[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3516 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 6 รายการ

การป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ (rice thrips)
การป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ (rice thrips)
ลักษณะการทำลายและ การระบาดของเพลี้ยไฟ
เพลี้ยไฟปกติจะระบาดหนักในช่วงอากาศร้อนชื้นหรือช่วงปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน เป็นหลัก วงจรชีวิตตั้งแต่ไข่ถึงตัวเต็มวัยประมาณ 20-30 วัน ระยะไข่ถึงตัวอ่อนประมาณ 3-5 วัน ก็เป็นตัวอ่อน ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยสามารถดูดกินน้้าเลี้ยงจากส่วนอ่อนของพืชได้โดยวิธีเขี่ยและดูด (การเขี่ยท้าให้ผลเป็นแผล) ตัวเต็มวัยเพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้ 100-500 ฟอง ตัวเมียสามารถวางไข่ได้ทั้งได้รับการผสมพันธุ์จากตัวผู้ และสามารถวางไขได้

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3286
โรคใบไหม้ มันสำปะหลังใบไหม้
โรคใบไหม้ มันสำปะหลังใบไหม้
รคใบไหม้ ในมันสำปะหลัง
(Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชีย และลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้..

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3286
ส้ม ใบไหม้ รากเน่า โคนเน่า กำจัดโรคส้ม จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ส้ม ใบไหม้ รากเน่า โคนเน่า กำจัดโรคส้ม จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคเมลาโนส หรือโรคราน้ำหมาก
เกิดจากเชื้อรา พบอาการที่ใบของต้นส้ม จะมีจุดเล็กๆ สีน้ำตาล มีวงเหลืองล้อมรอบจุดนั้น เมื่อลองลูบเนื้อใบจะรู้สึกสากมือเหมือนลูบกระดาษทราย ทำให้ต้นส้มทรุดโทรมและมีผลผลิตน้อยลง ส่วนใหญ่พบในส้มต้นโตหรือมีอายุมากกว่าในส้มที่มีอายุน้อย

โรครากเน่าโคนเน่าในส้ม
เกิดจากเชื้อรา แสดงอาการใบเหลืองหรือเหลืองซีดโดยเฉพาะเส้นกลางใบของต้น ส่วนเปลือกปริแตกมีสีคล้ำฉ่ำน้ำและอาจมียางไหลจากรอยแผล เมื่อถากเปลือกตรงรอยแผลออกจะพบเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาลหรือน้ำตาลแดง มีอาการทรุดโทรม ไม่สมบูรณ์แข็งแรง แตกใบอ่อนน้อย หากรุนแรงจะมีอาการใบเหี่ยว ใบและผลร่วงและกิ่งแห้ง


ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย การควบคุมประจุไฟฟ้า สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้าhttp://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกระทู้ผัก ใน พริก และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกระทู้ผัก ใน พริก และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกระทู้ผัก ใน พริก และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
บาซิลิสก์ ตราบาซิเร็กซ์ เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดหนอนกระทู้ในพริก หนอนกระทู้ผักเป็นศัตรูพืชทั่วไปที่สามารถทำลายพืชผลได้หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ตรวจสอบ เวิร์มเหล่านี้เป็นที่รู้จักจากความสามารถในการโค่นต้นอ่อนที่โคนต้น ทำให้เกิดความเสียหายที่แก้ไขไม่ได้ แต่เมื่อใช้บาซิลิสก์ เกษตรกรและชาวสวนสามารถปกป้องต้นพริกของตนและรับประกันการเก็บเกี่ยวที่ดีต่อสุขภาพ

บาซิลิสก์เป็นยาฆ่าแมลงสูตรพิเศษที่ออกแบบมาเพื่อมุ่งเป้าไปที่หนอนกระทู้ผักโดยเฉพาะ ประกอบด้วยส่วนผสมจากธรรมชาติและสารสังเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพซึ่งทำงานร่วมกันเพื่อไล่และฆ่าสัตว์รบกวนเหล่านี้ ส่วนผสมที่ออกฤทธิ์ในบาซิลิสก์ได้รับการทดสอบอย่างเข้มงวดเพื่อความปลอดภัยและประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่ามีประสิทธิภาพและปลอดภัยต่อการใช้งาน

ข้อดีอย่างหนึ่งของบาซิลิสก์คือการใช้งานง่าย มาในขวดสเปรย์แสนสะดวกที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้กับต้นพริกได้อย่างง่ายดาย เพียงแค่ฉีดพ่นสารละลายลงบนใบและลำต้นของพืช ต้องแน่ใจว่าได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ที่มีโอกาสพบหนอนกระทู้ผัก บาซิลิสก์ทำงานได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นชาวไร่และชาวสวนจึงสามารถเห็นผลลัพธ์ได้ในเวลาเพียงไม่กี่วัน

ข้อดีอีกอย่างของบาซิลิสก์คือมีอายุยืนยาว เมื่อนำไปใช้แล้วจะสร้างเกราะป้องกันรอบ ๆ ต้นพืชที่ช่วยไล่หนอนผีเสื้อและป้องกันไม่ให้พวกมันกลับมาอีก ซึ่งหมายความว่าเกษตรกรและชาวสวนสามารถใช้บาซิลิสก์เพียงครั้งเดียวและเพลิดเพลินไปกับการป้องกันหนอนผีเสื้ออย่างต่อเนื่องตลอดฤดูปลูก

นอกจากประสิทธิภาพแล้ว Basilisk ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ได้รับการออกแบบให้ย่อยสลายได้ทางชีวภาพและปลอดภัยสำหรับใช้กับผู้คน สัตว์เลี้ยง และสัตว์ป่า ซึ่งหมายความว่าเกษตรกรและชาวสวนสามารถใช้ด้วยความมั่นใจ โดยรู้ว่าจะไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมหรือคนที่พวกเขารัก

สรุปได้ว่า บาซิลิสก์ ตราบาซิเร็กซ์เป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและกำจัดหนอนกระทู้ในพริก การผสมผสานที่ทรงพลังของส่วนผสมจากธรรมชาติและสังเคราะห์ การใช้งานง่าย ประสิทธิภาพที่ยาวนาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เป็นตัวเลือกอันดับต้น ๆ สำหรับชาวไร่และชาวสวน ด้วย Basilisk เกษตรกรและชาวสวนสามารถปกป้องพืชผลของพวกเขาและเพลิดเพลินกับการเก็บเกี่ยวพริกที่ดีต่อสุขภาพมากมาย

บาซีเร็กซ์ : เชื้อบาซิลลิซ

ช่วยป้องกันและกำจัดแมลงในระยะ หนอน ในสวนไร่และแปลงผัก เช่น

หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนร่าน หนอนแปะใบส้ม หนอนไหมป่า
หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนแก้วส้ม หนอนกินสนสามใบ
หนอนหัวดำมะพร้าว หนอนผีเสื้อ หนอนกินใบผัก หนอนบุ้ง หนอนคืบละหุ่ง

วิธีการใช้งาน

- ผสมน้ำ 75 กรัมหรือ 6 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร

- ฉีดพ่น ใบ กิ่ง ก้าน และ ลำต้น

- ฉีดพ่นเฉพาะในช่วงเย็นตอนที่มีแดดร่ม ลมสงบ

- ฉีดทุก 3-5 วัน

- สามารถใช้รวมกับเชื้อเมธาไรเซียม และ บิวเวอร์เรีย

- ไม่ควรใช้ร่วมกับยาเคมี

ปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค และผู้ใช้

ไม่มีพิษตกค้างเมื่อพ่น สามารถนำพืชมาบริโภคได้ทันที
มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ จึงสามารถใช้แทนสารเคมีกำจัดแมลง ศัตรูพืชได้

❌ไม่ควรผสมเชื้อ บี ที กับสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช โดยเฉพาะสารที่ออกฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เช่น สารปฏิชีวนะและสารประกอบทองแดง คอปเปอร์ คลอไรด์ เป็นต้น❌
ควรฉีดพ่นช่วงเช้าหรือเย็นที่มีแสงแดดอ่อน 06.00-09.00 น. หรือ 16.00-18.00 น.

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ส้มตำ อาหารไทยในซุปเปอร์มาเก็ต ประเทศพม่า

เป็นเรื่องที่ผมเพิ่งจะรู้เมื่อตอนโตมาเป็นผู้ใหญ่ครับ ว่าอาหารไทยแบบ ส้มตำ เป็นอาหารที่คุณผู้หญิงจำนวนหนึงของประเทศไทย (จำนวนหนึ่งนี่มากทีเดียวเลย) ไม่สามารถจะหยุดกินได้เป็นเวลานานๆ หรือไม่สามารถเว้นระยะห่างการเติมส้มตำเข้าไปในร่างกายได้เกิน 1 สัปดาห์โดยเฉลี่ย

 

ถ้าเราลองสังเกตุดูรอบๆตัว เราจะพบร้านส้มตำ หรือร้านส้มตำรถเข็น หรือไก่ย่างส้มตำได้รอบตัว ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นตามศูนย์อาหารต่างๆภายในห้างสรรพสินค้า ตามริมถนน แถวรั้วโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย ร้านตามย่านท่องเที่ยว แหล่งอาหารใกล้ออฟฟิศที่ทำงาน ผมคิดว่าน่าจะหาทานได้ง่ายกว่าข้าวราดแกงเสียอีก แม้แต่ต้มยำกุ้งที่ว่าดังที่สุดจากประเทศไทย ออกไปสู่นานาชาติ ก็ยังหาทานยากกว่าส้มตำไก่ย่างเสียอีก

 

ตามรูปด้านล่างนี้ เป็นแพ็คเกจส้มตำกึ่งสำเร็จรูป ที่ขายอยู่ในซุปเปอร์มาเก็ตขนาดใหญ่ ของประเทศพม่าครับ พอดีคุณปริมต้องเข้าไปในไร่ ที่อยู่ในพื้นที่ห่างจากกรุงย่างกุ้งราวๆ 100 กิโลเมตร เลยแวะซื้อของที่ซุปเปอร์มาเก็ตก่อนเดินทางไปที่ไร่ เราพบอาหารไทยจำนวนมากเลย ที่ขายอยู่ที่นี่ คาดว่า 30% เลยที่เดียว ที่เป็นสินค้าไทย ไม่ว่าจะเป็น มาม่า ปลากระป๋อง ชา กาแฟ ถ้าเป็นสินค้าที่นำเข้าจากประเทศไทย จะอยู่ในระดับพรีเมี่ยมกว่าสินค้าที่นำเข้าจากประเทศอื่นๆเลยครับ ในสายตาของชาวพม่า แต่สินค้าไทยเราดีจริงๆครับ เมื่อเทียบกันสินค้าของชาติอื่นๆ ที่นำมาขายในศูนย์การค้าที่ผมเห็น ณ ที่นี้

 

ลองสังเกตุดูครับ ที่ฉลากเขียนไว้ว่า Thai Taste Papaya Salad ซึ่งแปลว่า ส้มตำในรสชาติแบบไทยๆนั้นเอง

 

ส้มตำไทย ในประเทศพม่า

อ่าน:3286
นกหัวขวาน ที่สวน FK Park
นกหัวขวาน ที่สวน FK Park
นกหัวขวาน ที่สวน FK Park
วันนี้สวน FK มีนกหัวขวานแวะเวียนมา จับภาพได้พอดีเลย..
อ่าน:3286
อาหาร ขนมใส่กัญชา กินอย่างไรจึงปลอดภัย
อาหาร ขนมใส่กัญชา กินอย่างไรจึงปลอดภัย
ไม่ถึง 1 สัปดาห์ หลังจากการ ปลดล็อก กัญชาออกจากยาเสพติด ข่าวสารเกี่ยวกับผู้ที่เสพและผู้รับประทานเมนูอาหารที่ปรุงโดยมีกัญชาเป็นส่วนประกอบแล้วเกิดผลกระทบกับสุขภาพเริ่มปรากฏให้เห็น

กินก๊วยจั๊บใส่กัญชาแล้วเกิดอาการแพ้อย่างรุนแรง มึนงงและอาเจียน คุกกี้หรือบราวนี่ใส่กัญชา ที่ทำให้เกิดอาการมึนงง คือ ส่วนหนึ่งของอาการแพ้และผลกระทบสุขภาพที่เริ่มมีข่าวให้เห็นแล้ว

สำหรับการเสพกัญชา การปลดล็อกล่าสุดไม่มีกฎหมายที่ควบคุมปริมาณการเสพเอาไว้ ล่าสุด ในรายงานของผู้ป่วยที่รับกัญชาเข้าไปเกินขนาดของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร พบมีผู้ป่วย 4 ราย เป็นชายอายุน้อยสุด 16 ปี อายุมากสุด 51 ปี ชายวัย 51 ผู้นี้ เสียชีวิตหลังจากมีอาการแน่นหน้าอกหลังจากเสพกัญชา และมีอาการหัวใจล้มเหลว ส่วนเยาวชนชายอายุ 16 ปี เสพกัญชามากเกินขนาด ขณะนี้ยังรักษาอยู่ห้องไอซียูที่โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์

อาหาร เครื่องดื่มแต่ละประเภทควรใส่กัญชาปริมาณแค่ไหน ประกาศกรมอนามัย เรื่อง การนำใบกัญชามาใช้ในการทำ ประกอบ หรือปรุงอาหาร ในสถานประกอบกิจการอาหาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ได้ระบุคำแนะนำเอาไว้

ประกาศนี้ครอบคลุมถึง ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร และการจำหน่ายในที่หรือทางสาธารณะ ตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข 2535

นพ. สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า ประกาศดังกล่าวมีการแก้ไขเพิ่มเติม โดยกำหนดให้สถานประกอบกิจการอาหาร มีการจัดเก็บใบกัญชาที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ จัดเก็บเป็นสัดส่วน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดเชื้อรา หรือเน่าเสียแทน สำหรับข้อกำหนดอื่น ๆ ในประกาศยังคงเหมือนเดิม คือ สถานประกอบการกิจการอาหาร ต้องควบคุม กำกับ และต้องจัดให้มีการสื่อสารข้อมูลด้านสุขภาพและต้องตระหนักด้านความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค เกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารที่มีการใช้ใบกัญชาเป็นส่วนประกอบของอาหาร

เงื่อนไขที่ร้านอาหาร หรือผู้ขายอาหารต้องทำเมื่อขายอาหารที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ
จัดทำข้อความที่แสดงข้อมูลเป็นสถานประกอบกิจการอาหารที่มีการใช้กัญชา
แสดงรายการอาหารที่มีการใช้ใบกัญชาทั้งหมด
แสดงข้อมูลปริมาณการใช้ใบกัญชาเป็นส่วนประกอบต่อรายการอาหาร ตามประเภทการทำประกอบหรือปรุงอาหาร เช่น อาหารทอด แนะนำการใช้ใบกัญชาสด 1-2 ใบสดต่อเมนู อาหารประเภทผัด แกง ต้ม ผสมในเครื่องดื่ม แนะนำการใช้ใบกัญชาสด 1 ใบสดต่อเมนู
แสดงข้อแนะนำเพื่อความปลอดภัย ในการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีใบกัญชาเป็นส่วนประกอบ
แสดงคำเตือนรายการอาหารที่มีการใช้ใบกัญชาให้แก่ผู้บริโภคที่มีความเสี่ยง หากรับประทานอาหารที่ใช้ใบกัญชาทราบ ด้วยการระบุข้อความ

- เด็กและวัยรุ่นช่วงอายุน้อยกว่า 18 ปี ควรหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารที่มีส่วนผสมของกัญชา เช่น ขนม อาหารและเครื่องดื่ม

- สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตรไม่ควรรับประทาน

- หากมีอาการผิดปกติ ควรหยุดรับประทานทันที

- ผู้ที่แพ้หรือไวต่อสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (THC) หรือสารแคนนาบิไดออล (CBD) ควรระวังในการรับประทาน

- อาจทำให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล

6. ห้ามแสดงข้อความหรือโฆษณาสรรพคุณในการป้องกันหรือรักษาโรค

อาหารใส่กัญชา กินอย่างไรให้ปลอดภัย
ผศ.นพ.สหภูมิ ศรีสุมะ หัวหน้าสาขาวิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ข้อมูลในรายการมหิดล แชนแนล เมื่อเดือน ธ.ค. 2564 ว่า การใช้กัญชาในการปรุงอาหารของคนไทย ที่พบเห็นได้ทั่วไป หลัก ๆ คือ ประเภทน้ำซุป ในก๋วยเตี๋ยว ซึ่ง คำแนะนำข้อแรก คือ อย่าใช้ช่อดอก เนื่องจากมีปริมาณของสาร THC สูง

เราเจอพะแนงไก่ใส่ช่อดอกแล้วน็อคมา บางคนบอกกินแกงไม่เป็นไร แต่คนสมัยก่อนเขาใส่ใบ

สำหรับการทำอาหารประเภทน้ำซุป ตัวสารออกฤทธิ์ที่ใช้เป็นยาหรือว่าเป็นตัวสารเสพติด ละลายน้ำไม่ค่อยเก่ง มักจะใช้ใบสดไปต้มกับน้ำ แต่สามารถสร้างกลิ่นได้ดี โดยสูตรดั้งเดิมของคนไทยใช้ใบเป็นหลัก เช่น แกง พะโล้ ไข่เจียว บางร้านอาหารนำไปทอดกรอบ ซึ่งอาหารกลุ่มทอด ปริมาณสารจะออกมามากกว่าเมนูอื่น

โดยทั่วไป ในอาหารมีคำแนะนำในเบื้องต้นอย่าให้ถึง 5 ใบต่อวัน สำหรับผู้ไม่มีโรคประจำตัว และแต่ละคนจะทนต่อสารไม่เท่ากัน ให้ลองให้ปริมาณที่น้อยที่สุดก่อน

สำหรับคุกกี้กัญชา จะมีสารของกัญชาเยอะหรือไม่ ผศ.นพ.สหภูมิ บอกว่าในกลุ่มขนมแปรรูป ในต่างประเทศรัฐที่เปิดเสรีเพื่อสันทนาการ เน้นการใส่สาร THC ค่อนข้างเยอะ ซึ่งใช้ช่อดอกมาสกัดสารด้วยน้ำมันเพื่อให้ระเหิดตัว ทำให้ปริมาณของสารเข้มข้นมากและเป็นลักษณะคล้ายเนยหรือขี้ผึ้ง ซึ่งนำมาแปรรูปเป็นเบเกอรี่ คุกกี้ บราวนี่ เป็นต้น

ผศ.นพ.สหภูมิ ให้ข้อมูลว่า โดยทั่วไปแล้วในรัฐที่ใช้กัญชาเพื่อสันทนาการ กำหนดปริมาณไว้ที่ ต่อหนึ่งหน่วยบริโภคสาร THC อย่าให้เกิน 5 มิลลิกรัม การกินหนึ่งครั้ง แนะนำกินปริมาณเท่านี้ แต่ในรัฐที่เปิดเสรีมากก็พบคุกกี้ที่มีปริมาณสาร THC เข้มข้น คือ 20 มิลลิกรัมต่อ 1 ชิ้น หากกินให้ได้หนึ่งหน่วยบริโภค ต้องตัดคุกกี้ออกเป็น 4 ชิ้น

หลักการบริโภคเพื่อการสันทนาการ จะมีระยะเวลาการออกฤทธิ์ กินแล้วต้องรอการดูดซึมในเวลาประมาณครึ่งชั่วโมง จึงจะรับประทานชิ้นต่อไปได้

ส่วนบราวนี่กัญชา ในประเทศเปิดเสรีกัญชา ถือเป็นของ "ฮาร์ดคอร์" ต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ต้องแบ่งรับประทาน 16 ชิ้น เว้นแต่ละชิ้น 30 นาที เช่นกัน

คำแนะนำก่อนบริโภค
ปัญหาการรับสาร THC เกินขนาด มีพบในต่างประเทศเช่นกัน การใช้โดยทั่วไปฤทธิ์ของผู้บริโภค คือ ต้องการรู้สึกถึง อาการเคลิ้ม ๆ เมา ๆ แต่ถ้ามากเกินไป จะมีอาการเห็นภาพหลอน รู้สึกกระวนกระวาย หงุดหงิด ซึ่งจะเป็นอาการที่ไม่รู้ตัว หรืออาการใจสั่น มึนศีรษะ คลื่นไส้

ฤทธิ์ที่เราเจอบ่อย ๆ เมื่อมาถึงโรงพยาบาลแล้ว คือ ชีพจรเร็ว ปกติคนเราชีพจร 60-100 แต่ แต่ที่เจอเร็วได้ถึงเกือบสองเท่าของพื้นฐานปกติ คือ 150-180 ครั้งต่อนาที กลุ่มที่มีโรคหัวใจเดิมจะทนกับอัตราขนาดนี้ไม่ได้ นายแพทย์จากมหิดล กล่าวถึงผลกระทบทางสุขภาพหากมีการบริโภคในปริมาณที่ไม่เหมาะสม

อีกกลุ่มอาการที่พบ คือ ความดันแกว่ง การไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อตัวเองได้ ทำให้ไม่สามารถทรงตัวได้ และอาการล้มหมดสติ

ผศ.นพ.สหภูมิ กล่าวว่า หากเริ่มมีอาการผิดปกติ ไม่แนะนำให้รอ ให้ไปโรงพยาบาลทันที เพราะฤทธิ์กัญชาจากการบริโภคมีฤทธิ์นาน ต่างจากการสูบที่เพียง 1-2 ชม. ฤทธิ์จะหมดแล้ว

สำหรับคำแนะนำก่อนบริโภคสำหรับผู้ลองใช้ ผศ.นพ.สหภูมิ แนะนำ ต้องตรวจสอบร้านที่ได้มาตรฐาน น่าเชื่อถือ สั่งเมนูมาตรฐานเพราะได้รับอนุญาตมาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ไม่ใช้ช่อดอก ส่วนการบริโภคขนม ต้องทราบที่มา ปริมาณของกัญชาที่ใส่


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
อันตราย!! สารฟอร์มาลิน ในอาหารทะเล
อันตราย!! สารฟอร์มาลิน ในอาหารทะเล
ในปัจจุบันมีการตรวจพบ ฟอร์มาลีน ในอาหารทะเลมากมาย และที่น่ากลัวคือในปัจจุบันก็ยังสุ่มตรวจเจออยู่เรื่อย ๆ ผู้ประกอบการมักใช้สารนี้เพื่อรักษาความสดของอาหารเอาไว้ให้ได้นานยิ่งขึ้น เราในฐานะผู้บริโภคก็ควรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้เอาไว้บ้างนะคะ เพื่อลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการบริโภคอาหารทะเลที่มีส่วนผสมของสารฟอร์มาลีนทั้งกับตัวเอง ครอบครัว และคนที่คุณรัก

ฟอร์มาลีน คืออะไร?
ฟอร์มาลีนเป็นสารมีพิษใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์ พลาสติก สิ่งทอ และใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรคและเชื้อรา ในปัจจุบันมีการนำมาใช้ในทางที่ผิดเพื่อให้อาหารสดคงความสดอยู่ได้นานไม่เน่าเสียง่าย ส่วนใหญ่จะรู้จักฟอร์มาลินในเชิงการแพทย์ที่เราทราบกันดีว่าเอาไว้ใช้ในการดองศพไม่ให้เน่าเปื่อย ใช้เป็นยาดับกลิ่นฆ่าเชื้อโรคเพราะทำให้โปรตีนแข็งตัว ทางด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอจะใช้เป็นน้ำยาอาบผ้าไม่ให้ย่น นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติฆ่าเชื้อโรคและเชื้อราในการเก็บรักษาธัญพืชหลังการเก็บเกี่ยว และใช้เพื่อป้องกันแมลง แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร

ส่วนประกอบหลักคือ ฟอร์มาลดีไฮด์ 37% ลักษณะเป็นน้ำใส ไม่มีสี กลิ่นฉุน และมีฤทธิ์ระคายเคือง โดยทั่วไปมีไว้เพื่อการฆ่าเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ทำให้สิ่งของบางอย่างขึ้นรูปและคงรูปอยู่ ใช้ในอุตสาหกรรม ใช้ในการเกษตร ใช้ในทางการแพทย์ ใช้ในเครื่องสำอาง ซึ่งปัจจุบันมีการนำมาใช้ผิดประเภท คือ ใส่ในอาหารโดยเฉพาะพวกอาหารทะเลที่เน่าเสียไว ซึ่งฟอร์มาลีนก่อให้เกิดอันตรายมากมาย

ฟอร์มาลีนเจือปนในอาหารได้อย่างไร
มีรายงานจากประเทศต่างๆ เช่น อังกฤษ อเมริกา ญี่ปุ่น และอิตาลี ว่าในผักผลไม้ บางชนิดและเนื้อสัตว์บางประเภทโดยเฉพาะสัตว์ทะเลและเห็ดหอมมีปริมาณของฟอร์มาลดีไฮด์ในธรรมชาติสูง แต่อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค อย่างไรก็ดี ฟอร์มาลีนที่มีในธรรมชาติหรือที่มาจากปุ๋ยและสารฆ่าแมลงส่วนใหญ่จะมีปริมาณน้อยมาก คือ ไม่เกิน 1 พีพีเอ็ม (ส่วนในล้านส่วน) ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ในขณะที่ฟอร์มาลีนที่จงใจฉีดหรือแช่ในผักหรือเนื้อสัตว์นั้น หากใช้ปริมาณมากเกินไปและมีตกค้างย่อมเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคแน่นอน

ปัจจุบัน ประเทศไทย ตรวจพบบ่อยครั้งว่า มีการใช้ฟอร์มาลีนแช่ผักปลา และเนื้อสัตว์บางอย่างก่อนนำมาขายเพื่อให้มีความสดและไม่เน่าเสียเร็ว เพราะด้วยความไม่รู้ถึงอันตรายของสารชนิดนี้นอกจากนี้ยังนำฟอร์มาลีนมาใช้กับผักหลายชนิด แทนการใช้สารฆ่าแมลง โดยเฉพาะผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว แตงกวา หน่อไม้ ยอดมะพร้าว และอื่นๆ โดยอ้างว่าใช้ฆ่าแมลงบนผักได้ดีและยังทำให้ผักสดอยู่ได้นานอีกทั้งราคายังถูกกว่าสารฆ่าแมลงชนิดอื่นด้วย นอกจากการปนเปื้อนฟอร์มาลีนจะมาจากการฉีดพ่นผักเพื่อฆ่าแมลงแล้ว บางครั้งฟอร์มาลีนอาจมาจากปุ๋ยก็ได้

ฟอร์มาลีนในอาหารส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย
เมื่อเราทานอาหารที่มีส่วนผสมของฟอร์มาลีนเข้าไป จะส่งผลเสียต่อร่างกายมากน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณ ซึ่งจริงๆ แค่เราได้กลิ่นก็จะมีอาการฉุน แสบคอ เกิดอาการผิดปกติต่อระบบทางเดินหายใจได้แล้ว บางคนทานเข้าไปจนเกิดอาเจียน เสียเลือดมากจนถึงขั้นเสียชีวิตก็มี เพราะทางเดินอาหารเกิดการไหม้จากสารฟอร์มาลีนที่มีความเป็นกรด หรือเมื่อได้รับในปริมาณที่เข้มข้นก็จะทำให้เลือดเป็นกรด เกิดภาวะช็อก ความดันตก และตามมาด้วยการเสียชีวิต แต่โดยส่วนใหญ่แล้วหากจะเกิดอาการรุนแรงอย่างที่ว่านี้ได้ มักจะมาจากเหตุจงใจหรือการทำร้ายตัวเองมากกว่า

วิธีสังเกตในการเลือกซื้ออาหารสด หรือตรวจสอบว่ามีสารฟอร์มาลีนหรือไม่
อ.นพ.สหภูมิ ศรีสุมะ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้พูดถึงเรื่องนี้ว่า ให้เราดูว่าร้านอาหารนั้นๆ มีกลิ่นฉุนของสารเคมีแปลกๆ หรือเปล่า ตัวอย่างเช่น หากเนื้อกุ้งมีทั้งส่วนที่แข็งสด และมีส่วนที่เปื่อยยุ่ยในตัวเดียวกัน แสดงว่าต้องมีการแช่ฟอร์มาลีนมาอย่างแน่นอนให้หลีกเลี่ยงในการซื้อมาบริโภค เพราะหากเป็นอาหารสดต้องสดเสมอกัน ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งเปื่อยหรือส่วนใดส่วนหนึ่งแข็งสด

ส่วนใหญ่ ฟอร์มาลีน จะนิยมใส่ในอาหารทะเลสดทั่วไป โดยเฉพาะปลาหมึก และแมงกะพรุน รวมถึงอาหารทะเลประเภทอื่น ๆ เช่น ปลาหมึกกรอบ สไบนาง และเล็บมือนาง เป็นต้น เพราะอาหารเหล่านี้มีการเน่าเสียง่าย ผักก็มีอยู่บ้างแต่นานๆ เราจะเจอสักทีหนึ่ง และอีกวิธีคือใช้ชุดตรวจสารฟอร์มาลีนในอาหาร เมื่อทำครบตามขั้นตอนผลที่ได้ คือ น้ำจะมีสีชมพูแดง แสดงว่าอาหารนั้นมีสารฟอร์มาลีน ก็จะช่วยให้เราหลีกเลี่ยงอาหารสดที่มีสารอันตรายเหล่านีได้อีกทางหนึ่ง เพราะฉะนั้น SGE ขอแนะนำให้ทุกคนตรวจดูก่อนซื้ออาหารทะเลทุกครั้งนะคะ

ฟอร์มาลีน มีประโยชน์อะไรบ้าง
จากการศึกษาข้อมูลเพจมหาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์ได้ให้ข้อมูลว่า สาร ฟอร์มาลีน จะมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและทางการแพทย์เท่านั้น ห้ามนำมาใส่อาหารเพื่อรักษาสภาพอาหาร ฟอร์มาลีนในทางการแพทย์นั้นใช้ในการดองศพไม่ให้เน่าเปื่อย ใช้เป็นยาดับกลิ่นฆ่าเชื้อโรคเพราะทำให้โปรตีนแข็งตัว ทางด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอจะใช้เป็นน้ำยาอาบผ้าไม่ให้ย่น นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติฆ่าเชื้อโรคและเชื้อราในการเก็บรักษาธัญพืชหลังการ เก็บเกี่ยว และใช้เพื่อป้องกันแมลง แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร ฟอร์มาลดีไฮด์เป็นสารในกลุ่มอัลดีไฮด์โดยปกติอยู่ในรูปก๊าซเนื่องจากเป็นสารรีดิวซ์ที่รุนแรงจึงเตรียมให้อยู่ในรูป ของสารละลายฟอร์มาลีน ปัจจุบันมีการนำสารนี้ไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางทั้งด้านการแพทย์ ด้านอุตสาหกรรม ด้าน ความงาม ด้านการเกษตร และด้านอื่น ๆ ทำให้มีการเจือปนอยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา

บทลงโทษสำหรับผู้ประกอบการที่ใช้สารฟอร์มาลีนในอาหาร
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุขขอแจ้งว่า ฟอร์มาลีนสามารถเกิดในสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติอยู่แล้วในปริมาณหนึ่ง ซึ่งเทคนิคการตรวจวิเคราะห์ในปัจจุบันยังไม่สามารถระบุความแตกต่างระหว่างฟอร์มาลินที่เกิดตามธรรมชาติ และที่ตั้งใจเติมลงไปในอาหารเพื่อหวังผลในด้านการเก็บรักษาได้ ดังนั้นตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 151 (พ.ศ.2536) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 กำหนดให้สารละลายฟอร์มัลดีไฮด์หรือฟอร์มาลิน เป็นวัตถุห้ามใช้ในอาหาร ผู้ใช้สารนี้กับอาหาร หรือทำให้อาหารนั้นเกิดพิษภัยต่อผู้บริโภค จัดเป็นการผลิต จำหน่ายอาหารไม่บริสุทธิ์ และถ้าตรวจพบการกระทำดังกล่าว จะต้องถูกดำเนินการตามกฎหมาย มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20_000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการใช้สารละลายฟอร์มัลดีไฮด์หรือฟอร์มาลินในอาหารไม่เพียงแต่จะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ยังมีโทษตามกฎหมายด้วย

เป็นอย่างไรบ้างคะ ถึงแม้ว่าในปัจจุบันการคุ้มครองผู้บริโภคของรัฐฯ อาจจะยังครอบคลุมได้ไม่ทั่วถึง ดังนั้นโอกาสที่เราจะได้รับสารพิษในอาหารทะเลก็คงยังดำเนินต่อไป เพราะฉะนั้นการรู้จักระมัดระวังเลือกบริโภค เลือกซื้อเพื่อสุขภาพของตนเองในระยะยาวกันนะคะ


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ปุ๋ยสำหรับข้าว FK-1 และ FK-3R ส่งเสริมผลผลิตสูง มีกลไกการทำงานเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวได้อย่างไร?
ปุ๋ยสำหรับข้าว FK-1 และ FK-3R ส่งเสริมผลผลิตสูง มีกลไกการทำงานเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวได้อย่างไร?
ปุ๋ยสำหรับข้าว FK-1 และ FK-3R ส่งเสริมผลผลิตสูง มีกลไกการทำงานเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวได้อย่างไร?
ต้นข้าวต้องการสารอาหารที่จำเป็นหลายชนิดเพื่อให้เจริญเติบโตและให้ผลผลิตที่ดี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมเป็นสารอาหารหลัก 3 ชนิดที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวในนาข้าว

ไนโตรเจนเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด และมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการเจริญเติบโตของต้นข้าว ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีน ซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาเนื้อเยื่อใหม่ในพืช นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการผลิตคลอโรฟิลล์ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง หากไม่มีธาตุไนโตรเจนเพียงพอ ต้นข้าวจะไม่สามารถเติบโตและพัฒนาได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้ผลผลิตตกต่ำและคุณภาพผลผลิตลดลง

ฟอสฟอรัส เป็นธาตุอาหารที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งสำหรับต้นข้าวในนา เช่นเดียวกับไนโตรเจน ฟอสฟอรัสเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีนและโมเลกุลอื่นๆ ที่มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนพลังงานภายในเซลล์พืช เช่นเดียวกับในการผลิต DNA และ RNA หากไม่มีฟอสฟอรัสเพียงพอ ต้นข้าวอาจชะงักการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ทำให้ผลผลิตลดลงและคุณภาพของพืชลดลง

โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารที่จำเป็นอันดับสามสำหรับต้นข้าวในนาข้าว โพแทสเซียมมีบทบาทสำคัญหลายประการในพืช รวมถึงการควบคุมการดูดซึมน้ำและการรักษาระดับ pH ที่เหมาะสมภายในเซลล์พืช นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมในการผลิตแป้งและน้ำตาลซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของพืช หากไม่มีโพแทสเซียมที่เพียงพอ ต้นข้าวอาจทนต่อความเครียดและโรคได้น้อยลง ส่งผลให้ผลผลิตลดลงและคุณภาพของพืชลดลง

โดยรวมแล้ว ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวในนาข้าว การให้สารอาหารเหล่านี้แก่ต้นข้าว เกษตรกรสามารถช่วยให้แน่ใจว่าพืชของพวกเขาแข็งแรงและให้ผลผลิต ซึ่งจะนำไปสู่ผลผลิตที่สูงขึ้นและคุณภาพของพืชที่ดีขึ้น นอกจากนี้ การใช้สารอาหารเหล่านี้สามารถช่วยปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์และผลผลิตโดยรวมของนาข้าว ทำให้มีความยั่งยืนและให้ผลผลิตมากขึ้นในระยะยาว

แมกนีเซียมและสังกะสีเป็นธาตุอาหารรองที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เมื่อนำไปใช้กับนาข้าว แร่ธาตุเหล่านี้สามารถเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของพืชได้

แมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบสำคัญของคลอโรฟิลล์ ซึ่งเป็นสารสีที่ช่วยให้พืชสังเคราะห์แสงและเปลี่ยนแสงแดดเป็นพลังงาน หากไม่มีแมกนีเซียมเพียงพอ พืชจะไม่สามารถผลิตพลังงานที่จำเป็นต่อการเติบโตและพัฒนาได้ ในนาข้าว การขาดแมกนีเซียมอาจทำให้พืชเจริญเติบโตช้าและให้ผลผลิตลดลง

สังกะสีมีบทบาทสำคัญหลายประการในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช ช่วยให้พืชผลิตฮอร์โมนที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอนไซม์และโปรตีนอื่นๆ ซึ่งจำเป็นสำหรับกระบวนการเมแทบอลิซึมที่หลากหลาย ในนาข้าว การขาดธาตุสังกะสีอาจทำให้ผลผลิตพืชลดลงและคุณภาพของเมล็ดข้าวไม่ดี

การใช้แมกนีเซียมและสังกะสีในนาข้าวสามารถช่วยแก้ไขข้อบกพร่องเหล่านี้และปรับปรุงความสมบูรณ์ของพืชผล แร่ธาตุเหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้หลายวิธี รวมถึงการใช้ปุ๋ยและสารปรับปรุงดิน

นอกจากการปรับปรุงผลผลิตและคุณภาพของพืชแล้ว แมกนีเซียมและสังกะสียังช่วยปรับปรุงสุขภาพโดยรวมของนาข้าวอีกด้วย แร่ธาตุเหล่านี้สามารถช่วยรักษาโครงสร้างและความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งจำเป็นต่อการเพิ่มผลผลิตของพืชในระยะยาว นอกจากนี้ยังสามารถช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน ซึ่งสามารถปรับปรุงสุขภาพโดยรวมของระบบนิเวศ

สรุปได้ว่าประโยชน์ของแมกนีเซียมและสังกะสีต่อนาข้าวมีมากมาย ธาตุอาหารรองที่จำเป็นเหล่านี้สามารถปรับปรุงผลผลิตและคุณภาพของพืช รักษาสุขภาพของดิน และส่งเสริมการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ การนำแร่ธาตุเหล่านี้ไปใช้ในนาข้าว เกษตรกรสามารถช่วยรับประกันผลผลิตในระยะยาวและความยั่งยืนของพืชผล
อ่าน:3286
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในผักบุ้ง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในผักบุ้ง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในผักบุ้ง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราชนิดหนึ่งที่ได้รับการยอมรับว่ามีศักยภาพในการควบคุมโรคพืชมาช้านาน Trichoderma harzianum สายพันธุ์หนึ่งในสกุลนี้ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางถึงความสามารถในการควบคุมเชื้อโรคพืชหลายชนิด รวมถึงราสนิมที่มักเกิดกับผักบุ้ง

Trichorex ยี่ห้อ Trichorex ผลิตโดยบริษัท Bioworks เป็นสูตรของ Trichoderma harzianum ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับการป้องกันและกำจัดสนิมในผักบุ้ง Trichorex ถูกนำไปใช้กับดินรอบ ๆ ต้นพืชและถูกยึดครองโดยราก ซึ่งมันตั้งรกรากและเริ่มผลิตสารประกอบที่มีประโยชน์ซึ่งยับยั้งการเจริญเติบโตของราสนิม

นอกจากประสิทธิภาพในการป้องกันสนิมแล้ว Trichorex ยังช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตของพืชและปรับปรุงสุขภาพของดินอีกด้วย สามารถใช้เป็นมาตรการป้องกันพืชจากโรคราสนิมหรือเป็นการรักษาพืชที่ติดเชื้อแล้ว

Trichorex เป็นตัวเลือกที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการควบคุมสนิมในผักบุ้ง ใช้งานง่ายและสามารถใช้ได้ทั้งในเชิงพาณิชย์และที่บ้าน หากคุณกำลังมองหาวิธีที่จะปกป้องผักบุ้งของคุณจากสนิม ลองลองใช้ Trichorex ดูสิ

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่าไตรโคเร็กซ์

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน *

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย 
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง


สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
3516 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 6 รายการ
|-Page 320 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
แช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูกด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์
Update: 2564/08/27 23:48:10 - Views: 3335
โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ในต้นดอกลีลาวดี ต้องระวัง!! ระบาดในหน้าฝน สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร
Update: 2566/11/07 10:21:36 - Views: 3295
ชาเขียว ใบไหม้ ใบร่วง กำจัดโรคชาเขียว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/12 11:00:29 - Views: 3294
เพิ่มผลผลิตทุเรียนด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์สูตร 15-5-30+3 MgO: เคล็ดลับสู่การเจริญเติบโตและคุณภาพผลผลิตที่ดี
Update: 2567/02/13 13:40:35 - Views: 3303
โรคราชนิดต่างๆในลำไย ราแป้ง ราดำ ราน้ำค้าง ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/15 12:26:58 - Views: 3297
แก้วมังกร ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/18 16:00:45 - Views: 3288
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ทางเลือกใหม่สำหรับการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของส้ม
Update: 2567/03/05 10:19:29 - Views: 3287
🎗โรคไวรัส ในพืชต่างๆ ไม่มีสารป้องกันกำจัดโดยตรง ให้ป้องกันกำจัดแมลงพาหะ และบำรุงพืชให้แข็งแรง
Update: 2564/06/20 12:20:10 - Views: 3294
โรคอ้อยใบไหม้ โรคใบจุดอ้อย ใบขีดสีน้ำตาล โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/28 04:17:47 - Views: 3297
โรคมะพร้าวใบจุด โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคมะพร้าวผลร่วง เป็นโรคมะพร้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
Update: 2564/08/19 05:40:02 - Views: 3296
ยากำจัดโรครากเน่า โคนเน่า ใน มะเขือเปราะ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/12 13:51:43 - Views: 3297
ฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด ฟื้นระบบราก ปลดปล่อยธาตุอาหารไห้กับพืช ปรับปรุงโครงสร้างดิน ช่วยไห้ดินร่วยซุย ระบายน้ำดี สร้างระบบรากฝอย สำหรับฉีดพ่น ต้นเงาะ
Update: 2567/02/13 09:47:16 - Views: 3290
โรคราสนิมหอม ราสนิมกระเทียม ราสนิมกุ่ยช่าย : RUST DISEASE [ ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 04:37:53 - Views: 3293
6 สมุนไพรไทย สมุนไพรพื้นที่บ้านช่วยต้านโควิด 19
Update: 2564/08/21 11:41:51 - Views: 3294
กำจัดเพลี้ย ใน ดอกทานตะวัน เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/12 14:30:10 - Views: 3288
แก้ทุเรียนเล็กใบไหม้ ใบแห้ง ยอดไหม้ ใบเหลือง เพราะโรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/05/07 12:21:17 - Views: 3332
โรคแอนแทรคโนสมะม่วง ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:28:50 - Views: 3292
การปลูกเสาวรส
Update: 2564/06/27 08:30:25 - Views: 3302
ไฟทอฟธอรา อินเฟสทันส เชื้อรา สาเหตุโรค potato blight ในมันฝรั่ง
Update: 2564/08/23 04:53:53 - Views: 3295
โรคข้าว: โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot Disease)
Update: 2564/01/28 10:57:12 - Views: 3296
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022