โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล

อาการเริ่มแรกจะพบเข้าทำลายที่บริเวณกิ่งอ่อน หรือ ผลอ่อน เป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กสีน้ำตาลคล้ายสนิมเหล็ก ถ้าแผลขยายใหญ่จะพบอาการเป็นรอยปื้นไหม้ ถ้าพบเป็นที่ผทำให้ผลเสียหายเป็นตำหนิ ทำให้สูญเสียราคาและคุณภาพ

สาเหตุเกิดจาก : เชื้อราที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dothiorella sp.

วิเคราะห์หาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง

จากการสุ่มสำรวจหาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวางในพื้นที่เกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก จำนวนหลายราย ในแต่ละพื้นที่ปลูก เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษา พอสรุปหาสาเหตุของ

การแพร่ระบาดที่ผ่านมาเป็นได้ 7 ประเด็น คือ

1. พบว่าเกษตรกรและนักวิชาการเกษตรยังขาดความเกี่ยวกับโรคนี้ เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นใหม่ในประเทศไทย เริ่มพบการแพร่ระบาดในแถบจังหวัดภาคกลาง ได้แก่ ราชบุรี สมุทสารค จากนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่ผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก ซื้อกิ่งพันธุ์มาจากแถบจังหวัดราชบุรี แล้วอาจมีโรคติดมากับกิ่งพันธุ์ แต่เนื่องจากเกษตรกรเองและนักวิชาการเกษตร ทั้งภาคเอกชนและราชการไม่เคยรู้จักโรค ดังกล่าวมาก่อน เกษตรกรและนักวิชาการด้านเกษตร ก็ยังคิดว่าเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไฟท็อปธอร่า บางรายก็คิดว่าเกิดจากแมลงศัตรูพืช ก็แนะนำการป้องกันกำจัดไม่ตรงกับสาเหตุของโรค เน้นการป้องกันกำจัดในการทดลองใช้สารเคมีเป็นหลัก และมักไม่ตรงกับสาเหตุของโรค

2. เกษตรกรไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคออกจากแปลงปลูก เพราะในเชิงปฏิบัติงานค่อนข้างทำลำบาก เนื่องด้วยแก้วมังกรเป็นพืชมีหนาม หรือ เกษตรกรมักเสียดายกิ่ง หรือ ผลที่เป็นโรค มักมุ่งเน้นแต่การใช้สารเคมี เพราะจริงๆ แล้วสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช จะได้ผลดีในเชิงป้องกันมากกว่ารักษา ไม่เหมือนยาที่ใช้รักษาคน หรือ ในบางรายไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคทิ้งเลย ปล่อยแปลงทิ้งเลิกปลูกและหันไปปลูกพืชชนิดอื่นแทน เนื่องจากการใช้สารเคมีอาจไม่คุ้มต้นทุนการผลิต เพราะประสบปัญหาราคาแก้วมังกรตกต่้ำ

3. เกษตรกรมีการตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคผิดวิธี มักตัดแต่งเฉพาะส่วนที่เป็นโรคออก หรือตัดบริเวณกลางกิ่งที่ไม่ใช่บริเวณรอยข้อต่อของกิ่ง ทำให้เกิดรอยบาดแผลมากขึ้น ทำให้เชื้อโรคสามารถเข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณบาดแผลได้ง่ายมากขึ้น ทำให้โรคมีการระบาดบางต้นยืนต้นตาย

4. ขาดความระมัดระวังในเรื่องการใช้เครื่องมือ ได้แก่ กรรไกรที่ใช้ตัดแต่งกิ่งมักนำไปตัดต้นที่เป็นโรคแล้วไปใช้ตัดแต่งต้นปกติโดยไม่มีการทำความสะอาดก่อนใช้งาน อาจทำให้เชื้อโรคพืชดังกล่าวติดไปกับกรรไกรได้

5.มักพบมีการเร่งใสปุ่ญไนโตรเจนให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0)หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว ทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่ายขึ้น

6. จากการสุ่มสำรวจดินจากแปลงที่พบว่าเป็นโรคดังกล่าว นำไปตรวจวิเคราะห์ทางธาตุอาหาร มักพบดินเป็นกรดจัดมาก มีธาตุเคลเซียม และแมกนีเซียมในปริมาณต่ำ

7. ในพื้นที่ปลูกบางพื้นที่เคยมีการทำนามาก่อนและมักไม่ยกร่องแปลงปลูกบางแปลงพบน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและมีการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เมื่อรวมกับน้ำค้างในช่วงกลางคืน ทำให้แปลงมีความชื้นสูงในแปลงปลูกตลอดเป็นระยเวลานาน อาจทำให้เกิดโรคระบาดง่ายขึ้น

ข้อแนะนำในการป้องกันกำจัดเบื้องต้น

เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยโรคดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกร ทางสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จึงเร่งศึกษาในเบื้องต้น ที่พอจะสรุปไว้เป็นแนวทางในการป้องกันกำจัดไว้ดังนี้ คือ

1.เลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แข็งแรง ปราศจากโรค เพราะเชื้อโรคอาจติดมากับกิ่งพันธุ์ได้

2. เน้นการตัดแต่งกิ่งยอดอ่อนหรือลำต้นหรือส่วนที่เป็นโรค และ เก็บรวบรวมนำไปฝังหรือเผาทำลายเสีย เพื่อลดปริมาณของเชื้อโรคพืช

3. การตัดแต่งกิ่งต้องให้มีขนาดของบาดแผลน้อยที่สุด เช่น ตัดแต่งบริเวณรอยต่อของข้อระหว่างกิ่งจะทำให้เกิดบาดแผลน้อยที่สุด เพื่อป้องกันเชื้อราเข้าทำลายทางบาดแผล หรือ เชื้อแบคทีเรียอื่นหรือแมลง เช่น มดคันไฟ เข้าทำลายซ้ำเติมในภายหลัง

4. ถ้าพบการระบาดมาก หลังจากการตัดแต่งกิ่ง

5. ระมัดระวังอย่านำกรรำกรที่้ใช้ตัดแต่งต้นที่เป็นโรคไปใช้ตัดแต่งต้นปกติ เพระาเชื้อราอาจติดไปกับกรรไกรได้ ควรนำไปล้างทำความสะอาดก่อนนำไปใช้ใหม่ทุกครั้ง

6. ลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอย่าให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0) หรือ ใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือ ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว เพราะจะทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่าย เนื่องจากพืชจะอวบน้ำมากขึ้น เชื้อโรคและแมลงเข้าทำลายได้ง่ายขึ้น แต่ควรใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 กรือ 16-16-16 หรือ สูตรตัวท้ายสูงในช่วงกำลังให้ผลผลิต เช่น 13-13-21 ร่วมกับการฉีดพ่นด้วยธาตุอาหารแคลเซียม และ แมกนีเซียม

7. ถ้าดินเป็นกรดจัดมากอาจจำเป็นต้องปรับสภาพดินด้ววยปูนโดโลไมท์ ซึ่งจะได้รับธาตุแคลเซียมและแมกนีเซียมเสริมไปด้วย (โดยอัตราที่ใช้จำเป็นต้องนำตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์ดูเสียก่อน จึงจะทราบอัตราการใช้ที่แน่นอน)

8. งดการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เนื่องจากจะมีความชื้นสูง เมื่อรวมกับน้ำค้าง จะทำให้เกิดโรคระบาดง่าย โดยควรรดน้ำในช่วงตอนเช้าแทน

อ้างอิง rakbankerd.com /agriculture /page.php?id=4790&s=tblplant

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3095
3510 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 0 รายการ
|-Page 116 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด ฟื้นระบบราก ปลดปล่อยธาตุอาหารไห้กับพืช ปรับปรุงโครงสร้างดิน ช่วยไห้ดินร่วยซุย ระบายน้ำดี สร้างระบบรากฝอย สำหรับฉีดพ่น ต้นเงาะ
Update: 2567/02/13 09:47:16 - Views: 175
จีนตอบโต้มาตรการภาษีอเมริกา สะเทือนถึงเกษตรกรขาดรายได้
Update: 2562/09/02 09:40:53 - Views: 4560
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในแก้วมังกร ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/03 13:30:50 - Views: 3485
โรคข้าว: โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot Disease)
Update: 2564/01/28 10:57:12 - Views: 3277
โรคข้าว โรคเหลืองเตี้ย (Yellow Dwarf Disease)
Update: 2564/08/29 23:50:44 - Views: 3102
มะระใบไหม้ มะระใบเหลือง โรคราน้ำค้างในมะระ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/10/05 11:48:34 - Views: 3214
โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ใบที่ยอดกิ่งมีสีซีด ไม่มันเงา เพราะรากเน่า แก้ด้วยไอเอส
Update: 2562/09/11 14:11:13 - Views: 3469
กำจัดหนอนเจาะสมอฝ้าย ในต้นทุเรียน ระยะดอกมะเขือพวง ไอกี้-บีที ชีวินทรีย์กำจัดศัตรูพิช โดย FK ใช้ได้กับพืชทุกชนิด
Update: 2566/05/27 11:29:00 - Views: 6385
ยากำจัดเพลี้ยฟักข้าว เพลี้ยไฟฟักข้าว เพลี้ยอ่อนฟักข้าว เพลี้ย ฟักข้าว เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/08 10:49:23 - Views: 3042
ทับทิมกิ่งแห้ง เปราะ หักง่าย ป้องกัน กำจัด หนอนทับทิม ด้วย ไอกี้ บำรุง ด้วย FK-T
Update: 2565/07/23 08:22:00 - Views: 2966
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในมะเขือเทศ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/04 13:21:48 - Views: 3115
5 เคล็ดลับ เลือกข้าวหอมมะลิยังไงให้ได้ข้าวที่หุงแล้วหอม สวย ขึ้นหม้อ
Update: 2563/05/13 17:09:38 - Views: 5293
เตือน!! ระวังหนอนเจาะขั้วผล ทำลาย ต้นเงาะ ของคุณ ...สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
Update: 2566/11/02 11:14:55 - Views: 360
ท้าวเวสสุวรรณ สลักบนแผ่นเหล็กน้ำพี้ : พลังแห่งศรัทธา ปกป้องคุ้มครอง เสริมมงคล
Update: 2567/02/16 10:18:08 - Views: 124
เมทาแล็กซิล: สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่เป็นมีต่อต้นอ้อยจากเชื้อรา
Update: 2566/11/17 14:35:29 - Views: 246
แห่เก็บดักแด้ หนอนต้นขี้เหล็ก ชาวบ้านชี้หากินยาก รสชาติอร่อย ราคาดี
Update: 2564/08/14 22:10:13 - Views: 3164
ยากำจัดโรคราแป้ง ใน ดอกกุหลาบ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/02 14:38:00 - Views: 6917
โรคใบไหม้ในชมพู่ อาการชมพูใบไหม้ ผลไหม้ ราสนิม ใบจุด
Update: 2566/01/24 07:34:59 - Views: 3463
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในต้นกล้วย และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/30 09:46:32 - Views: 3061
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคแอนแทรคโนส ใน ถั่วเหลือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/16 14:29:22 - Views: 3070
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022